SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
การเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจไทย
                                                                          อ.อุษณีย ยุชยะทัต
                                                                     โรงเรียนชิโนรสวิทยาลัย

        ลักษณะเศรษฐกิจของไทยตั้งแตสมัยสุโขทัยถึงรัตนโกสินทรตอนตน มีลักษณะ
        1. เปนเศรษฐกิจแบบเลี้ยงตัวเอง
        2. เปนระบบผูกขาดโดยพระคลังสินคา
        3. ขึ้นอยูกับการเกษตรกรรมเปนสวนใหญ
        เศรษฐกิจแบบเลียงตัวเองคือผลิตขึนกินใชในทองถิน ไมมการซือวัตถุดบมาผลิตสินคาแลวสง
                        ้              ้              ่     ี ้         ิ
ไปขาย

เศรษฐกิจสมัยสุโขทัย
         อาชีพหลักของคนสมัยสุโขทัย ไดแก เกษตรกรรม หัตถกรรม การคาขาย การทําการเกษตร
กรรม รูจักการชลประทาน การหัตถกรรมทําเครื่องปนดินเผาที่เรียกวา สังคโลก มีลักษณะเปนการ
คาเสรี ไมมีการผูกขาด มีการคากับจีน การคาภายในประเทศเปนระบบแลกเปลี่ยนสินคาโดยตรง มี
เงินตราใชแลว แตไมแพรหลาย
เศรษฐกิจสมัยอยุธยา
      พื้นฐานเศรษฐกิจขึ้นอยูกับการเกษตร    และการคาทั้งภายในและการคาภายนอกกับตาง
ประเทศ เปนการคาแบบผูกขาด โดยพระคลังสินคา
      พระคลังสินคา คือหนวยงานของรัฐบาลที่ทําหนาที่ผูกขาดการคา ทั้งในประเทศ และตาง
ประเทศ ตั้งขึ้นสมัยพระเจาปราสาททอง ยกเลิกสมัยรัชกาลที่ 4 เพราะผลของสัญญาบาวริง
        รายไดหลักของอยุธยา มาจากพระคลังสินคาและภาษีอากร ภาษีอากร 4 ชนิด คือ
        1. จังกอบ หมายถึง ภาษีที่เก็บชักสวนจากสินคาที่บรรทุกยานพาหนะมาขาย มักเก็บสิบ
           หยิบหนึ่ง คือสินคาสิบสวน เก็บภาษีหนึ่งสวน
        2. อากร หมายถึง ภาษีที่เก็บชักสวนจากผลผลิตที่ราษฎรทําได เชน อากรคานา อากร
           ตลาด
        3. สวย คือ เงินหรือสิ่งของที่ราษฎรสงมาแทนการเขาเวรรับราชการ


                                                                                         13
               สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
4. ฤชา คือ คาธรรมเนียมที่เก็บจากการที่รัฐใหบริการกับประชาชน รวมทั้งเงินคาปรับ
           ตางๆ

เศรษฐกิจสมัยธนบุรี
       โครงสรางทางเศรษฐกิจเหมือนสมัยอยุธยา แตเนื่องจากภัยสงคราม ทําใหเศรษฐกิจทรุด
โทรม พระเจากรุงธนบุรีทรงแกไขโดยสละราชทรัพยสวนพระองคซื้อเครื่องอุปโภค บริโภค แจก
จายราษฎร และใหขุนนางเกณฑไพรทํานาปละ 2 ครั้ง เพื่อเพิ่มผลผลิตขาว

เศรษฐกิจสมัยรัตนโกสินทรตอนตน
        - รายไดมาจาก ภาษีอากร เงินผูกป ระบบเจาภาษีนายอากร
        - มีการทําสัญญากับอังกฤษ ฉบับแรกคือสัญญาเบอรนี่ พ.ศ.2369 ในสมัยรัชกาลที่ 3
        - ภาษีอากรเก็บเหมือนอยุธยา มีการเก็บภาษีอากรเพิ่มขึ้น และเก็บเปนเงินแทนสิ่งของ สมัย
           รัชกาลที่ 3 มีการเก็บภาษีอากรเพิ่ม 38 ชนิด
        เงินผูกปขอมือจีน คือ เงินที่เก็บจากชาวจีนแทนการเกณฑแรงงาน เปนรายป เริ่มเก็บสมัย
รัชกาลที่ 2 ยกเลิกสมัยรัชกาลที่ 5
        ระบบเจาภาษีนายอากร หมายถึง ระบบเศรษฐกิจที่ใหเอกชนประมูลรับเหมาการทํากิจการ
ตางๆ ไปจากรัฐแลวเสียภาษีใหรัฐบาลเปนป สวนใหญผูกขาดโดยชาวจีน ตั้งขึ้นสมัยรัชกาลที่ 3 ยก
เลิกสมัยรัชกาลที่ 5 มีทั้งขอดีและขอเสีย
        ขอดี คือ รัฐมีรายไดเพิ่มมากขึ้นและแนนอน
        ขอเสีย คือ ประชาชนซื้อของแพง

                                            ขอทดสอบ

1. ขอใดมิใชผลที่เกิดจากการมีระบบเจาภาษีนายอากร
     1. ชนชั้นสูงของไทยเปนนายทุนรุนแรกอยางมีประสิทธิภาพ
     2. ชาวจีนมีโอกาสเปนนายทุนรุนแรกในสังคมไทย
     3. รัฐบาลลดภาระการจัดเก็บภาษี
     4. รัฐบาลควบคุมการจัดเก็บภาษีไดไมทั่วถึง



                                                                                          14
                สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
2. ขอใดไมใชบทบาทของชาวจีนตอพัฒนาการทางเศรษฐกิจของไทยในสมัยรัตนโกสินทรตอนตน
     1. การผลิตสินคาเกษตรกรรมประเภทใหม เชน นํ้าตาลทราย
     2. การเขาประมูลเปนเจาภาษีนายอากร
     3. การเปนพอคาคนกลางกระจายอยูทั่วประเทศ
     4. การตั้งชุมชนคาขายเฉพาะบริเวณเมืองทาชายฝง
3. วัตถุประสงคสําคัญที่สุดของการจัดใหมีระบบเจาภาษีอากรในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่ง
    เกลาเจาอยูหัว คือขอใด
     1. เพื่อใหมรายไดเพิ่มมากขึ้น
                   ี                              2. เพื่อแทนที่ภาษีประเภทจังกอบ
     3. เพื่อเก็บภาษีในรูปเงินตราแทนสิ่งของ       4. เพื่อเอกชนมาเก็บภาษีแทนเจาหนาที่
4. ขอใดเปนลักษณะเดนของระบบพระคลังสินคา
     1. การเปดโอกาสใหเอกชนเขามาประมูลภาษี
     2. ราษฎรกับพอคาไมสามารถติดตอคาขายกันไดโดยตรง
     3. การผูกขาดทางเศรษฐกิจโดยรัฐ
     4. การยินยอมใหไพรนําผลผลิตสวนเกินที่รัฐไมตองการออกขายได
5. ขอใดเปนลักษณะเดนของระบบเจาภาษีนายอากร
     1. การเปดโอกาสใหเอกชนประมูลจัดเก็บภาษี
     2. การผูกขาดการจัดเก็บภาษีโดยรัฐ
     3. การจัดเก็บภาษีจากการชักสวนผลผลิตที่ราษฎรทําได
     4. การจัดเก็บภาษีเปนเงินแทนสิ่งของ
6. การผูกขาดการคาของพระคลังสินคาหมดสิ้นไปเพราะเหตุใด
     1. ผลของสัญญาบาวริง
     2. ผลของการเปดประเทศกับตะวันตก
     3. ทําการคาขาดทุนเกินกวาที่จะดําเนินงานตอไป
     4. การขยายตัวของเงินตราแพรหลายขึ้น
7. เงินผูกปขอมือจีน ในสมัยรัตนโกสินทรตอนตนมีการจัดเก็บแบบใด
     1. เงินคาธรรมเนียมที่เก็บจากชาวจีนเปนรายป
     2. เงินคาธรรมเนียมที่เก็บจากไพรสวยเปนรายป
     3. เงินคาธรรมเนียมที่เก็บจากเจาภาษีนายอากร
     4. เงินคาธรรมเนียมที่เก็บจากการจําหนายสินคาตองหาม



                                                                                      15
               สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
8. ลักษณะการคาในสมัยสุโขทัยเปนอยางไร
     1. เปนการคาเสรี
     2. เปนการคาแบบผูกขาด
     3. ไมมีการคากับตางประเทศ
     4. เปนการแลกเปลี่ยนสินคากันโดยตรง ยังไมมีการใชเงินตรา
9. รายไดหลักของไทยตั้งแตสมัยอยุธยาจนถึงรัตนโกสินทรตอนตนไดมากจากแหลงใด
     1. การคาตางประเทศ                          2. การเก็บสวย
     3. การผูกขาดโดยพระคลังสินคา                 4. การเกณฑแรงงานจากไพร
10. สินคาสําคัญในการคาระหวางไทยกับชาติตะวันตกในสมัยอยุธยาคืออะไร
      1. ของปาไทยและสินคาญี่ปุน                2. ของปาไทยและสินคาจีน
      3. ขาวไทยและสินคาจีน                      4. ขาวไทยและสินคาญี่ปุน
11. ขอความในขอใดที่ไมถูกตองเกี่ยวกับการผลิตในชุมชนไทยสมัยกอน
      1. ผลิตเพื่อการคา                          2. ผลิตเพื่อใชอุปโภคบริโภค
      3. ผลิตเพื่อเสียภาษีและสวย                 4. ผลิตเพื่อนําไปแลกเปลี่ยนสินคาอื่น
12. ขอใดไมใชหนาที่ของพระคลังสินคา
      1. เปนผูผูกขาดการคากับตางประเทศ
      2. เปนผูทําหนาที่ติดตอกับตางประเทศ
      3. เปนผูสงเรือไปคาขายกับตางประเทศ
      4. เปนผูกําหนดราคาสินคาจากตางประเทศ
13. ความรุงเรืองทางเศรษฐกิจของกรุงศรีอยุธยาเกิดขึ้นจากเหตุผลขอใด
      1. สงเสริมการเพาะปลูกขาว                  2. การคาขายระหวางไทย - จีน
      3. กษัตริยสงเสริมการคาภายใน              4. กรุงศรีอยุธยาเปนเมืองทาที่มีความเหมาะสม
14. เศรษฐกิจสุโขทัยและอยุธยาแตกตางกันอยางไร
      1. สุโขทัยมีการคาอยางเสรี อยุธยามีการผูกขาดการคา
      2. สุโขทัยทําการคากับจีนมากที่สุด อยุธยาทําการคากับอินเดียมากที่สุด
      3. สุโขทัยไมมการเก็บภาษีอากรใดๆ อยุธยามีการเก็บภาษีอากรหลายประเภท
                        ี
      4. สุโขทัยมีการผลิตแบบพอยังชีพเปนหลัก อยุธยามีการผลิตเพื่อสงออกเปนหลัก
15. ขอความใดที่แสดงใหเห็นลักษณะทางเศรษฐกิจที่เดนในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว
      1. การคาขายกับประเทศจีน                    2. การคาขายกับประเทศตะวันตก
      3. การผูกขาดการคาโดยพระคลังสินคา          4. การประมูลผูกขาดการเก็บภาษีอากร


                                                                                         16
               สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจภายหลังสัญญาบาวริง
       สมัยรัชกาลที่ 4 ไทยทําสัญญาบาวริงกับอังกฤษ ซึ่งมีสาระสําคัญ ดังนี้
       1. ไทยตองยกเลิกภาษีเบิกรอง หรือคาปากเรือเก็บเปนภาษีขาเขารอยละ 3
       2. ไทยตองยกเลิกการผูกขาดการคา โดยพระคลังสินคา
       3. คนอังกฤษ และคนในบังคับของอังกฤษถาทําผิดขึ้นศาลกงศุลของประเทศตน
       4. อนุญาตใหสงขาวเปนสินคาออกได ยกเวนปใดทํานาไมไดผลหามสง
       ขอดีของสัญญาบาวริง
       1. จากการเปดประเทศทําใหไทยพัฒนาขึ้นในทุกๆ ดาน
       2. ไทยไมตองเปนอาณานิคมของมหาอํานาจตะวันตก
       ขอเสียของสัญญาบาวริง
       1. ไทยเสียสิทธิสภาพนอกอาณาเขต
       2. ไทยตองยกเลิกพระคลังสินคา ซึ่งทํารายไดใหมาก
       3. สัญญาไมไดกําหนดระยะเวลา

         การเปลี่ยนแปลงและการขยายตัวทางเศรษฐกิจหลังสัญญาบาวริง
        1. การเปลี่ยนแปลงระบบการคา จากการคาผูกขาด มาเปนการคาเสรี
        2. การเปลี่ยนแปลงระบบการผลิต จากการผลิตเพื่อเลี้ยงตัวเอง มาเปนการผลิตเพื่อการคา
        3. การเปลี่ยนแปลงระบบเงินตรา สมัยรัชกาลที่ 4 มีการเปลี่ยนแปลงระบบเงินตราใหม
โดยตั้งโรงกษาปณเพื่อผลิตเหรียญขึ้นใช สมัยรัชกาลที่ 5 มีการปฏิรูปเงินตราขึ้นใหม กําหนดเปน
บาทกับสตางค และพิมพธนบัตรขึ้นใชเปนครั้งแรก
        4. การเปลี่ยนแปลงดานภาษีอากรในสมัยรัชกาลที่ 5
            1) ยกเลิกระบบเจาภาษีนายอากร
            2) จัดตั้งหอรัษฎากรพิพัฒน ทําหนาที่ดูแลเกี่ยวกับภาษีอากรและรายไดของแผนดิน
            3) ตั้งกรมสรรพภาษีและกรมสรรพากรขึ้นตอกระทรวงการคลัง
            4) มีการจัดทํางบประมาณแผนดินขึ้นเปนครั้งแรก เพื่อวางระเบียบการใชจายเงิน
ของประเทศใหถูกตอง
            5) มีการจัดตั้งธนาคารพาณิชยแหงแรก คือธนาคารไทยพาณิชย (บุคคลัภย)




                                                                                         17
               สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
เศรษฐกิจสมัยรัชกาลที่ 6
       มีการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ ดังนี้
       1. ตั้งธนาคารออมสิน
       2. จัดตั้งสหกรณแหงแรกของไทย คือ สหกรณวัดจันทรไมจํากัดสินใช ตั้งอยูที่อําเภอเมือง
          จังหวัดพิษณุโลก
       3. ตั้งกระทรวงพาณิชย
       4. การแกไขสัญญาบาวริง
       ความเสื่อมโทรมทางเศรษฐกิจสมัยรัชกาลที่ 6 มีสาเหตุมาจาก
       1. เงินคงคลังเหลือนอยตองนําเงินมาพัฒนาประเทศตอจากรัชกาลที่ 5
       2. เกิดอุกทกภัยครั้งใหญ พ.ศ. 2460
       3. การใชจายเงินฟุมเฟอยของรัชกาลที่ 6
       4. ดีบุกราคาตกตํ่า รัฐบาลตองนําเงินไปชวยเหลือเจาของเหมือง
       รัชกาลที่ 6 ทรงแกไขปญหาเศรษฐกิจโดย
           - กูเงินจากธนาคารภายในประเทศ
           - สละราชทรัพยสวนพระองคชวยเหลือ

เศรษฐกิจสมัยรัชกาลที่ 7
       วิกฤตการณทางเศรษฐกิจสมัยรัชกาลที่ 7 มีสาเหตุมาจาก
       1. การแกปญหาดานเกษตรจากรัชกาลที่ 6 ไมไดผล
       2. เศรษฐกิจตกตํ่าทั่วโลกจากสงครามโลกครั้งที่ 1
           ทรงแกไขโดย         - ยุบหนวยงาน ปลดขาราชการ
                               - ตัดทอนรายจายสวนพระองค
                               - กูเงินจากธนาคารตางประเทศ

       ผลจากปญหาเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 7 ทําใหเกิด การปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครอง
พ.ศ.2475
       ภายหลังการปฏิวัติ คณะราษฎรไดมอบหมายใหหลวงประดิษฐมนูธรรม (นายปรีดี พนม
ยงค) เปนผูรางเคาโครงเศรษฐกิจแหงชาติเรียกวา สมุดปกเหลือง แตไมไดนํามาใชเนื่องจากมี
ลักษณะเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม

                                                                                           18
               สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
ในสมัยจอมพล ป. พิบลสงคราม เปนนายกรัฐมนตรี มีการประกาศใชนโยบายชาตินยมทาง
                            ู                                               ิ
เศรษฐกิจ
        - โอนกิจการที่ชาวตางชาติทํามาใหคนไทยทํา
        - สงวนอาชีพสําหรับคนไทย
        - ตั้งรัฐวิสาหกิจ
       สมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต เปนนายกรัฐมนตรี มีการประกาศใชแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแหงชาติฉบับแรก พ.ศ. 2504


                                          ขอทดสอบ

1. ภายหลังที่ไทยตกลงทําสนธิสัญญาบาวริงกับอังกฤษใน พ.ศ. 2398 และกับประเทศตางๆ ในยุ
   โรปอีกหลายประเทศในเวลาตอมา กอใหเกิดผลกระทบตอโครงสรางเศรษฐกิจไทยอยางไร
    1. คนไทยเริ่มดําเนินชีวิตในลักษณะใชจายฟุมเฟอยมากขึ้น
    2. ระบบผูกขาดของพระคลังสินคาตกอยูในกํามือของชาวตะวันตก
    3. ระบบการผลิตทางการเกษตรไดเปลี่ยนเปนระบบการผลิตทางอุตสาหกรรมอยางรวดเร็ว
    4. ระบบการผลิตแบบพึ่งตนเองเริ่มเสื่อมลง โดยระบบการผลิตเพื่อการสงออกเริ่มขยายตัวมาก
       ขึ้น
2. สนธิสัญญาบาวริงมีผลตอการเปลี่ยนแปลงดานเกษตรกรรมของไทยหลายประการยกเวนขอใด
    1. มีชาวจีนอพยพมารับจางทํางานในไรสวนทั่วประเทศ
    2. เกิดธุรกิจโรงสีขาวขยายตัวทั้งในกรุงเทพฯ และปริมณฑล
    3. เกิดระบบการถือกรรมสิทธิที่ดินสวนบุคคล
    4. มีการขยายพื้นที่ปลูกขาวบริเวณลุมนํ้าเจาพระยาตอนลาง
3. การปฏิรูปการคลังของไทยในสมัยรัชกาลที่ 5 มีการดําเนินการหลายประการ ยกเวนขอใด
    1. การจัดตั้งหอรัษฎากรพิพัฒน
    2. การจัดทํางบประมาณแผนดิน
    3. การกําหนดอัตราเงินเดือนประจําแกขาราชการ
    4. การจัดเก็บภาษีขาเขา – ขาออก ใหสอดคลองกับความจําเปนของประเทศ




                                                                                   19
              สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
4. สาเหตุใดทําใหการคาขาวของไทยเติบโตขึ้นอยางมากในสมัยรัชกาลที่ 4
     1. ชาวนาไดรับกรรมสิทธิ์ที่ดินทั่วประเทศ
     2. ไทยเปดประเทศใหมีการคาขายโดยเสรี
     3. มีการขยายพื้นที่การทํานาอยางมาก
     4. ไทยตองปฏิบัติตามสนธิสัญญากับตางประเทศ
5. เหตุการณใดที่ทําใหบางประเทศคืนสิทธิสภาพนอกอาณาเขตใหไทย
     1. รัชกาลที่ 5 เสด็จพระราชดําเนินเยือนนานาประเทศในยุโรป
     2. การเจรจาของสมเด็จฯ กรมพระยาเทววงศวโรปการ
     3. ไทยยอมเสียดินแดนบางสวนใหแกอังกฤษและฝรั่งเศส
     4. รัชกาลที่ 6 สงทหารเขารวมในสงครามโลกครั้งที่ 1
6. การปฏิรปทางเศรษฐกิจทีมผลตอการเสริมความมันคงใหแกสถาบันกษัตริยในตอนตนรัชกาลที่ 5
              ู                ่ ี              ่                        
    คือ ขอใด
     1. การเริ่มจัดทํางบประมาณแผนดิน             2. การยกเลิกระบบเจาภาษีนายอากร
     3. การจายเงินแกขาราชการ                   4. การจัดตั้งหอรัษฎากรพิพัฒน
7. ผลสําคัญที่สุดที่เกิดจากการทําสนธิสัญญาการคากับชาติตะวันตกในสมัยรัชกาลที่ 4 คือขอใด
     1. ไทยกลายเปนผูผลิตสินคาขั้นปฐมของตลาดโลก
     2. กรุงเทพฯ เปนที่ชุมนุมสินคาจากภายในและภายนอก
     3. ไทยเริ่มระบบเศรษฐกิจแบบใชเงินตราและการคาเสรี
     4. รัฐบาลเรงปฏิรูปการเงินการคลังของประเทศ
8. สาเหตุการเกิดภาวะขาดดุลการคาครั้งแรกของไทยใน พ.ศ. 2463 คืออะไร
     1. อุทกภัยและฝนแลงติดตอกันหลายป
     2. สินคาขาวไมเปนที่ตองการของตลาดโลก
     3. ตางชาติใชนโยบายตั้งกําแพงภาษีสินคา
     4. อังกฤษประกาศลดคาเงินปอนด
9. ความลมเหลวดานการคลังของไทยสมัยรัชกาลที่ 6 – รัชกาลที่ 7 ประกอบดวยสาเหตุตางๆ ยก
เวนขอใด
     1. รัฐบาลมุงลงทุนเฉพาะดานความมั่นคงของประเทศ
     2. รัฐบาลไมสามารถหาแหลงรายไดใหมมาเพิ่มเติม
     3. รัฐบาลใชจายเงินสูงกวารายรับ
     4. รัฐบาลไมไดจัดระบบการเก็บภาษีที่มีประสิทธิภาพ


                                                                                     20
               สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
10. ปญหาเศรษฐกิจการคลังที่เกิดขึ้นในรัชกาลที่ 7 เกิดจากสาเหตุสําคัญที่สุดในขอใด
      1. ขาราชการมีจานวนมากเกินไป
                         ํ
      2. ภาวะเศรษฐกิจตกตํ่าทั่วโลก
      3. รัฐบาลใชจายอยางฟุมเฟอย
      4. งบประมาณดานการปองกันประเทศสูงเกินไป
11. เพราะเหตุใดจอมพล ป. พิบูลสงคราม จึงใชนโยบายชาตินิยมทางเศรษฐกิจ
      1. เพื่อกําจัดคูแขงทางการเมืองใหพนจากผลประโยชนทางเศรษฐกิจ
      2. เพื่อเรงพัฒนาเศรษฐกิจใหทัดเทียมตะวันตกโดยจัดตั้งรัฐวิสาหกิจ
      3. เพื่อปองกันไมใหผลประโยชนทางเศรษฐกิจสวนใหญตกอยูในมือชาวตางชาติ
      4. เพื่อตอตานลัทธิคอมมิวนิสตซึ่งกําลังแพรหลายในหมูชาวจีนในประเทศไทย
12. เหตุผลขอใดที่ทําใหนักประวัติศาสตรพบวาประเทศไทยเสียเปรียบประเทศอังกฤษมากที่สุดใน
     การทําสนธิสัญญาบาวริง
      1. การเสียสิทธิสภาพนอกอาณาเขต
      2. การไมระบุระยะเวลาของสัญญา
      3. การนําโลหะมีคาและเงินตราเขาและออกนอกประเทศไดอยางเสรี
      4. การใหชาวตางชาติทําการคาไดโดยเสรีแบบเมืองทาชายทะเล
13. ระบบการคาเสรีซึ่งเกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 4 นั้น เปนการเปดศักราชใหมในทางการคาของไทย
     และยังกอใหเกิดผลดีตอไทยในเรื่องใด
          1. การลงทุนทางดานอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น
          2. ทําใหรัฐบาลไทยมีรายไดประจําเพิ่มขึ้น
          3. อังกฤษขัดขวางฝรั่งเศสมิใหทํารุนแรงกับไทย
          4. ทําใหเกิดตลาดแรงงานขึ้น
14. การปฏิรูปการคลังสมัยรัชกาลที่ 5 ในการจัดตั้งหอรัษฎากรพิพัฒน ใน พ.ศ. 2416 นั้น ไดสงผลที่
     สําคัญที่สุดคือขอใด
      1. ทําใหรายไดเพิ่มขึ้นจํานวนมากมาย
      2. ทําใหการจัดเก็บเงินภาษีอากรเปนระบบมากขึ้น
      3. ทําใหขุนนางสวนกลางควบคุมมิใหขุนนางทองถิ่นมีผลประโยชนทางเศรษฐกิจมากดังแต
          กอน
      4. พระมหากษัตริยสามารถควบคุมรายไดผลประโยชนของประเทศไดทั่วถึง




                                                                                           21
                สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
15. วิกฤติการณทางเศรษฐกิจของไทยสมัยรัชกาลที่ 7 มีสาเหตุที่สําคัญที่สุดมาจากอะไร
      1. การปฏิวัติ พ.ศ. 2475
      2. ภาวะเศรษฐกิจตกตํ่าทั่วโลก
      3. ผลผลิตทางการเกษตรเสียหายเพราะภัยธรรมชาติ
      4. เพราะความยุงยากทางการเมืองจนรัฐบาลไมมีเวลาพอที่จะแกปญหาเศรษฐกิจ
16. ผลกระทบจากสนธิสัญญาบาวริงที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสรางเศรษฐกิจของประเทศ
    ไทยมาจนถึงปจจุบันคืออะไร
      1. เกิดการปฏิรูปพระคลังสินคา             2. เกิดการขยายตัวของระบบเงินตรา
      3. เกิดระบบเจาภาษีและนายอากร             4. เกิดการปฏิรูประบบการประมูลภาษีอากร
17. นโยบายชาตินิยมทางเศรษฐกิจของจอมพล ป. พิบูลสงคราม กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในโครง
    สรางทางเศรษฐกิจของประเทศอยางไร
      1. สงเสริมการผลิตในรูปแบบสหกรณ
      2. รัฐเขาดําเนินการธุรกิจภายในประเทศเอง
      3. สนับสนุนใหคนไทยประกอบธุรกิจมากขึ้น
      4. เปดโอกาสใหเอกชนแขงขันกันลงทุนอยางเสรี
18. “สมุดปกเหลือง” ที่พิมพขึ้นภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 ไมนานเกี่ยวกับ
      เรื่องอะไร
      1. อุดมการณของคณะราษฎร                   2. แถลงการณโจมตีคณะราษฎร
      3. นโยบายทางการเมืองของรัฐบาล             4. เคาโครงการเศรษฐกิจ




                                                                                    22
              สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต

More Related Content

What's hot

ประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทย
ประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทยประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทย
ประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทยSukanda Panpetch
 
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Pracha Wongsrida
 
อาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยอาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยkrunrita
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 รJulPcc CR
 
รัตนโกสินทร์
รัตนโกสินทร์รัตนโกสินทร์
รัตนโกสินทร์Thaiway Thanathep
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ARM ARM
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นNattha Namm
 
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง247515การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475JulPcc CR
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Pracha Wongsrida
 
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
รุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขรุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขKwandjit Boonmak
 

What's hot (20)

ประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทย
ประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทยประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทย
ประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทย
 
กลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนากลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนา
 
ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
 
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
 
Coop
CoopCoop
Coop
 
อาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยอาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัย
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
 
รัตนโกสินทร์
รัตนโกสินทร์รัตนโกสินทร์
รัตนโกสินทร์
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
 
การเปลี่ยนแปลงสังคมไทย
การเปลี่ยนแปลงสังคมไทยการเปลี่ยนแปลงสังคมไทย
การเปลี่ยนแปลงสังคมไทย
 
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
การปกครอง 604
การปกครอง 604การปกครอง 604
การปกครอง 604
 
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง247515การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
 
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรีประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
 
การเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทยการเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทย
 
รุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขรุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุข
 

Viewers also liked

Hyves Cbw Mitex Harry Van Wouter
Hyves Cbw Mitex Harry Van WouterHyves Cbw Mitex Harry Van Wouter
Hyves Cbw Mitex Harry Van Wouterguest2f17d3
 
Acta%20 comision%20mixta%202011
Acta%20 comision%20mixta%202011Acta%20 comision%20mixta%202011
Acta%20 comision%20mixta%202011oscargaliza
 
תכירו את שולה הישנה והחדשה
תכירו את שולה הישנה והחדשהתכירו את שולה הישנה והחדשה
תכירו את שולה הישנה והחדשהhaimkarel
 
Panfleto carrefour meridiano 2012 ii
Panfleto carrefour meridiano 2012   iiPanfleto carrefour meridiano 2012   ii
Panfleto carrefour meridiano 2012 iioscargaliza
 
מודל שבע השכבות הבנה לעומק
מודל שבע השכבות הבנה לעומקמודל שבע השכבות הבנה לעומק
מודל שבע השכבות הבנה לעומקhaimkarel
 
My map assimetn
My map assimetnMy map assimetn
My map assimetncriszamu
 
Tools for Learning (51.-60.)
Tools for Learning (51.-60.)Tools for Learning (51.-60.)
Tools for Learning (51.-60.)nazzzy
 
TDR prezentacija - Press konferencija Beograd 19.03.13
TDR prezentacija - Press konferencija Beograd 19.03.13TDR prezentacija - Press konferencija Beograd 19.03.13
TDR prezentacija - Press konferencija Beograd 19.03.13TDR d.o.o Rovinj
 
Digital Drawing Workbook: Draw a Dragon Using Paint Editor
Digital Drawing Workbook: Draw a Dragon Using Paint EditorDigital Drawing Workbook: Draw a Dragon Using Paint Editor
Digital Drawing Workbook: Draw a Dragon Using Paint EditorDigital Animation for Kids, LLC
 
ירושלים העיר האוניברסיטאית בימי הממלוכים
ירושלים העיר האוניברסיטאית בימי הממלוכיםירושלים העיר האוניברסיטאית בימי הממלוכים
ירושלים העיר האוניברסיטאית בימי הממלוכיםhaimkarel
 
Predstavljanje poslovanja - press konferencija 15.06.12
Predstavljanje poslovanja - press konferencija 15.06.12Predstavljanje poslovanja - press konferencija 15.06.12
Predstavljanje poslovanja - press konferencija 15.06.12TDR d.o.o Rovinj
 
Sentencia elecciones carrefour ourense
Sentencia elecciones carrefour ourenseSentencia elecciones carrefour ourense
Sentencia elecciones carrefour ourenseoscargaliza
 

Viewers also liked (20)

Hyves Cbw Mitex Harry Van Wouter
Hyves Cbw Mitex Harry Van WouterHyves Cbw Mitex Harry Van Wouter
Hyves Cbw Mitex Harry Van Wouter
 
Acta%20 comision%20mixta%202011
Acta%20 comision%20mixta%202011Acta%20 comision%20mixta%202011
Acta%20 comision%20mixta%202011
 
תכירו את שולה הישנה והחדשה
תכירו את שולה הישנה והחדשהתכירו את שולה הישנה והחדשה
תכירו את שולה הישנה והחדשה
 
Panfleto carrefour meridiano 2012 ii
Panfleto carrefour meridiano 2012   iiPanfleto carrefour meridiano 2012   ii
Panfleto carrefour meridiano 2012 ii
 
מודל שבע השכבות הבנה לעומק
מודל שבע השכבות הבנה לעומקמודל שבע השכבות הבנה לעומק
מודל שבע השכבות הבנה לעומק
 
My map assimetn
My map assimetnMy map assimetn
My map assimetn
 
Tools for Learning (51.-60.)
Tools for Learning (51.-60.)Tools for Learning (51.-60.)
Tools for Learning (51.-60.)
 
TDR prezentacija - Press konferencija Beograd 19.03.13
TDR prezentacija - Press konferencija Beograd 19.03.13TDR prezentacija - Press konferencija Beograd 19.03.13
TDR prezentacija - Press konferencija Beograd 19.03.13
 
Evaluation
EvaluationEvaluation
Evaluation
 
Digital Drawing Workbook: Draw a Dragon Using Paint Editor
Digital Drawing Workbook: Draw a Dragon Using Paint EditorDigital Drawing Workbook: Draw a Dragon Using Paint Editor
Digital Drawing Workbook: Draw a Dragon Using Paint Editor
 
ירושלים העיר האוניברסיטאית בימי הממלוכים
ירושלים העיר האוניברסיטאית בימי הממלוכיםירושלים העיר האוניברסיטאית בימי הממלוכים
ירושלים העיר האוניברסיטאית בימי הממלוכים
 
Rock'n Roll in Database S
Rock'n Roll in Database SRock'n Roll in Database S
Rock'n Roll in Database S
 
Final photography
Final photographyFinal photography
Final photography
 
TEMA 3B SER and ESTAR
TEMA 3B SER and ESTARTEMA 3B SER and ESTAR
TEMA 3B SER and ESTAR
 
โครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคมโครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคม
 
Predstavljanje poslovanja - press konferencija 15.06.12
Predstavljanje poslovanja - press konferencija 15.06.12Predstavljanje poslovanja - press konferencija 15.06.12
Predstavljanje poslovanja - press konferencija 15.06.12
 
Ourense
OurenseOurense
Ourense
 
Sentencia elecciones carrefour ourense
Sentencia elecciones carrefour ourenseSentencia elecciones carrefour ourense
Sentencia elecciones carrefour ourense
 
Operation outbreak
Operation outbreakOperation outbreak
Operation outbreak
 
Upaya penyelamatan
Upaya penyelamatanUpaya penyelamatan
Upaya penyelamatan
 

Similar to การเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจไทย

กษัตริย์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์กับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์กับการพัฒนาชาติไทยกษัตริย์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์กับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์กับการพัฒนาชาติไทยคุณครูเกตุชัย ปิ่นทอง
 
เศรษฐศาสตร์บทที่ 2
เศรษฐศาสตร์บทที่ 2เศรษฐศาสตร์บทที่ 2
เศรษฐศาสตร์บทที่ 2songyangwtps
 
ข้อลอบสังคม ฟรีเอนทราน ม.ปลาย
ข้อลอบสังคม ฟรีเอนทราน ม.ปลายข้อลอบสังคม ฟรีเอนทราน ม.ปลาย
ข้อลอบสังคม ฟรีเอนทราน ม.ปลายคำหล้า สมวัน
 
อยุธยา
อยุธยาอยุธยา
อยุธยาja_zahao
 
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ยคร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ยปาล์มมี่ ไม่เล่นเกมส์
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
โลกาภิวัฒน์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
โลกาภิวัฒน์และภูมิปัญญาท้องถิ่นโลกาภิวัฒน์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
โลกาภิวัฒน์และภูมิปัญญาท้องถิ่นDr.Choen Krainara
 
สังคม 53
สังคม 53สังคม 53
สังคม 53suparada
 
ข้อสอบ O net วิชาสังคมศึกษา
ข้อสอบ O net วิชาสังคมศึกษาข้อสอบ O net วิชาสังคมศึกษา
ข้อสอบ O net วิชาสังคมศึกษาPerm Ton
 
03bb7948b0ecfc6376c61960fe8d8be3
03bb7948b0ecfc6376c61960fe8d8be303bb7948b0ecfc6376c61960fe8d8be3
03bb7948b0ecfc6376c61960fe8d8be3Noot Ting Tong
 
สังคมศึกษา
สังคมศึกษาสังคมศึกษา
สังคมศึกษาMintra Pudprom
 
ข้อสอบสังคมศึกษา ONET 52
ข้อสอบสังคมศึกษา  ONET  52ข้อสอบสังคมศึกษา  ONET  52
ข้อสอบสังคมศึกษา ONET 52Jinwara Sriwichai
 

Similar to การเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจไทย (20)

กษัตริย์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์กับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์กับการพัฒนาชาติไทยกษัตริย์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์กับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์กับการพัฒนาชาติไทย
 
เศรษฐศาสตร์บทที่ 2
เศรษฐศาสตร์บทที่ 2เศรษฐศาสตร์บทที่ 2
เศรษฐศาสตร์บทที่ 2
 
ข้อลอบสังคม ฟรีเอนทราน ม.ปลาย
ข้อลอบสังคม ฟรีเอนทราน ม.ปลายข้อลอบสังคม ฟรีเอนทราน ม.ปลาย
ข้อลอบสังคม ฟรีเอนทราน ม.ปลาย
 
ทดสอบเศรษฐศาสตร์
ทดสอบเศรษฐศาสตร์ทดสอบเศรษฐศาสตร์
ทดสอบเศรษฐศาสตร์
 
อยุธยา
อยุธยาอยุธยา
อยุธยา
 
G สังคมไทย social3
G สังคมไทย social3G สังคมไทย social3
G สังคมไทย social3
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
ข้อสอบโควตา ม
ข้อสอบโควตา มข้อสอบโควตา ม
ข้อสอบโควตา ม
 
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ยคร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
 
เบญจศีล
เบญจศีลเบญจศีล
เบญจศีล
 
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
 
โลกาภิวัฒน์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
โลกาภิวัฒน์และภูมิปัญญาท้องถิ่นโลกาภิวัฒน์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
โลกาภิวัฒน์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
 
สังคม 53
สังคม 53สังคม 53
สังคม 53
 
ข้อสอบ O net วิชาสังคมศึกษา
ข้อสอบ O net วิชาสังคมศึกษาข้อสอบ O net วิชาสังคมศึกษา
ข้อสอบ O net วิชาสังคมศึกษา
 
03bb7948b0ecfc6376c61960fe8d8be3
03bb7948b0ecfc6376c61960fe8d8be303bb7948b0ecfc6376c61960fe8d8be3
03bb7948b0ecfc6376c61960fe8d8be3
 
สังคมศึกษา
สังคมศึกษาสังคมศึกษา
สังคมศึกษา
 
03bb7948b0ecfc6376c61960fe8d8be3
03bb7948b0ecfc6376c61960fe8d8be303bb7948b0ecfc6376c61960fe8d8be3
03bb7948b0ecfc6376c61960fe8d8be3
 
ข้อสอบสังคมศึกษา ONET 52
ข้อสอบสังคมศึกษา  ONET  52ข้อสอบสังคมศึกษา  ONET  52
ข้อสอบสังคมศึกษา ONET 52
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคม
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand

พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand (20)

กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินกำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน
 
รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social mediaรายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงานแบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
 
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็มผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
 
O net ม.3
O net ม.3O net ม.3
O net ม.3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
1
11
1
 
การแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาคการแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาค
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ
 

การเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจไทย

  • 1. การเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจไทย อ.อุษณีย ยุชยะทัต โรงเรียนชิโนรสวิทยาลัย ลักษณะเศรษฐกิจของไทยตั้งแตสมัยสุโขทัยถึงรัตนโกสินทรตอนตน มีลักษณะ 1. เปนเศรษฐกิจแบบเลี้ยงตัวเอง 2. เปนระบบผูกขาดโดยพระคลังสินคา 3. ขึ้นอยูกับการเกษตรกรรมเปนสวนใหญ เศรษฐกิจแบบเลียงตัวเองคือผลิตขึนกินใชในทองถิน ไมมการซือวัตถุดบมาผลิตสินคาแลวสง ้ ้ ่ ี ้ ิ ไปขาย เศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อาชีพหลักของคนสมัยสุโขทัย ไดแก เกษตรกรรม หัตถกรรม การคาขาย การทําการเกษตร กรรม รูจักการชลประทาน การหัตถกรรมทําเครื่องปนดินเผาที่เรียกวา สังคโลก มีลักษณะเปนการ คาเสรี ไมมีการผูกขาด มีการคากับจีน การคาภายในประเทศเปนระบบแลกเปลี่ยนสินคาโดยตรง มี เงินตราใชแลว แตไมแพรหลาย เศรษฐกิจสมัยอยุธยา พื้นฐานเศรษฐกิจขึ้นอยูกับการเกษตร และการคาทั้งภายในและการคาภายนอกกับตาง ประเทศ เปนการคาแบบผูกขาด โดยพระคลังสินคา พระคลังสินคา คือหนวยงานของรัฐบาลที่ทําหนาที่ผูกขาดการคา ทั้งในประเทศ และตาง ประเทศ ตั้งขึ้นสมัยพระเจาปราสาททอง ยกเลิกสมัยรัชกาลที่ 4 เพราะผลของสัญญาบาวริง รายไดหลักของอยุธยา มาจากพระคลังสินคาและภาษีอากร ภาษีอากร 4 ชนิด คือ 1. จังกอบ หมายถึง ภาษีที่เก็บชักสวนจากสินคาที่บรรทุกยานพาหนะมาขาย มักเก็บสิบ หยิบหนึ่ง คือสินคาสิบสวน เก็บภาษีหนึ่งสวน 2. อากร หมายถึง ภาษีที่เก็บชักสวนจากผลผลิตที่ราษฎรทําได เชน อากรคานา อากร ตลาด 3. สวย คือ เงินหรือสิ่งของที่ราษฎรสงมาแทนการเขาเวรรับราชการ 13 สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
  • 2. 4. ฤชา คือ คาธรรมเนียมที่เก็บจากการที่รัฐใหบริการกับประชาชน รวมทั้งเงินคาปรับ ตางๆ เศรษฐกิจสมัยธนบุรี โครงสรางทางเศรษฐกิจเหมือนสมัยอยุธยา แตเนื่องจากภัยสงคราม ทําใหเศรษฐกิจทรุด โทรม พระเจากรุงธนบุรีทรงแกไขโดยสละราชทรัพยสวนพระองคซื้อเครื่องอุปโภค บริโภค แจก จายราษฎร และใหขุนนางเกณฑไพรทํานาปละ 2 ครั้ง เพื่อเพิ่มผลผลิตขาว เศรษฐกิจสมัยรัตนโกสินทรตอนตน - รายไดมาจาก ภาษีอากร เงินผูกป ระบบเจาภาษีนายอากร - มีการทําสัญญากับอังกฤษ ฉบับแรกคือสัญญาเบอรนี่ พ.ศ.2369 ในสมัยรัชกาลที่ 3 - ภาษีอากรเก็บเหมือนอยุธยา มีการเก็บภาษีอากรเพิ่มขึ้น และเก็บเปนเงินแทนสิ่งของ สมัย รัชกาลที่ 3 มีการเก็บภาษีอากรเพิ่ม 38 ชนิด เงินผูกปขอมือจีน คือ เงินที่เก็บจากชาวจีนแทนการเกณฑแรงงาน เปนรายป เริ่มเก็บสมัย รัชกาลที่ 2 ยกเลิกสมัยรัชกาลที่ 5 ระบบเจาภาษีนายอากร หมายถึง ระบบเศรษฐกิจที่ใหเอกชนประมูลรับเหมาการทํากิจการ ตางๆ ไปจากรัฐแลวเสียภาษีใหรัฐบาลเปนป สวนใหญผูกขาดโดยชาวจีน ตั้งขึ้นสมัยรัชกาลที่ 3 ยก เลิกสมัยรัชกาลที่ 5 มีทั้งขอดีและขอเสีย ขอดี คือ รัฐมีรายไดเพิ่มมากขึ้นและแนนอน ขอเสีย คือ ประชาชนซื้อของแพง ขอทดสอบ 1. ขอใดมิใชผลที่เกิดจากการมีระบบเจาภาษีนายอากร 1. ชนชั้นสูงของไทยเปนนายทุนรุนแรกอยางมีประสิทธิภาพ 2. ชาวจีนมีโอกาสเปนนายทุนรุนแรกในสังคมไทย 3. รัฐบาลลดภาระการจัดเก็บภาษี 4. รัฐบาลควบคุมการจัดเก็บภาษีไดไมทั่วถึง 14 สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
  • 3. 2. ขอใดไมใชบทบาทของชาวจีนตอพัฒนาการทางเศรษฐกิจของไทยในสมัยรัตนโกสินทรตอนตน 1. การผลิตสินคาเกษตรกรรมประเภทใหม เชน นํ้าตาลทราย 2. การเขาประมูลเปนเจาภาษีนายอากร 3. การเปนพอคาคนกลางกระจายอยูทั่วประเทศ 4. การตั้งชุมชนคาขายเฉพาะบริเวณเมืองทาชายฝง 3. วัตถุประสงคสําคัญที่สุดของการจัดใหมีระบบเจาภาษีอากรในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่ง เกลาเจาอยูหัว คือขอใด 1. เพื่อใหมรายไดเพิ่มมากขึ้น ี 2. เพื่อแทนที่ภาษีประเภทจังกอบ 3. เพื่อเก็บภาษีในรูปเงินตราแทนสิ่งของ 4. เพื่อเอกชนมาเก็บภาษีแทนเจาหนาที่ 4. ขอใดเปนลักษณะเดนของระบบพระคลังสินคา 1. การเปดโอกาสใหเอกชนเขามาประมูลภาษี 2. ราษฎรกับพอคาไมสามารถติดตอคาขายกันไดโดยตรง 3. การผูกขาดทางเศรษฐกิจโดยรัฐ 4. การยินยอมใหไพรนําผลผลิตสวนเกินที่รัฐไมตองการออกขายได 5. ขอใดเปนลักษณะเดนของระบบเจาภาษีนายอากร 1. การเปดโอกาสใหเอกชนประมูลจัดเก็บภาษี 2. การผูกขาดการจัดเก็บภาษีโดยรัฐ 3. การจัดเก็บภาษีจากการชักสวนผลผลิตที่ราษฎรทําได 4. การจัดเก็บภาษีเปนเงินแทนสิ่งของ 6. การผูกขาดการคาของพระคลังสินคาหมดสิ้นไปเพราะเหตุใด 1. ผลของสัญญาบาวริง 2. ผลของการเปดประเทศกับตะวันตก 3. ทําการคาขาดทุนเกินกวาที่จะดําเนินงานตอไป 4. การขยายตัวของเงินตราแพรหลายขึ้น 7. เงินผูกปขอมือจีน ในสมัยรัตนโกสินทรตอนตนมีการจัดเก็บแบบใด 1. เงินคาธรรมเนียมที่เก็บจากชาวจีนเปนรายป 2. เงินคาธรรมเนียมที่เก็บจากไพรสวยเปนรายป 3. เงินคาธรรมเนียมที่เก็บจากเจาภาษีนายอากร 4. เงินคาธรรมเนียมที่เก็บจากการจําหนายสินคาตองหาม 15 สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
  • 4. 8. ลักษณะการคาในสมัยสุโขทัยเปนอยางไร 1. เปนการคาเสรี 2. เปนการคาแบบผูกขาด 3. ไมมีการคากับตางประเทศ 4. เปนการแลกเปลี่ยนสินคากันโดยตรง ยังไมมีการใชเงินตรา 9. รายไดหลักของไทยตั้งแตสมัยอยุธยาจนถึงรัตนโกสินทรตอนตนไดมากจากแหลงใด 1. การคาตางประเทศ 2. การเก็บสวย 3. การผูกขาดโดยพระคลังสินคา 4. การเกณฑแรงงานจากไพร 10. สินคาสําคัญในการคาระหวางไทยกับชาติตะวันตกในสมัยอยุธยาคืออะไร 1. ของปาไทยและสินคาญี่ปุน 2. ของปาไทยและสินคาจีน 3. ขาวไทยและสินคาจีน 4. ขาวไทยและสินคาญี่ปุน 11. ขอความในขอใดที่ไมถูกตองเกี่ยวกับการผลิตในชุมชนไทยสมัยกอน 1. ผลิตเพื่อการคา 2. ผลิตเพื่อใชอุปโภคบริโภค 3. ผลิตเพื่อเสียภาษีและสวย 4. ผลิตเพื่อนําไปแลกเปลี่ยนสินคาอื่น 12. ขอใดไมใชหนาที่ของพระคลังสินคา 1. เปนผูผูกขาดการคากับตางประเทศ 2. เปนผูทําหนาที่ติดตอกับตางประเทศ 3. เปนผูสงเรือไปคาขายกับตางประเทศ 4. เปนผูกําหนดราคาสินคาจากตางประเทศ 13. ความรุงเรืองทางเศรษฐกิจของกรุงศรีอยุธยาเกิดขึ้นจากเหตุผลขอใด 1. สงเสริมการเพาะปลูกขาว 2. การคาขายระหวางไทย - จีน 3. กษัตริยสงเสริมการคาภายใน 4. กรุงศรีอยุธยาเปนเมืองทาที่มีความเหมาะสม 14. เศรษฐกิจสุโขทัยและอยุธยาแตกตางกันอยางไร 1. สุโขทัยมีการคาอยางเสรี อยุธยามีการผูกขาดการคา 2. สุโขทัยทําการคากับจีนมากที่สุด อยุธยาทําการคากับอินเดียมากที่สุด 3. สุโขทัยไมมการเก็บภาษีอากรใดๆ อยุธยามีการเก็บภาษีอากรหลายประเภท ี 4. สุโขทัยมีการผลิตแบบพอยังชีพเปนหลัก อยุธยามีการผลิตเพื่อสงออกเปนหลัก 15. ขอความใดที่แสดงใหเห็นลักษณะทางเศรษฐกิจที่เดนในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว 1. การคาขายกับประเทศจีน 2. การคาขายกับประเทศตะวันตก 3. การผูกขาดการคาโดยพระคลังสินคา 4. การประมูลผูกขาดการเก็บภาษีอากร 16 สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
  • 5. การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจภายหลังสัญญาบาวริง สมัยรัชกาลที่ 4 ไทยทําสัญญาบาวริงกับอังกฤษ ซึ่งมีสาระสําคัญ ดังนี้ 1. ไทยตองยกเลิกภาษีเบิกรอง หรือคาปากเรือเก็บเปนภาษีขาเขารอยละ 3 2. ไทยตองยกเลิกการผูกขาดการคา โดยพระคลังสินคา 3. คนอังกฤษ และคนในบังคับของอังกฤษถาทําผิดขึ้นศาลกงศุลของประเทศตน 4. อนุญาตใหสงขาวเปนสินคาออกได ยกเวนปใดทํานาไมไดผลหามสง ขอดีของสัญญาบาวริง 1. จากการเปดประเทศทําใหไทยพัฒนาขึ้นในทุกๆ ดาน 2. ไทยไมตองเปนอาณานิคมของมหาอํานาจตะวันตก ขอเสียของสัญญาบาวริง 1. ไทยเสียสิทธิสภาพนอกอาณาเขต 2. ไทยตองยกเลิกพระคลังสินคา ซึ่งทํารายไดใหมาก 3. สัญญาไมไดกําหนดระยะเวลา การเปลี่ยนแปลงและการขยายตัวทางเศรษฐกิจหลังสัญญาบาวริง 1. การเปลี่ยนแปลงระบบการคา จากการคาผูกขาด มาเปนการคาเสรี 2. การเปลี่ยนแปลงระบบการผลิต จากการผลิตเพื่อเลี้ยงตัวเอง มาเปนการผลิตเพื่อการคา 3. การเปลี่ยนแปลงระบบเงินตรา สมัยรัชกาลที่ 4 มีการเปลี่ยนแปลงระบบเงินตราใหม โดยตั้งโรงกษาปณเพื่อผลิตเหรียญขึ้นใช สมัยรัชกาลที่ 5 มีการปฏิรูปเงินตราขึ้นใหม กําหนดเปน บาทกับสตางค และพิมพธนบัตรขึ้นใชเปนครั้งแรก 4. การเปลี่ยนแปลงดานภาษีอากรในสมัยรัชกาลที่ 5 1) ยกเลิกระบบเจาภาษีนายอากร 2) จัดตั้งหอรัษฎากรพิพัฒน ทําหนาที่ดูแลเกี่ยวกับภาษีอากรและรายไดของแผนดิน 3) ตั้งกรมสรรพภาษีและกรมสรรพากรขึ้นตอกระทรวงการคลัง 4) มีการจัดทํางบประมาณแผนดินขึ้นเปนครั้งแรก เพื่อวางระเบียบการใชจายเงิน ของประเทศใหถูกตอง 5) มีการจัดตั้งธนาคารพาณิชยแหงแรก คือธนาคารไทยพาณิชย (บุคคลัภย) 17 สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
  • 6. เศรษฐกิจสมัยรัชกาลที่ 6 มีการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ ดังนี้ 1. ตั้งธนาคารออมสิน 2. จัดตั้งสหกรณแหงแรกของไทย คือ สหกรณวัดจันทรไมจํากัดสินใช ตั้งอยูที่อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 3. ตั้งกระทรวงพาณิชย 4. การแกไขสัญญาบาวริง ความเสื่อมโทรมทางเศรษฐกิจสมัยรัชกาลที่ 6 มีสาเหตุมาจาก 1. เงินคงคลังเหลือนอยตองนําเงินมาพัฒนาประเทศตอจากรัชกาลที่ 5 2. เกิดอุกทกภัยครั้งใหญ พ.ศ. 2460 3. การใชจายเงินฟุมเฟอยของรัชกาลที่ 6 4. ดีบุกราคาตกตํ่า รัฐบาลตองนําเงินไปชวยเหลือเจาของเหมือง รัชกาลที่ 6 ทรงแกไขปญหาเศรษฐกิจโดย - กูเงินจากธนาคารภายในประเทศ - สละราชทรัพยสวนพระองคชวยเหลือ เศรษฐกิจสมัยรัชกาลที่ 7 วิกฤตการณทางเศรษฐกิจสมัยรัชกาลที่ 7 มีสาเหตุมาจาก 1. การแกปญหาดานเกษตรจากรัชกาลที่ 6 ไมไดผล 2. เศรษฐกิจตกตํ่าทั่วโลกจากสงครามโลกครั้งที่ 1 ทรงแกไขโดย - ยุบหนวยงาน ปลดขาราชการ - ตัดทอนรายจายสวนพระองค - กูเงินจากธนาคารตางประเทศ ผลจากปญหาเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 7 ทําใหเกิด การปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 ภายหลังการปฏิวัติ คณะราษฎรไดมอบหมายใหหลวงประดิษฐมนูธรรม (นายปรีดี พนม ยงค) เปนผูรางเคาโครงเศรษฐกิจแหงชาติเรียกวา สมุดปกเหลือง แตไมไดนํามาใชเนื่องจากมี ลักษณะเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม 18 สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
  • 7. ในสมัยจอมพล ป. พิบลสงคราม เปนนายกรัฐมนตรี มีการประกาศใชนโยบายชาตินยมทาง ู ิ เศรษฐกิจ - โอนกิจการที่ชาวตางชาติทํามาใหคนไทยทํา - สงวนอาชีพสําหรับคนไทย - ตั้งรัฐวิสาหกิจ สมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต เปนนายกรัฐมนตรี มีการประกาศใชแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติฉบับแรก พ.ศ. 2504 ขอทดสอบ 1. ภายหลังที่ไทยตกลงทําสนธิสัญญาบาวริงกับอังกฤษใน พ.ศ. 2398 และกับประเทศตางๆ ในยุ โรปอีกหลายประเทศในเวลาตอมา กอใหเกิดผลกระทบตอโครงสรางเศรษฐกิจไทยอยางไร 1. คนไทยเริ่มดําเนินชีวิตในลักษณะใชจายฟุมเฟอยมากขึ้น 2. ระบบผูกขาดของพระคลังสินคาตกอยูในกํามือของชาวตะวันตก 3. ระบบการผลิตทางการเกษตรไดเปลี่ยนเปนระบบการผลิตทางอุตสาหกรรมอยางรวดเร็ว 4. ระบบการผลิตแบบพึ่งตนเองเริ่มเสื่อมลง โดยระบบการผลิตเพื่อการสงออกเริ่มขยายตัวมาก ขึ้น 2. สนธิสัญญาบาวริงมีผลตอการเปลี่ยนแปลงดานเกษตรกรรมของไทยหลายประการยกเวนขอใด 1. มีชาวจีนอพยพมารับจางทํางานในไรสวนทั่วประเทศ 2. เกิดธุรกิจโรงสีขาวขยายตัวทั้งในกรุงเทพฯ และปริมณฑล 3. เกิดระบบการถือกรรมสิทธิที่ดินสวนบุคคล 4. มีการขยายพื้นที่ปลูกขาวบริเวณลุมนํ้าเจาพระยาตอนลาง 3. การปฏิรูปการคลังของไทยในสมัยรัชกาลที่ 5 มีการดําเนินการหลายประการ ยกเวนขอใด 1. การจัดตั้งหอรัษฎากรพิพัฒน 2. การจัดทํางบประมาณแผนดิน 3. การกําหนดอัตราเงินเดือนประจําแกขาราชการ 4. การจัดเก็บภาษีขาเขา – ขาออก ใหสอดคลองกับความจําเปนของประเทศ 19 สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
  • 8. 4. สาเหตุใดทําใหการคาขาวของไทยเติบโตขึ้นอยางมากในสมัยรัชกาลที่ 4 1. ชาวนาไดรับกรรมสิทธิ์ที่ดินทั่วประเทศ 2. ไทยเปดประเทศใหมีการคาขายโดยเสรี 3. มีการขยายพื้นที่การทํานาอยางมาก 4. ไทยตองปฏิบัติตามสนธิสัญญากับตางประเทศ 5. เหตุการณใดที่ทําใหบางประเทศคืนสิทธิสภาพนอกอาณาเขตใหไทย 1. รัชกาลที่ 5 เสด็จพระราชดําเนินเยือนนานาประเทศในยุโรป 2. การเจรจาของสมเด็จฯ กรมพระยาเทววงศวโรปการ 3. ไทยยอมเสียดินแดนบางสวนใหแกอังกฤษและฝรั่งเศส 4. รัชกาลที่ 6 สงทหารเขารวมในสงครามโลกครั้งที่ 1 6. การปฏิรปทางเศรษฐกิจทีมผลตอการเสริมความมันคงใหแกสถาบันกษัตริยในตอนตนรัชกาลที่ 5 ู ่ ี ่  คือ ขอใด 1. การเริ่มจัดทํางบประมาณแผนดิน 2. การยกเลิกระบบเจาภาษีนายอากร 3. การจายเงินแกขาราชการ 4. การจัดตั้งหอรัษฎากรพิพัฒน 7. ผลสําคัญที่สุดที่เกิดจากการทําสนธิสัญญาการคากับชาติตะวันตกในสมัยรัชกาลที่ 4 คือขอใด 1. ไทยกลายเปนผูผลิตสินคาขั้นปฐมของตลาดโลก 2. กรุงเทพฯ เปนที่ชุมนุมสินคาจากภายในและภายนอก 3. ไทยเริ่มระบบเศรษฐกิจแบบใชเงินตราและการคาเสรี 4. รัฐบาลเรงปฏิรูปการเงินการคลังของประเทศ 8. สาเหตุการเกิดภาวะขาดดุลการคาครั้งแรกของไทยใน พ.ศ. 2463 คืออะไร 1. อุทกภัยและฝนแลงติดตอกันหลายป 2. สินคาขาวไมเปนที่ตองการของตลาดโลก 3. ตางชาติใชนโยบายตั้งกําแพงภาษีสินคา 4. อังกฤษประกาศลดคาเงินปอนด 9. ความลมเหลวดานการคลังของไทยสมัยรัชกาลที่ 6 – รัชกาลที่ 7 ประกอบดวยสาเหตุตางๆ ยก เวนขอใด 1. รัฐบาลมุงลงทุนเฉพาะดานความมั่นคงของประเทศ 2. รัฐบาลไมสามารถหาแหลงรายไดใหมมาเพิ่มเติม 3. รัฐบาลใชจายเงินสูงกวารายรับ 4. รัฐบาลไมไดจัดระบบการเก็บภาษีที่มีประสิทธิภาพ 20 สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
  • 9. 10. ปญหาเศรษฐกิจการคลังที่เกิดขึ้นในรัชกาลที่ 7 เกิดจากสาเหตุสําคัญที่สุดในขอใด 1. ขาราชการมีจานวนมากเกินไป ํ 2. ภาวะเศรษฐกิจตกตํ่าทั่วโลก 3. รัฐบาลใชจายอยางฟุมเฟอย 4. งบประมาณดานการปองกันประเทศสูงเกินไป 11. เพราะเหตุใดจอมพล ป. พิบูลสงคราม จึงใชนโยบายชาตินิยมทางเศรษฐกิจ 1. เพื่อกําจัดคูแขงทางการเมืองใหพนจากผลประโยชนทางเศรษฐกิจ 2. เพื่อเรงพัฒนาเศรษฐกิจใหทัดเทียมตะวันตกโดยจัดตั้งรัฐวิสาหกิจ 3. เพื่อปองกันไมใหผลประโยชนทางเศรษฐกิจสวนใหญตกอยูในมือชาวตางชาติ 4. เพื่อตอตานลัทธิคอมมิวนิสตซึ่งกําลังแพรหลายในหมูชาวจีนในประเทศไทย 12. เหตุผลขอใดที่ทําใหนักประวัติศาสตรพบวาประเทศไทยเสียเปรียบประเทศอังกฤษมากที่สุดใน การทําสนธิสัญญาบาวริง 1. การเสียสิทธิสภาพนอกอาณาเขต 2. การไมระบุระยะเวลาของสัญญา 3. การนําโลหะมีคาและเงินตราเขาและออกนอกประเทศไดอยางเสรี 4. การใหชาวตางชาติทําการคาไดโดยเสรีแบบเมืองทาชายทะเล 13. ระบบการคาเสรีซึ่งเกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 4 นั้น เปนการเปดศักราชใหมในทางการคาของไทย และยังกอใหเกิดผลดีตอไทยในเรื่องใด 1. การลงทุนทางดานอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น 2. ทําใหรัฐบาลไทยมีรายไดประจําเพิ่มขึ้น 3. อังกฤษขัดขวางฝรั่งเศสมิใหทํารุนแรงกับไทย 4. ทําใหเกิดตลาดแรงงานขึ้น 14. การปฏิรูปการคลังสมัยรัชกาลที่ 5 ในการจัดตั้งหอรัษฎากรพิพัฒน ใน พ.ศ. 2416 นั้น ไดสงผลที่ สําคัญที่สุดคือขอใด 1. ทําใหรายไดเพิ่มขึ้นจํานวนมากมาย 2. ทําใหการจัดเก็บเงินภาษีอากรเปนระบบมากขึ้น 3. ทําใหขุนนางสวนกลางควบคุมมิใหขุนนางทองถิ่นมีผลประโยชนทางเศรษฐกิจมากดังแต กอน 4. พระมหากษัตริยสามารถควบคุมรายไดผลประโยชนของประเทศไดทั่วถึง 21 สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
  • 10. 15. วิกฤติการณทางเศรษฐกิจของไทยสมัยรัชกาลที่ 7 มีสาเหตุที่สําคัญที่สุดมาจากอะไร 1. การปฏิวัติ พ.ศ. 2475 2. ภาวะเศรษฐกิจตกตํ่าทั่วโลก 3. ผลผลิตทางการเกษตรเสียหายเพราะภัยธรรมชาติ 4. เพราะความยุงยากทางการเมืองจนรัฐบาลไมมีเวลาพอที่จะแกปญหาเศรษฐกิจ 16. ผลกระทบจากสนธิสัญญาบาวริงที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสรางเศรษฐกิจของประเทศ ไทยมาจนถึงปจจุบันคืออะไร 1. เกิดการปฏิรูปพระคลังสินคา 2. เกิดการขยายตัวของระบบเงินตรา 3. เกิดระบบเจาภาษีและนายอากร 4. เกิดการปฏิรูประบบการประมูลภาษีอากร 17. นโยบายชาตินิยมทางเศรษฐกิจของจอมพล ป. พิบูลสงคราม กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในโครง สรางทางเศรษฐกิจของประเทศอยางไร 1. สงเสริมการผลิตในรูปแบบสหกรณ 2. รัฐเขาดําเนินการธุรกิจภายในประเทศเอง 3. สนับสนุนใหคนไทยประกอบธุรกิจมากขึ้น 4. เปดโอกาสใหเอกชนแขงขันกันลงทุนอยางเสรี 18. “สมุดปกเหลือง” ที่พิมพขึ้นภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 ไมนานเกี่ยวกับ เรื่องอะไร 1. อุดมการณของคณะราษฎร 2. แถลงการณโจมตีคณะราษฎร 3. นโยบายทางการเมืองของรัฐบาล 4. เคาโครงการเศรษฐกิจ 22 สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต