SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
ใบความรู้ วิชาภาษาไทย ท 33101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง ธรรมชาติของภาษา หน้า
1
ธรรมชาติของภาษา
มนุษย์ใช้ภาษาในการติดต่อสื่อสารเพื่อให้เกิดความเข้าใจ
ซึ่งกันและกัน แต่ละภาษานั้นมีลักษณะร่วมกันที่สำาคัญ 4
ประการ คือ
1. ภาษาใช้เสียงสื่อความหมาย
2. ภาษาประกอบด้วยหน่วยเล็กซึ่งประกอบกันเป็นหน่วยที่
ใหญ่ขึ้น
3. ภาษามีการเปลี่ยนแปลง
4. ภาษามีลักษณะที่เหมือนกันและต่างกัน
ภาษาใช้เสียงสื่อความหมาย
ความหมายของภาษาพิจารณาได้ 2 ลักษณะ คือ
1. ความหมายของภาษาอย่างกว้าง
ภาษา หมายถึง การแสดงออกเมื่อสื่อความหมายอย่างมี
ระบบกฎเกณฑ์ที่เข้าใจกัน ด้วยการใช้เสียง ท่าทาง หรือ
สัญลักษณ์อื่น อาจเป็นการติดต่อระหว่างมนุษย์หรือระหว่าง
สัตว์ ภาษาในความหมายนี้ เช่น ภาษามนุษย์ ภาษาท่าทาง
ภาษาใบ้
2. ความหมายของภาษาอย่างแคบ
ภาษา หมายถึง ถ้อยคำาที่มนุษย์ใช้พูดเพื่อติดต่อสื่อความ
หมายกัน แต่ละถ้อยคำาที่พูดนั้นจะมีความหมายอย่างไรขึ้นอยู่
กับการตกลงของผู้ที่ใช้เสียงนั้น โดยทั่วไปเสียงกับความหมาย
ไม่มีความสัมพันธ์กัน แต่ก็อาจมีบ้างที่เสียงของถ้อยคำาสัมพันธ์
กับความหมาย แต่ก็มีเพียงส่วนน้อย
ภาษาประกอบด้วยหน่วยเล็กซึ่งประกอบกันเป็นหน่วยที่
ใหญ่ขึ้น
คำาเกิดจากการนำาเสียงในภาษามาประกอบกัน เรา
สามารถนำาเสียงในภาษาซึ่งมีจำานวนจำากัดมาประกอบกันเกิด
เป็นจำานวนมาก เช่น เมื่อนำาคำามาประกอบกันก็จะเกิดเป็น
ประโยค ประโยคที่มีอยู่สามารถนำามารวมกันหรือซ้อนกัน
ทำาให้ประโยคยาวออกไปได้เรื่อย ๆ นำาประโยคมาเรียบเรียงต่อ
กันก็จะเกิดเป็นเรื่องราว ตัวอย่างการขยายประโยค เช่น
ใบความรู้ วิชาภาษาไทย ท 33101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง ธรรมชาติของภาษา หน้า
2
ปู่ตีแมว
ปู่ตีแมวดำา
ปู่ตีแมวดำาที่มากินปลา
ปู่ตีแมวดำาที่มากินปลาที่ตากไว้
ภาษามีการเปลี่ยนแปลง
ภาษามีการเปลี่ยนแปลงได้ คำาบางคำาอาจเกิดขึ้นใหม่
บางคำาอาจเลิกใช้ไป และบางคำาอาจมีการเปลี่ยนแปลงเสียงไป
บ้าง หรือบางคำาอาจมีความหมายต่างไปจากเดิม ใช้ต่างไป
จากเดิม แม้รูปประโยคก็อาจเปลี่ยนแปลงไปได้ อาจมีรูป
ประโยคใหม่ ๆ เกิดขึ้น
สาเหตุที่ทำาให้ภาษามีการเปลี่ยน ได้แก่
1. การพูดจากันในชีวิตประจำาวัน
การพูดจากันทำาให้เสียงกลายไปได้ อาจสูญไป บางคำา
อาจมีความหมายต่างจากเดิม อาจทำาให้เสียงกลมกลืนกันหรือ
ทำาให้เกิดการกร่อนเสียงได้ เช่น
หมากขาม กร่อนเสียงเป็น มะขาม
ต้นขบ กร่อนเสียงเป็น ตะขบ
สายดือ กร่อนเสียงเป็น สะดือ
สาวใภ้ กร่อนเสียงเป็น สะใภ้
ฉันนี้ กร่อนเสียงเป็น ฉะนี้
2. อิทธิพลของภาษาอื่น
การติดต่อกับต่างชาติทำาให้มีการยืมภาษาอื่นมาใช้ การ
ยืมภาษาอื่นมาใช้ก็มีอิทธิพลทำาให้ภาษาเดิมเปลี่ยนแปลงได้ ที่
เห็นได้ชัดเจน ได้แก่ ไทยรับเอารูปประโยคของภาษาอังกฤษ
มาใช้ในภาษาไทย เช่น
3. ความเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม
เมื่อสิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลงไป ก็มีผลทำาให้มีสิ่งใหม่ๆ เกิด
ขึ้น และมีคำาใหม่กำาหนดเรียกใช้ส่วนศัพท์บางคำาที่ไม่ค่อยได้
ใช้ก็จะค่อยๆ สูญหายไปจากภาษาได้ด้วย
ตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงของภาษา เช่น
ใบความรู้ วิชาภาษาไทย ท 33101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง ธรรมชาติของภาษา หน้า
3
-“ ”กู เป็นสรรพนามบุรุษที่ 1 ในสมัยสุโขทัยใช้กันเป็นปกติ
แต่ปัจจุบันไม่นิยมกันใช้กันในสังคมเพราะถือว่าไม่สุภาพ
-“ ”เพื่อ ในศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำาแหงมหาราช มี
ความหมายทำานองเดียวกัน “ ”เพราะ ใช้เป็นคำาเชื่อมแสดง
เหตุผล แต่ในปัจจุบันใช้เป็นคำาบอกจุดมุ่งหมาย
- คำาโบราณที่ใช้ในเรื่องลิลิตตะเลงพ่าย ที่มีความหมาย
ต่างจากปัจจุบัน เช่น เต้า หมายถึง ไป ท่า หมายถึง คอย
4. การเรียนภาษาของเด็ก
ภาษามีลักษณะที่เหมือนกันและต่างกัน
1. ลักษณะที่เหมือนกันภาษา ได้แก่
1.1 ภาษาทุกภาษาใช้เสียงสื่อความหมาย ทุกภาษามี
เสียงสระเสียงพยัญชนะ
1.2 ภาษามีวิธีการสร้างศัพท์ใหม่ขึ้นใช้เช่น ภาษา
ไทยมรการสร้างศัพท์ใหม่ด้วยวิธีประสมคำาซำ้าคำา ซ้อนคำา
ภาษาบาลีสันสกฤตมีการสร้างศัพท์ใหม่ด้วยวิธีสมาส วิธีสนธิ
ตัวอย่างคำาประสม เช่น กงจักร กาฝาก กินใน กล้อง
ถ่ายรูป กล้วยแขก ขันหมาก
ขนตา ของกลาง เข้าใจ ใจดำา เจ้าพ่อ เจ้าแม่ ไฟฟ้า ตู้
เย็น ปากกา
ตัวอย่างคำาซ้อน เช่น กักขัง เกี่ยวข้อง ขัดขวาง ขบ
กัด คับแคบ คัดเลือก จิตใจ
ดูแลเจ็บไข้ถิ่นฐาน เรียกร้อง ทรัพย์สิน บ้านเรือน
ตัวอย่างคำาสมาส เช่น ราชโอรส วรรคดี
มัธยมศึกษา รัฐบาล รัฐมนตรี วัฒนธรรม ธุรกิจ ราชรถ
ประวัติศาสตร์ วิทยาศาสตร์ อิสรภาพ สารคดี คุณธรรม
สุขภาพ
1.3 ภาษาแต่ละภาษามีสำานวนใช้ ได้แก่
สำานวนในภาษาไทย เช่น
กิ่งทองใบหยก กระดี่ได้นำ้า ขิงก็ราข่าก็แรง ไข่ในหิน
ปลูกเรือนคร่อมตอ พ่อพวงมาลัย สนุขจนตรอก หมูไปไก่มา
เอาไม้ซีกไปงัดไม้ซุง
ใบความรู้ วิชาภาษาไทย ท 33101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง ธรรมชาติของภาษา หน้า
4
สำานวนในภาษาอังกฤษ เช่น To Make Both Meet
(เทียบสำานวนไทยว่า ชักหน้าไม่ถึงหลัง) Fine Feathers
Make Fine Birds (เทียบสำานวนไทยว่าไก่งามเพราะขน)
1.4 ภาษามีคำาชนิดต่าง ๆ ใช้ ได้แก่ คำานาม คำากริยา
คำาเชื่อม
คำานามในภาษาไทย เช่น บ้าน โรงเรียน ปากกา สนุข
คำากริยาในภาษาไทย เช่น กิน ไป เดิน รัก
คำาเชื่อมในภาษาไทย เช่น แต่ และ เพราะ
คำานามในภาษาอังกฤษ เช่น house school pen dog
คำากริยาในภาษาอังกฤษ เช่น eat go walk love
คำาเชื่อมในภาษาอังกฤษ เช่น but and because
1.5 ภาษามีวิธีขยายประโยคให้ยาวออกไปได้ เช่น
ฉันซื้อปากกา ฉันซื้อปากการสีดำา ฉันซื้อปากกาสีดำา
ให้น้องชาย
1.6 ภาษามีวิธีแสดงความคิดทำานองเดียวกันได้ เช่น
มีประโยคแจ้งให้ทราบ ประโยคถามให้ตอบ ประโยคบอก
ทำา
1.7 ภาษา มีการเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา เช่น มี
รูปประโยคใหม่ ๆ เกิดขึ้น มีศัพท์ใหม่ใช้มากขึ้น
2.ลักษณะที่ต่างกันของภาษา ได้แก่
2.1 ความแตกต่างกันในด้านเสียง เช่น ไทยมีเสียง
วรรณยุกต์ใช้ แต่ภาษาอังกฤษไม่มีเสียงนี้ใช้
2.2 ความแตกต่างกันในด้านไวยากรณ์ เช่น ลักษณะ
การเรียบเรียงประโยค
ตัวอย่างคำาที่มีเสียงสระเดียวกันและมีความหมาย
ใกล้เคียงกัน
1.เรื่อย – มีลักษณะอาการอันต่อเนื่องกันไปไม่ขาดระยะ
เฉื่อย – เรื่อย ๆ ช้า ๆ
2.บุก – ลุย ฝ่าเข้าไป รุก –ล่วงลำ้าเข้าไป
3.วาว - ใสสว่าง พราว – แวววาว
ใบความรู้ วิชาภาษาไทย ท 33101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง ธรรมชาติของภาษา หน้า
5
4.ปอก- เอาเปลือกหรือสิ่งที่ห่อหุ้มออก ลอก- เอา
เปลือกหรือผิวออกเป็นแผ่น ๆ
5.แหก – แยกออก แตก – แยกออกจากส่วนรวม
6.โล่ง –มีลักษณะว่างหรือเปิดตลอด โปร่ง – มีลักษณะ
ว่างหรือเปิดเป็นช่อง
7.เมื่อย – อาการเพลียของกล้ามเนื้อ เหนื่อย – รู้สึก
อ่อนแรงลง
8.หน่วง - เหนี่ยวไว้ ทำาให้ช้า ถ่วง – ทำาให้ช้า
9.จ้อง - เพ่งตาดูหรือมุ่งมองดูสิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยเฉพาะ
มอง – มุ่งดู
10 หย่อน –ไม่ตึง คลาย ผ่อน – ทำาให้หย่อนหรือคลาย
ความตึง
11.ขืน – ยั้งไว้หรือบังคับไว้ไม่ให้เป็นไปตาม ฝืน –
ขืนไว้ เหนี่ยวรั้ง
12.ไล่ - บังคับให้ไป ไส – เสือกไป ผลักไป
13.รุน – ดุนไปเรื่อย ไสไปเรื่อย ดุน – รุน ทำาให้
เคลื่อนที่ไปเรื่อย ๆ ด้วยแรงดัน
14.มัด- ผูกรัดให้แน่น รัด – พันให้กระชับ
15.โผน-อาการที่กระโดดเข้าไปทันที โจน - กระโดด
ไปโดยเร็ว
ใบความรู้ วิชาภาษาไทย ท 33101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง ธรรมชาติของภาษา หน้า
5
4.ปอก- เอาเปลือกหรือสิ่งที่ห่อหุ้มออก ลอก- เอา
เปลือกหรือผิวออกเป็นแผ่น ๆ
5.แหก – แยกออก แตก – แยกออกจากส่วนรวม
6.โล่ง –มีลักษณะว่างหรือเปิดตลอด โปร่ง – มีลักษณะ
ว่างหรือเปิดเป็นช่อง
7.เมื่อย – อาการเพลียของกล้ามเนื้อ เหนื่อย – รู้สึก
อ่อนแรงลง
8.หน่วง - เหนี่ยวไว้ ทำาให้ช้า ถ่วง – ทำาให้ช้า
9.จ้อง - เพ่งตาดูหรือมุ่งมองดูสิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยเฉพาะ
มอง – มุ่งดู
10 หย่อน –ไม่ตึง คลาย ผ่อน – ทำาให้หย่อนหรือคลาย
ความตึง
11.ขืน – ยั้งไว้หรือบังคับไว้ไม่ให้เป็นไปตาม ฝืน –
ขืนไว้ เหนี่ยวรั้ง
12.ไล่ - บังคับให้ไป ไส – เสือกไป ผลักไป
13.รุน – ดุนไปเรื่อย ไสไปเรื่อย ดุน – รุน ทำาให้
เคลื่อนที่ไปเรื่อย ๆ ด้วยแรงดัน
14.มัด- ผูกรัดให้แน่น รัด – พันให้กระชับ
15.โผน-อาการที่กระโดดเข้าไปทันที โจน - กระโดด
ไปโดยเร็ว

More Related Content

What's hot

ราชาศัพท์
ราชาศัพท์ราชาศัพท์
ราชาศัพท์kruthai40
 
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran Jarurnphong
 
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 2
หน่วยที่ 4  ภาษาเขมรในภาษาไทย 2หน่วยที่ 4  ภาษาเขมรในภาษาไทย 2
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 2Wilawun Wisanuvekin
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมWatcharapol Wiboolyasarin
 
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่ายใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่ายkrunoree.wordpress.com
 
ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนmonnawan
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran_Jarurnphong
 
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑พัน พัน
 
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความmarisa724
 
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาการเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาPpor Elf'ish
 
โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพSurapong Klamboot
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดีความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดีWatcharapol Wiboolyasarin
 
บทที่ 2 ภาษาศาสตร์
บทที่ 2 ภาษาศาสตร์บทที่ 2 ภาษาศาสตร์
บทที่ 2 ภาษาศาสตร์Wilawun Wisanuvekin
 

What's hot (20)

ราชาศัพท์
ราชาศัพท์ราชาศัพท์
ราชาศัพท์
 
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
 
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 2
หน่วยที่ 4  ภาษาเขมรในภาษาไทย 2หน่วยที่ 4  ภาษาเขมรในภาษาไทย 2
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 2
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
 
ข้อตกลงของห้องเรียน
ข้อตกลงของห้องเรียนข้อตกลงของห้องเรียน
ข้อตกลงของห้องเรียน
 
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่ายใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
 
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารของม.ราชภัฎสวนดุสิต
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารของม.ราชภัฎสวนดุสิตภาษาไทยเพื่อการสื่อสารของม.ราชภัฎสวนดุสิต
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารของม.ราชภัฎสวนดุสิต
 
ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียน
 
คำบุพบท
คำบุพบทคำบุพบท
คำบุพบท
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
 
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
 
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
 
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาการเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
 
โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพ
 
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
 
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดีความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
 
บทที่ 2 ภาษาศาสตร์
บทที่ 2 ภาษาศาสตร์บทที่ 2 ภาษาศาสตร์
บทที่ 2 ภาษาศาสตร์
 

Similar to ธรรมชาติของภาษาออนไลน์

ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
9789740335610
97897403356109789740335610
9789740335610CUPress
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการnootsaree
 
12 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-2
12 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-212 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-2
12 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-2DisneyP
 
ภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร
ภาษาที่ใช้ในการสื่อสารภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร
ภาษาที่ใช้ในการสื่อสารAom Chadaporn
 
ภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร
ภาษาที่ใช้ในการสื่อสารภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร
ภาษาที่ใช้ในการสื่อสารAom Chadaporn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรitnogkamix
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1Itnog Kamix
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาพัน พัน
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาPonpirun Homsuwan
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาkingkarn somchit
 

Similar to ธรรมชาติของภาษาออนไลน์ (20)

ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทย
 
9789740335610
97897403356109789740335610
9789740335610
 
ภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมดภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมด
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
12 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-2
12 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-212 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-2
12 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-2
 
ภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร
ภาษาที่ใช้ในการสื่อสารภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร
ภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร
 
ภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร
ภาษาที่ใช้ในการสื่อสารภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร
ภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร
 
สรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติวสรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติว
 
Mil chapter 1_3(1)
Mil chapter 1_3(1)Mil chapter 1_3(1)
Mil chapter 1_3(1)
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
Wordpress2
Wordpress2Wordpress2
Wordpress2
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 

More from ห้องเรียน ภาษาไทยออนไลน์

More from ห้องเรียน ภาษาไทยออนไลน์ (20)

ใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสาร
ใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสารใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสาร
ใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสาร
 
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
 
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
 
ใบความรู้เรื่องระบบคำยืม
ใบความรู้เรื่องระบบคำยืมใบความรู้เรื่องระบบคำยืม
ใบความรู้เรื่องระบบคำยืม
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
ใบความรู้คติชาวบ้านและเพลงกล่อมเด็ก
ใบความรู้คติชาวบ้านและเพลงกล่อมเด็กใบความรู้คติชาวบ้านและเพลงกล่อมเด็ก
ใบความรู้คติชาวบ้านและเพลงกล่อมเด็ก
 
ใบความรู้ เรื่อง ภาษิตใต้
ใบความรู้ เรื่อง  ภาษิตใต้ใบความรู้ เรื่อง  ภาษิตใต้
ใบความรู้ เรื่อง ภาษิตใต้
 
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
 
พฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
พฤติกรรมมาโรงเรียนสายพฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
พฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
 
คู่มือวิธีใช้Wordpress
คู่มือวิธีใช้Wordpressคู่มือวิธีใช้Wordpress
คู่มือวิธีใช้Wordpress
 
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่นใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
 
การโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจการโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจ
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทยใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
 
กระบวนเรือพยุหยาตราชลมารค
กระบวนเรือพยุหยาตราชลมารคกระบวนเรือพยุหยาตราชลมารค
กระบวนเรือพยุหยาตราชลมารค
 
แบบเขียนรายงานทางวิชาการ
แบบเขียนรายงานทางวิชาการแบบเขียนรายงานทางวิชาการ
แบบเขียนรายงานทางวิชาการ
 
ใบความรู้ หนังตะลุง ม52
ใบความรู้  หนังตะลุง ม52ใบความรู้  หนังตะลุง ม52
ใบความรู้ หนังตะลุง ม52
 
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 

ธรรมชาติของภาษาออนไลน์

  • 1. ใบความรู้ วิชาภาษาไทย ท 33101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง ธรรมชาติของภาษา หน้า 1 ธรรมชาติของภาษา มนุษย์ใช้ภาษาในการติดต่อสื่อสารเพื่อให้เกิดความเข้าใจ ซึ่งกันและกัน แต่ละภาษานั้นมีลักษณะร่วมกันที่สำาคัญ 4 ประการ คือ 1. ภาษาใช้เสียงสื่อความหมาย 2. ภาษาประกอบด้วยหน่วยเล็กซึ่งประกอบกันเป็นหน่วยที่ ใหญ่ขึ้น 3. ภาษามีการเปลี่ยนแปลง 4. ภาษามีลักษณะที่เหมือนกันและต่างกัน ภาษาใช้เสียงสื่อความหมาย ความหมายของภาษาพิจารณาได้ 2 ลักษณะ คือ 1. ความหมายของภาษาอย่างกว้าง ภาษา หมายถึง การแสดงออกเมื่อสื่อความหมายอย่างมี ระบบกฎเกณฑ์ที่เข้าใจกัน ด้วยการใช้เสียง ท่าทาง หรือ สัญลักษณ์อื่น อาจเป็นการติดต่อระหว่างมนุษย์หรือระหว่าง สัตว์ ภาษาในความหมายนี้ เช่น ภาษามนุษย์ ภาษาท่าทาง ภาษาใบ้ 2. ความหมายของภาษาอย่างแคบ ภาษา หมายถึง ถ้อยคำาที่มนุษย์ใช้พูดเพื่อติดต่อสื่อความ หมายกัน แต่ละถ้อยคำาที่พูดนั้นจะมีความหมายอย่างไรขึ้นอยู่ กับการตกลงของผู้ที่ใช้เสียงนั้น โดยทั่วไปเสียงกับความหมาย ไม่มีความสัมพันธ์กัน แต่ก็อาจมีบ้างที่เสียงของถ้อยคำาสัมพันธ์ กับความหมาย แต่ก็มีเพียงส่วนน้อย ภาษาประกอบด้วยหน่วยเล็กซึ่งประกอบกันเป็นหน่วยที่ ใหญ่ขึ้น คำาเกิดจากการนำาเสียงในภาษามาประกอบกัน เรา สามารถนำาเสียงในภาษาซึ่งมีจำานวนจำากัดมาประกอบกันเกิด เป็นจำานวนมาก เช่น เมื่อนำาคำามาประกอบกันก็จะเกิดเป็น ประโยค ประโยคที่มีอยู่สามารถนำามารวมกันหรือซ้อนกัน ทำาให้ประโยคยาวออกไปได้เรื่อย ๆ นำาประโยคมาเรียบเรียงต่อ กันก็จะเกิดเป็นเรื่องราว ตัวอย่างการขยายประโยค เช่น
  • 2. ใบความรู้ วิชาภาษาไทย ท 33101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง ธรรมชาติของภาษา หน้า 2 ปู่ตีแมว ปู่ตีแมวดำา ปู่ตีแมวดำาที่มากินปลา ปู่ตีแมวดำาที่มากินปลาที่ตากไว้ ภาษามีการเปลี่ยนแปลง ภาษามีการเปลี่ยนแปลงได้ คำาบางคำาอาจเกิดขึ้นใหม่ บางคำาอาจเลิกใช้ไป และบางคำาอาจมีการเปลี่ยนแปลงเสียงไป บ้าง หรือบางคำาอาจมีความหมายต่างไปจากเดิม ใช้ต่างไป จากเดิม แม้รูปประโยคก็อาจเปลี่ยนแปลงไปได้ อาจมีรูป ประโยคใหม่ ๆ เกิดขึ้น สาเหตุที่ทำาให้ภาษามีการเปลี่ยน ได้แก่ 1. การพูดจากันในชีวิตประจำาวัน การพูดจากันทำาให้เสียงกลายไปได้ อาจสูญไป บางคำา อาจมีความหมายต่างจากเดิม อาจทำาให้เสียงกลมกลืนกันหรือ ทำาให้เกิดการกร่อนเสียงได้ เช่น หมากขาม กร่อนเสียงเป็น มะขาม ต้นขบ กร่อนเสียงเป็น ตะขบ สายดือ กร่อนเสียงเป็น สะดือ สาวใภ้ กร่อนเสียงเป็น สะใภ้ ฉันนี้ กร่อนเสียงเป็น ฉะนี้ 2. อิทธิพลของภาษาอื่น การติดต่อกับต่างชาติทำาให้มีการยืมภาษาอื่นมาใช้ การ ยืมภาษาอื่นมาใช้ก็มีอิทธิพลทำาให้ภาษาเดิมเปลี่ยนแปลงได้ ที่ เห็นได้ชัดเจน ได้แก่ ไทยรับเอารูปประโยคของภาษาอังกฤษ มาใช้ในภาษาไทย เช่น 3. ความเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม เมื่อสิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลงไป ก็มีผลทำาให้มีสิ่งใหม่ๆ เกิด ขึ้น และมีคำาใหม่กำาหนดเรียกใช้ส่วนศัพท์บางคำาที่ไม่ค่อยได้ ใช้ก็จะค่อยๆ สูญหายไปจากภาษาได้ด้วย ตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงของภาษา เช่น
  • 3. ใบความรู้ วิชาภาษาไทย ท 33101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง ธรรมชาติของภาษา หน้า 3 -“ ”กู เป็นสรรพนามบุรุษที่ 1 ในสมัยสุโขทัยใช้กันเป็นปกติ แต่ปัจจุบันไม่นิยมกันใช้กันในสังคมเพราะถือว่าไม่สุภาพ -“ ”เพื่อ ในศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำาแหงมหาราช มี ความหมายทำานองเดียวกัน “ ”เพราะ ใช้เป็นคำาเชื่อมแสดง เหตุผล แต่ในปัจจุบันใช้เป็นคำาบอกจุดมุ่งหมาย - คำาโบราณที่ใช้ในเรื่องลิลิตตะเลงพ่าย ที่มีความหมาย ต่างจากปัจจุบัน เช่น เต้า หมายถึง ไป ท่า หมายถึง คอย 4. การเรียนภาษาของเด็ก ภาษามีลักษณะที่เหมือนกันและต่างกัน 1. ลักษณะที่เหมือนกันภาษา ได้แก่ 1.1 ภาษาทุกภาษาใช้เสียงสื่อความหมาย ทุกภาษามี เสียงสระเสียงพยัญชนะ 1.2 ภาษามีวิธีการสร้างศัพท์ใหม่ขึ้นใช้เช่น ภาษา ไทยมรการสร้างศัพท์ใหม่ด้วยวิธีประสมคำาซำ้าคำา ซ้อนคำา ภาษาบาลีสันสกฤตมีการสร้างศัพท์ใหม่ด้วยวิธีสมาส วิธีสนธิ ตัวอย่างคำาประสม เช่น กงจักร กาฝาก กินใน กล้อง ถ่ายรูป กล้วยแขก ขันหมาก ขนตา ของกลาง เข้าใจ ใจดำา เจ้าพ่อ เจ้าแม่ ไฟฟ้า ตู้ เย็น ปากกา ตัวอย่างคำาซ้อน เช่น กักขัง เกี่ยวข้อง ขัดขวาง ขบ กัด คับแคบ คัดเลือก จิตใจ ดูแลเจ็บไข้ถิ่นฐาน เรียกร้อง ทรัพย์สิน บ้านเรือน ตัวอย่างคำาสมาส เช่น ราชโอรส วรรคดี มัธยมศึกษา รัฐบาล รัฐมนตรี วัฒนธรรม ธุรกิจ ราชรถ ประวัติศาสตร์ วิทยาศาสตร์ อิสรภาพ สารคดี คุณธรรม สุขภาพ 1.3 ภาษาแต่ละภาษามีสำานวนใช้ ได้แก่ สำานวนในภาษาไทย เช่น กิ่งทองใบหยก กระดี่ได้นำ้า ขิงก็ราข่าก็แรง ไข่ในหิน ปลูกเรือนคร่อมตอ พ่อพวงมาลัย สนุขจนตรอก หมูไปไก่มา เอาไม้ซีกไปงัดไม้ซุง
  • 4. ใบความรู้ วิชาภาษาไทย ท 33101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง ธรรมชาติของภาษา หน้า 4 สำานวนในภาษาอังกฤษ เช่น To Make Both Meet (เทียบสำานวนไทยว่า ชักหน้าไม่ถึงหลัง) Fine Feathers Make Fine Birds (เทียบสำานวนไทยว่าไก่งามเพราะขน) 1.4 ภาษามีคำาชนิดต่าง ๆ ใช้ ได้แก่ คำานาม คำากริยา คำาเชื่อม คำานามในภาษาไทย เช่น บ้าน โรงเรียน ปากกา สนุข คำากริยาในภาษาไทย เช่น กิน ไป เดิน รัก คำาเชื่อมในภาษาไทย เช่น แต่ และ เพราะ คำานามในภาษาอังกฤษ เช่น house school pen dog คำากริยาในภาษาอังกฤษ เช่น eat go walk love คำาเชื่อมในภาษาอังกฤษ เช่น but and because 1.5 ภาษามีวิธีขยายประโยคให้ยาวออกไปได้ เช่น ฉันซื้อปากกา ฉันซื้อปากการสีดำา ฉันซื้อปากกาสีดำา ให้น้องชาย 1.6 ภาษามีวิธีแสดงความคิดทำานองเดียวกันได้ เช่น มีประโยคแจ้งให้ทราบ ประโยคถามให้ตอบ ประโยคบอก ทำา 1.7 ภาษา มีการเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา เช่น มี รูปประโยคใหม่ ๆ เกิดขึ้น มีศัพท์ใหม่ใช้มากขึ้น 2.ลักษณะที่ต่างกันของภาษา ได้แก่ 2.1 ความแตกต่างกันในด้านเสียง เช่น ไทยมีเสียง วรรณยุกต์ใช้ แต่ภาษาอังกฤษไม่มีเสียงนี้ใช้ 2.2 ความแตกต่างกันในด้านไวยากรณ์ เช่น ลักษณะ การเรียบเรียงประโยค ตัวอย่างคำาที่มีเสียงสระเดียวกันและมีความหมาย ใกล้เคียงกัน 1.เรื่อย – มีลักษณะอาการอันต่อเนื่องกันไปไม่ขาดระยะ เฉื่อย – เรื่อย ๆ ช้า ๆ 2.บุก – ลุย ฝ่าเข้าไป รุก –ล่วงลำ้าเข้าไป 3.วาว - ใสสว่าง พราว – แวววาว
  • 5. ใบความรู้ วิชาภาษาไทย ท 33101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง ธรรมชาติของภาษา หน้า 5 4.ปอก- เอาเปลือกหรือสิ่งที่ห่อหุ้มออก ลอก- เอา เปลือกหรือผิวออกเป็นแผ่น ๆ 5.แหก – แยกออก แตก – แยกออกจากส่วนรวม 6.โล่ง –มีลักษณะว่างหรือเปิดตลอด โปร่ง – มีลักษณะ ว่างหรือเปิดเป็นช่อง 7.เมื่อย – อาการเพลียของกล้ามเนื้อ เหนื่อย – รู้สึก อ่อนแรงลง 8.หน่วง - เหนี่ยวไว้ ทำาให้ช้า ถ่วง – ทำาให้ช้า 9.จ้อง - เพ่งตาดูหรือมุ่งมองดูสิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยเฉพาะ มอง – มุ่งดู 10 หย่อน –ไม่ตึง คลาย ผ่อน – ทำาให้หย่อนหรือคลาย ความตึง 11.ขืน – ยั้งไว้หรือบังคับไว้ไม่ให้เป็นไปตาม ฝืน – ขืนไว้ เหนี่ยวรั้ง 12.ไล่ - บังคับให้ไป ไส – เสือกไป ผลักไป 13.รุน – ดุนไปเรื่อย ไสไปเรื่อย ดุน – รุน ทำาให้ เคลื่อนที่ไปเรื่อย ๆ ด้วยแรงดัน 14.มัด- ผูกรัดให้แน่น รัด – พันให้กระชับ 15.โผน-อาการที่กระโดดเข้าไปทันที โจน - กระโดด ไปโดยเร็ว
  • 6. ใบความรู้ วิชาภาษาไทย ท 33101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง ธรรมชาติของภาษา หน้า 5 4.ปอก- เอาเปลือกหรือสิ่งที่ห่อหุ้มออก ลอก- เอา เปลือกหรือผิวออกเป็นแผ่น ๆ 5.แหก – แยกออก แตก – แยกออกจากส่วนรวม 6.โล่ง –มีลักษณะว่างหรือเปิดตลอด โปร่ง – มีลักษณะ ว่างหรือเปิดเป็นช่อง 7.เมื่อย – อาการเพลียของกล้ามเนื้อ เหนื่อย – รู้สึก อ่อนแรงลง 8.หน่วง - เหนี่ยวไว้ ทำาให้ช้า ถ่วง – ทำาให้ช้า 9.จ้อง - เพ่งตาดูหรือมุ่งมองดูสิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยเฉพาะ มอง – มุ่งดู 10 หย่อน –ไม่ตึง คลาย ผ่อน – ทำาให้หย่อนหรือคลาย ความตึง 11.ขืน – ยั้งไว้หรือบังคับไว้ไม่ให้เป็นไปตาม ฝืน – ขืนไว้ เหนี่ยวรั้ง 12.ไล่ - บังคับให้ไป ไส – เสือกไป ผลักไป 13.รุน – ดุนไปเรื่อย ไสไปเรื่อย ดุน – รุน ทำาให้ เคลื่อนที่ไปเรื่อย ๆ ด้วยแรงดัน 14.มัด- ผูกรัดให้แน่น รัด – พันให้กระชับ 15.โผน-อาการที่กระโดดเข้าไปทันที โจน - กระโดด ไปโดยเร็ว