SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
การจัดการซัพพลายเชน
Supply Chain Management
Your site here
LOGO
การจัดการซัพพลายเชน
การบูรณาการ การประสานงาน และการควบคุม
กิจกรรมต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการจัดหาวัตถุดิบ
กระบวนการผลิต การส่งมอบ การแลกเปลี่ยนข้อมูล
ข่าวสาร เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้า และ
ทาให้ลูกค้าเกิดความพึงพอใจสูงสุด ภายใต้ต้นทุนที่
เหมาะสม
Your site here
LOGO ความสัมพันธ์ของซัพพลายเชน
ConsumerDistributorManufacturerSupplier
Information
Money
Your site here
LOGO
องค์ประกอบของซัพพลายเชน
1. ผู้ขายวัตถุดิบ (Suppliers)
2. หน้าที่หลักในบริษัท (Internal Function)
3. ผู้กระจายสินค้า (Distributors)
Your site here
LOGO
การขนส่งสินค้าในระบบซัพพลายเชน
Your site here
LOGO
การประสานงานในซัพพลายเชน
Your site here
LOGO
การประสานงานในซัพพลายเชน
ระดับที่ 1
ผู้จัดหา ผู้ผลิต และลูกค้า มีความเป็นอิสระจากกัน
จึงประสบปัญหาสินค้าคงคลังมีเป็นจานวนมาก
การขนส่งและบริการไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร
Your site here
LOGO
การประสานงานในซัพพลายเชน
ระดับที่ 2
บริษัทมุ่งเน้นการประสานงานภายใน มีแผนกที่ทาหน้าที่
จัดการวัตถุดิบ รวบรวมข้อมูล และระบบควบคุมสินค้า
คงคลัง ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ผลิตกับผู้จัดหาและ
ลูกค้ายังคงเป็นอิสระจากกัน
Your site here
LOGO
การประสานงานในซัพพลายเชน
ระดับที่ 3
มีการขยายการประสานงานไปสู่ผู้จัดหาและลูกค้า
มุ่งเน้นที่การตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้า
ร่วมมือกับลูกค้าเพื่อปรับปรุงสินค้าและบริการ และ
ร่วมมือกับผู้จัดหาเพื่อทราบกาลังการผลิต ในระดับนี้
นับว่าเป็นการประสานงานทั้งภายในและภายนอก
Your site here
LOGO
การบริหารการติดต่อสื่อสารกับลูกค้า
1. กระบวนการสั่งซื้อสินค้า
การรับคาสั่งซื้อจากลูกค้าและทาการผลิตตามที่ลูกค้า
กาหนด ทาให้บริษัททราบความต้องการ โดยการนา
อินเตอร์เน็ตมาใช้ ซึ่งช่วยให้
 ลดค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อ
 เพิ่มความรวดเร็วในการชาระเงิน
 การทาการค้าในระดับโลก
 สร้างความยืดหยุ่นด้านราคา
Your site here
LOGO
การบริหารการติดต่อสื่อสารกับลูกค้า
2. กระบวนการส่งมอบสินค้า
เกี่ยวข้องกับการขนส่งสินค้า ช่วยสร้างความได้เปรียบ
ทางการแข่งขันในด้านต้นทุน คุณภาพ เวลา และความ
ยืดหยุ่น กิจกรรมในกระบวนการส่งมอบสินค้า ได้แก่
 การแลกเปลี่ยนข้อมูล (Information Sharing)
 สถานที่เก็บสินค้าคงคลัง (Inventory Placement)
 การเลื่อนเวลาการส่งมอบ (Postponement)
Your site here
LOGO
การบริหารการติดต่อสื่อสารกับผู้จัดหา
การจัดซื้อทางอิเล็กทรอนิคส์ (E-Purchasing)
 การแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิคส์ (EDI)
เทคโนโลยีที่สามารถส่งเอกสารทางธุรกิจผ่านคอมพิวเตอร์
ถึงแม้ว่าจะมีฮาร์ดแวร์หรือซอฟแวร์ที่แตกต่างกัน ทาให้ธุรกิจ
ประหยัดค่าใช้จ่ายด้านเอกสาร มีความถูกต้องแม่นยามากขึ้น
 แหล่งรวมแคทตาล็อก (Catalog Hub)
ช่วยลดค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อ ผู้ซื้อสามารถเลือกสินค้าบน
อินเตอร์เน็ตโดยกาหนดราคาและปริมาณของสินค้าได้
Your site here
LOGO
การบริหารการติดต่อสื่อสารกับผู้จัดหา
การจัดซื้อทางอิเล็กทรอนิคส์ (E-Purchasing)
 ตลาด (Exchange)
ตลาดอิเล็กทรอนิคส์ (E-Commerce) สามารถเปรียบเทียบ
สินค้า ราคา จากผู้จัดหาจานวนมาก
 การประมูล (Auction)
เวปที่มีการแข่งขันเพื่อซื้อสินค้า
Your site here
LOGO
การเลือกและตรวจสอบผู้จัดหา
1. การเลือกผู้จัดหา (Supplier Selection)
คุณสมบัติสาคัญในการเลือกผู้จัดหารายใหม่
• ราคา
• คุณภาพ
• การส่งมอบสินค้า
• สิ่งแวดล้อม
Your site here
LOGO
การเลือกและตรวจสอบผู้จัดหา
2. การตรวจสอบผู้จัดหา (Supplier Certification)
การตรวจสอบศักยภาพของผู้จัดหา
2.1 ความสัมพันธ์กับผู้จัดหา
- ความสัมพันธ์เชิงแข่งขัน การเจรจาระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย
ในลักษณะฝ่ายหนึ่งได้อีกฝ่ายหนึ่งเสีย
- ความสัมพันธ์เชิงร่วมมือ ผู้ซื้อและผู้ขายให้ความร่วมมือกัน
ช่วยเหลือแต่ละฝ่ายมากที่สุด มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลของ
สินค้า
Your site here
LOGO
การจัดหาจากภายนอก (Outsourcing)
การตัดสินใจจ้างบริษัทอื่นทากิจกรรมบางอย่างให้กับ
องค์การ โดยต้องรักษากิจกรรมที่เป็นความสามารถ
หลักขององค์การ ซึ่งต้องพิจารณาถึง
 อานาจควบคุมบริษัทที่จัดจ้าง ขึ้นอยู่กับการทาสัญญา
 ความยืดหยุ่นต่อการเปลี่ยนแปลงซัพพลายเชน
บริษัทสามารถเปลี่ยนแปลงสัญญาได้บ่อย มีความยืดหยุ่นมาก
เมื่อทาสัญญาระยะสั้น
Your site here
LOGO
ตัวแปรที่มีผลกระทบต่อการจัดการซัพพลายเชน
1. ความคาดหวังของผู้บริโภคและการแข่งขัน
2. โลกาภิวัติ
3. เทคโนโลยีสารสนเทศ
4. กฎหมายและกฎระเบียบทางราชการ
5. สิ่งแวดล้อม
6. การกระจายตัวของสมาชิกในซัพพลายเชน
7. ความแม่นยาในการพยากรณ์
8. อัตราแลกเปลี่ยน
9. โครงสร้างพื้นฐาน
10. ความแตกต่างในคุณลักษณะบางอย่างของผลิตภัณฑ์

More Related Content

What's hot

บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อบทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อTeetut Tresirichod
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกsupatra39
 
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อบทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อTeetut Tresirichod
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน Ornkapat Bualom
 
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
โครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาดโครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาดtumetr1
 
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังบทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 5 การจัดองค์กรจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 5 การจัดองค์กรจัดซื้อจัดจ้างบทที่ 5 การจัดองค์กรจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 5 การจัดองค์กรจัดซื้อจัดจ้างTeetut Tresirichod
 
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทานบทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทานDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์tra thailand
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงินMacro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงินOrnkapat Bualom
 
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการบทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้างบทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้างTeetut Tresirichod
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตOrnkapat Bualom
 
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 newบทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 newRungnapa Rungnapa
 
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการกลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการtumetr
 
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้งบทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้งDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อบทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อTeetut Tresirichod
 

What's hot (20)

บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อบทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
 
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อบทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
 
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
 
โครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาดโครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาด
 
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังบทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
 
บทที่ 5 การจัดองค์กรจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 5 การจัดองค์กรจัดซื้อจัดจ้างบทที่ 5 การจัดองค์กรจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 5 การจัดองค์กรจัดซื้อจัดจ้าง
 
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทานบทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
 
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์
 
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงินMacro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
 
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการบทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
 
บทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้างบทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้าง
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
 
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 newบทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
 
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการกลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
 
03 cvp
03 cvp03 cvp
03 cvp
 
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้งบทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
 
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อบทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
 

More from Rungnapa Rungnapa

Building construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคาBuilding construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคาRungnapa Rungnapa
 
Building construction 5หลังคา แบบฝึกหัด
Building construction 5หลังคา แบบฝึกหัดBuilding construction 5หลังคา แบบฝึกหัด
Building construction 5หลังคา แบบฝึกหัดRungnapa Rungnapa
 
Building construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคาBuilding construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคาRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐานบทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐานRungnapa Rungnapa
 
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง Rungnapa Rungnapa
 
บทที่ 1 การจัดการประกันภัย
บทที่ 1 การจัดการประกันภัยบทที่ 1 การจัดการประกันภัย
บทที่ 1 การจัดการประกันภัยRungnapa Rungnapa
 
บทที่1ความรู้เบื้องต้น
บทที่1ความรู้เบื้องต้น บทที่1ความรู้เบื้องต้น
บทที่1ความรู้เบื้องต้น Rungnapa Rungnapa
 
บทที่ 5 good corporate governance2
บทที่ 5 good corporate governance2บทที่ 5 good corporate governance2
บทที่ 5 good corporate governance2Rungnapa Rungnapa
 
บทที่ 4 บรรษัทภิบาล
บทที่ 4 บรรษัทภิบาลบทที่ 4 บรรษัทภิบาล
บทที่ 4 บรรษัทภิบาลRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดี
บทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดีบทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดี
บทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดีRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 2 corporate social responsibility
บทที่ 2 corporate social responsibilityบทที่ 2 corporate social responsibility
บทที่ 2 corporate social responsibilityRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปบทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปRungnapa Rungnapa
 

More from Rungnapa Rungnapa (20)

Building construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคาBuilding construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคา
 
Building construction 5หลังคา แบบฝึกหัด
Building construction 5หลังคา แบบฝึกหัดBuilding construction 5หลังคา แบบฝึกหัด
Building construction 5หลังคา แบบฝึกหัด
 
Building construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคาBuilding construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคา
 
Ch10
Ch10Ch10
Ch10
 
Ch9
Ch9Ch9
Ch9
 
Ch8
Ch8Ch8
Ch8
 
Ch7
Ch7Ch7
Ch7
 
Ch5
Ch5Ch5
Ch5
 
Ch6 new
Ch6 newCh6 new
Ch6 new
 
Ch1 3
Ch1 3Ch1 3
Ch1 3
 
Ch1 3
Ch1 3Ch1 3
Ch1 3
 
บทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐานบทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐาน
 
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
 
บทที่ 1 การจัดการประกันภัย
บทที่ 1 การจัดการประกันภัยบทที่ 1 การจัดการประกันภัย
บทที่ 1 การจัดการประกันภัย
 
บทที่1ความรู้เบื้องต้น
บทที่1ความรู้เบื้องต้น บทที่1ความรู้เบื้องต้น
บทที่1ความรู้เบื้องต้น
 
บทที่ 5 good corporate governance2
บทที่ 5 good corporate governance2บทที่ 5 good corporate governance2
บทที่ 5 good corporate governance2
 
บทที่ 4 บรรษัทภิบาล
บทที่ 4 บรรษัทภิบาลบทที่ 4 บรรษัทภิบาล
บทที่ 4 บรรษัทภิบาล
 
บทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดี
บทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดีบทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดี
บทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดี
 
บทที่ 2 corporate social responsibility
บทที่ 2 corporate social responsibilityบทที่ 2 corporate social responsibility
บทที่ 2 corporate social responsibility
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปบทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
 

บทที่ 7 การจัดการซัพพลายเชน

  • 2. Your site here LOGO การจัดการซัพพลายเชน การบูรณาการ การประสานงาน และการควบคุม กิจกรรมต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการจัดหาวัตถุดิบ กระบวนการผลิต การส่งมอบ การแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสาร เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้า และ ทาให้ลูกค้าเกิดความพึงพอใจสูงสุด ภายใต้ต้นทุนที่ เหมาะสม
  • 3. Your site here LOGO ความสัมพันธ์ของซัพพลายเชน ConsumerDistributorManufacturerSupplier Information Money
  • 4. Your site here LOGO องค์ประกอบของซัพพลายเชน 1. ผู้ขายวัตถุดิบ (Suppliers) 2. หน้าที่หลักในบริษัท (Internal Function) 3. ผู้กระจายสินค้า (Distributors)
  • 5.
  • 8. Your site here LOGO การประสานงานในซัพพลายเชน ระดับที่ 1 ผู้จัดหา ผู้ผลิต และลูกค้า มีความเป็นอิสระจากกัน จึงประสบปัญหาสินค้าคงคลังมีเป็นจานวนมาก การขนส่งและบริการไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร
  • 9. Your site here LOGO การประสานงานในซัพพลายเชน ระดับที่ 2 บริษัทมุ่งเน้นการประสานงานภายใน มีแผนกที่ทาหน้าที่ จัดการวัตถุดิบ รวบรวมข้อมูล และระบบควบคุมสินค้า คงคลัง ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ผลิตกับผู้จัดหาและ ลูกค้ายังคงเป็นอิสระจากกัน
  • 10. Your site here LOGO การประสานงานในซัพพลายเชน ระดับที่ 3 มีการขยายการประสานงานไปสู่ผู้จัดหาและลูกค้า มุ่งเน้นที่การตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้า ร่วมมือกับลูกค้าเพื่อปรับปรุงสินค้าและบริการ และ ร่วมมือกับผู้จัดหาเพื่อทราบกาลังการผลิต ในระดับนี้ นับว่าเป็นการประสานงานทั้งภายในและภายนอก
  • 11. Your site here LOGO การบริหารการติดต่อสื่อสารกับลูกค้า 1. กระบวนการสั่งซื้อสินค้า การรับคาสั่งซื้อจากลูกค้าและทาการผลิตตามที่ลูกค้า กาหนด ทาให้บริษัททราบความต้องการ โดยการนา อินเตอร์เน็ตมาใช้ ซึ่งช่วยให้  ลดค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อ  เพิ่มความรวดเร็วในการชาระเงิน  การทาการค้าในระดับโลก  สร้างความยืดหยุ่นด้านราคา
  • 12. Your site here LOGO การบริหารการติดต่อสื่อสารกับลูกค้า 2. กระบวนการส่งมอบสินค้า เกี่ยวข้องกับการขนส่งสินค้า ช่วยสร้างความได้เปรียบ ทางการแข่งขันในด้านต้นทุน คุณภาพ เวลา และความ ยืดหยุ่น กิจกรรมในกระบวนการส่งมอบสินค้า ได้แก่  การแลกเปลี่ยนข้อมูล (Information Sharing)  สถานที่เก็บสินค้าคงคลัง (Inventory Placement)  การเลื่อนเวลาการส่งมอบ (Postponement)
  • 13. Your site here LOGO การบริหารการติดต่อสื่อสารกับผู้จัดหา การจัดซื้อทางอิเล็กทรอนิคส์ (E-Purchasing)  การแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิคส์ (EDI) เทคโนโลยีที่สามารถส่งเอกสารทางธุรกิจผ่านคอมพิวเตอร์ ถึงแม้ว่าจะมีฮาร์ดแวร์หรือซอฟแวร์ที่แตกต่างกัน ทาให้ธุรกิจ ประหยัดค่าใช้จ่ายด้านเอกสาร มีความถูกต้องแม่นยามากขึ้น  แหล่งรวมแคทตาล็อก (Catalog Hub) ช่วยลดค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อ ผู้ซื้อสามารถเลือกสินค้าบน อินเตอร์เน็ตโดยกาหนดราคาและปริมาณของสินค้าได้
  • 14. Your site here LOGO การบริหารการติดต่อสื่อสารกับผู้จัดหา การจัดซื้อทางอิเล็กทรอนิคส์ (E-Purchasing)  ตลาด (Exchange) ตลาดอิเล็กทรอนิคส์ (E-Commerce) สามารถเปรียบเทียบ สินค้า ราคา จากผู้จัดหาจานวนมาก  การประมูล (Auction) เวปที่มีการแข่งขันเพื่อซื้อสินค้า
  • 15. Your site here LOGO การเลือกและตรวจสอบผู้จัดหา 1. การเลือกผู้จัดหา (Supplier Selection) คุณสมบัติสาคัญในการเลือกผู้จัดหารายใหม่ • ราคา • คุณภาพ • การส่งมอบสินค้า • สิ่งแวดล้อม
  • 16. Your site here LOGO การเลือกและตรวจสอบผู้จัดหา 2. การตรวจสอบผู้จัดหา (Supplier Certification) การตรวจสอบศักยภาพของผู้จัดหา 2.1 ความสัมพันธ์กับผู้จัดหา - ความสัมพันธ์เชิงแข่งขัน การเจรจาระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย ในลักษณะฝ่ายหนึ่งได้อีกฝ่ายหนึ่งเสีย - ความสัมพันธ์เชิงร่วมมือ ผู้ซื้อและผู้ขายให้ความร่วมมือกัน ช่วยเหลือแต่ละฝ่ายมากที่สุด มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลของ สินค้า
  • 17. Your site here LOGO การจัดหาจากภายนอก (Outsourcing) การตัดสินใจจ้างบริษัทอื่นทากิจกรรมบางอย่างให้กับ องค์การ โดยต้องรักษากิจกรรมที่เป็นความสามารถ หลักขององค์การ ซึ่งต้องพิจารณาถึง  อานาจควบคุมบริษัทที่จัดจ้าง ขึ้นอยู่กับการทาสัญญา  ความยืดหยุ่นต่อการเปลี่ยนแปลงซัพพลายเชน บริษัทสามารถเปลี่ยนแปลงสัญญาได้บ่อย มีความยืดหยุ่นมาก เมื่อทาสัญญาระยะสั้น
  • 18. Your site here LOGO ตัวแปรที่มีผลกระทบต่อการจัดการซัพพลายเชน 1. ความคาดหวังของผู้บริโภคและการแข่งขัน 2. โลกาภิวัติ 3. เทคโนโลยีสารสนเทศ 4. กฎหมายและกฎระเบียบทางราชการ 5. สิ่งแวดล้อม 6. การกระจายตัวของสมาชิกในซัพพลายเชน 7. ความแม่นยาในการพยากรณ์ 8. อัตราแลกเปลี่ยน 9. โครงสร้างพื้นฐาน 10. ความแตกต่างในคุณลักษณะบางอย่างของผลิตภัณฑ์