SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
ใบงานที่ 6 โครงงานประเภท “กาทดลองทฤษฎี”



“โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี”
เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการจำลองการทดลองของสาขาต่างๆ ซึ่งเป็นงานที่ไม่สามารถทดลองด้วยสถานการณ์
จริงได้ เช่น การจุดระเบิด เป็นต้น และเป็นโครงงานที่ผู้ทำต้องศึกษารวบรวมความรู้ หลักการ ข้อเท็จจริง และ
แนวคิดต่างๆ อย่างลึกซึ้งในเรื่องที่ต้องการศึกษาแล้วเสนอเป็นแนวคิด แบบจำลอง หลักการ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสูตร
สมการ หรือคำอธิบาย พร้อมทั้งการจำลองทฤษฏีด้วยคอมพิวเตอร์ให้ออกมาเป็นภาพ ภาพที่ได้ก็จะเปลี่ยนไปตาม
สูตรหรือสมการนั้น ซึ่งจะทำให้ผู้เรียนมีความเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น การทำโครงงานประเภทนี้มีจุดสำคัญอยู่ที่ผู้ทำต้องมี
ความรู้ในเรื่องนั้นๆ เป็นอย่างดี ตัวอย่างโครงงานจำลองทฤษฎี เช่น การทดลองเรื่องการไหลของของเหลว การ
ทดลองเรื่องพฤติกรรมของปลาปิรันย่า และการทดลองเรื่องการมองเห็นวัตถุแบบสามมิติ เป็นต้น

ขั้นตอนการทำโครงงาน
      การทำโครงงานมีขั้นตอนการปฏิบัติ ดังนี้

        ๒.๑ การคิดและการเลือกหัวเรื่องผู้เรียนจะต้องคิด และเลือกหัวเรื่องของโครงงานด้วยตนเองว่าอยากจะศึกษา
อะไร ทำไมจึงอยากศึกษา หัวเรื่องของโครงงานมักจะได้มาจากปัญหา คำถามหรือความอยากรู้อยากเห็นเกี่ยวกับเรื่อง
ต่างๆ ของผู้เรียนเอง หัวเรื่องของโครงงานควรเฉพาะเจาะจงและชัดเจน เมื่อใครได้อ่านชื่อเรื่องแล้วควรเข้าใจและรู้
เรื่องว่าโครงงานนี้ทำจากอะไร การกำหนดหัวเรื่องของโครงงานนั้นมีแหล่งที่จะช่วยกระตุ้นให้เกิดความคิดและความ
สนใจหลายแหล่งด้วยกัน เช่น จากการอ่านหนังสือ เอกสาร บทความ การเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ การฟังบรรยายทาง
วิชาการ การเข้าชมนิทรรศการหรืองานประกวดโครงงานทางวิทยาศาสตร์ การสนทนากับบุคคลต่างๆ หรือจาการ
สังเกตปรากฏการณ์ต่างๆ รอบตัว เป็นต้น นอกจากนี้ ควรคำนึงถึงประเด็นต่อไปนี้

      -   ความเหมาะสมของระดับความรู้ ความสามารถของผู้เรียน
      -   วัสดุ อุปกรณ์ ที่ใช้
      -   งบประมาณ
      -   ระยะเวลา
      -   ความปลอดภัย
      -   แหล่งความรู้

       ๒.๒ การวางแผน
             การวางแผนการทำโครงงาน จะรวมถึงการเขียนเค้าโครงของโครงงาน ซึ่งต้องมีการวางแผนไว้ล่วงหน้า
เพื่อให้การดำเนินการเป็นไปอย่างรัดกุมและรอบคอบ ไม่สับสน แล้วนำเสนอต่อผู้สอนหรือครูที่ปรึกษาเพื่อขอความ
เห็นชอบก่อนดำเนินการขั้นต่อไป การเขียนเค้าโครงของโครงงาน โดยทั่วไป เขียนเพื่อแสดงแนวคิด แผนงาน และ
ขั้นตอนการทำโครงงาน ซึ่งควรประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้
            ๑) ชื่อโครงงาน ควรเป็นข้อความที่กะทัดรัด ชัดเจน สื่อความหมายได้ตรง
            ๒) ชื่อผู้ทำโครงงาน
            ๓) ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน
            ๔) หลักการและเหตุผลของโครงงาน เป็นการอธิบายว่าเหตุใดจึงเลือกทำโครงงานเรื่องนี้ มีความสำคัญ
อย่างไร มีหลักการหรือทฤษฎีอะไรที่เกี่ยวข้อง เรื่องที่ทำเป็นเรื่องใหม่หรือมีผู้อื่นได้ศึกษาค้นคว้าเรื่องนี้ไว้บ้างแล้ว ถ้ามี
ได้ผลอย่างไร เรื่องที่ทำได้ขยายเพิ่มเติม ปรับปรุงจากเรื่องที่ผู้อื่นทำไว้อย่างไร หรือเป็นการทำซ้ำเพื่อตรวจสอบผล
            ๕) จุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ควรมีความเฉพาะเจาะจง และสามารถวัดได้ เป็นการบอกขอบเขตของ
งานที่จะทำได้ชัดเจนขึ้น
            ๖) สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า (ถ้ามี) สมมติฐานเป็นคำตอบหรือคำอธิบายที่คาดไว้ล่วงหน้า ซึ่งอาจ
จะถูกหรือไม่ก็ได้ การเขียนสมมติฐานควรมีเหตุมีผลมีทฤษฎีหรือหลักการรองรับ และที่สำคัญ คือ เป็นข้อความที่
มองเห็นแนวทางในการดำเนินการทดสอบได้ นอกจากนี้ควรมีความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตามด้วย
            ๗) วิธีดำเนินงานและขั้นตอนการดำเนินงาน จะต้องอธิบายว่า จะออกแบบการทดลองอะไรอย่างไร จะ
เก็บข้อมูลอะไรบ้างรวมทั้งระบุวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็นต้องใช้ มีอะไรบ้าง
            ๘) แผนปฏิบัติงาน อธิบายเกี่ยวกับกำหนดเวลาตั้งแต่เริ่มต้นจนเสร็จสิ้นการดำเนินงานในแต่ละขั้นตอน
            ๙) ผลที่คาดว่าจะได้รับ
            ๑๐) เอกสารอ้างอิง

        ๒.๓ การดำเนินงานเมื่อที่ปรึกษาโครงงานให้ความเห็นชอบเค้าโครงของโครงงานแล้ว ต่อไปก็เป็นขั้นลงมือ
ปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่ระบุไว้ ผู้เรียนต้องพยายามทำตามแผนงานที่วางไว้ เตรียมวัสดุอุปกรณ์และสถานที่ให้พร้อม
ปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ คำนึงถึงความประหยัดและปลอดภัยในการทำงาน ตลอดจนการบันทึกข้อมูล
ต่างๆ ว่าได้ทำอะไรไปบ้าง ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและข้อคิดเห็นอย่างไร พยายามบันทึกให้เป็นระเบียบและครบถ้วน

      ๒.๔ การเขียนรายงาน
             การเขียนรายงานเกี่ยวกับโครงงาน เป็นวิธีสื่อความหมายวิธีหนึ่งที่จะให้ผู้อื่นได้เข้าใจถึงแนวคิด วิธีการ
ดำเนินงาน ผลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ ที่เกี่ยวกับโครงงานนั้น การเขียนโครงงานควรใช้ภาษาที่
อ่านแล้วเข้าใจง่าย ชัดเจนและครอบคลุมประเด็นสำคัญๆ ทั้งหมดของโครงงาน

       ๒.๕ การนำเสนอผลงาน
           การนำเสนอผลงาน เป็นขั้นตอนสุดท้ายของการทำโครงงานและเข้าใจถึงผลงานนั้น การนำเสนอผลงานอาจ
ทำได้หลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมต่อประเภทของโครงงาน เนื้อหา เวลา ระดับของผู้เรียน เช่น การแสดง
บทบาทสมมติ การเล่าเรื่อง การเขียนรายงาน สถานการณ์จำลอง การสาธิต การจัดนิทรรศการ ซึ่งอาจมีทั้งการจัด
แสดงและการอธิบายด้วยคำพูด หรือการรายงานปากเปล่า การบรรยาย สิ่งสำคัญคือ พยายามทำให้การแสดงผลงาน
นั้นดึงดูดความสนใจของผู้ชม มีความชัดเจน เข้าใจง่าย และมีความถูกต้องของเนื้อหา

๓. การเขียนรายงานโครงงาน
            การเขียนรายงานโครงงานเป็นรูปแบบหนึ่งของการนำเสนอผลงานของโครงงานที่ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้า
ตั้งแต่ต้นจนจบ การกำหนดหัวข้อในการเขียนรายงานโครงงานอาจไม่ระบุตายตัวเหมือนกันทุกโครงงาน ส่วนประกอบ
ของหัวข้อในรายงานต้องเหมาะสมกับประเภทของโครงงานและระดับชั้นของผู้เรียน องค์ประกอบของการเขียนรายงาน
โครงงาน แบ่งกว้างๆ เป็น ๓ ส่วน ดังนี้
๑. ส่วนปกและส่วนต้นส่วนปกและส่วนต้น ประกอบด้วย
          ๑) ชื่อโครงงาน
          ๒) ชื่อผู้ทำโครงงาน ชั้น โรงเรียน และวันเดือนปีที่จัดทำ
          ๓) ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
          ๔) คำนำ
          ๕) สารบัญ
          ๖) สารบัญตาราง หรือภาพประกอบ (ถ้ามี)
          ๗) บทคัดย่อสั้นๆ ที่บอกเค้าโครงอย่างย่อๆ ซึ่งประกอบด้วย เรื่อง วัตถุประสงค์ วิธีการศึกษา ระยะ
เวลา และ

สรุปผล
๒. ส่วนเนื้อเรื่อง ส่วนเนื้อเรื่อง ประกอบด้วย
      ๑) บทนำ บอกความเป็นมา ความสำคัญของโครงงาน บอกเหตุผล หรือเหตุจูงใจในการเลือกหัวข้อโครงงาน
      ๒) วัตถุประสงค์ของโครงงาน
      ๓) สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า
      ๔) การดำเนินงาน อาจเขียนเป็นตาราง แผนผังโครงงานเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามหัวข้อเรื่อง ตรงตาม
วัตถุประสงค์ของโครงงาน และพิสูจน์คำตอบ (สมมติฐาน) ตามประเด็นที่กำหนด ดังตัวอย่างการเขียนแผนผังโครง
งานต่อไปนี้
             ในแผนผังโครงงานทำให้เห็นระบบการทำงานอย่างมีเป้าหมาย มีการวางแผนการทำงาน จะเห็นได้ว่าสิ่งที่
ต้องการทราบ คือ หัวข้อย่อย หรือคำถามย่อยของหัวข้อโครงงาน ถ้ามีมาก ๑ ข้อ ก็จะเรียงลำดับทีละหัวข้อ พร้อม
ทั้งบอกสมมติฐาน วิธีศึกษา และแหล่งศึกษาค้นคว้าตามแผนผังให้ครบทุกข้อ สิ่งที่ต้องการทราบ สมมติฐาน วิธีการ
ศึกษา แหล่งศึกษา/แหล่งข้อมูล หัวข้อย่อยจากหัวข้อเรื่องของโครงงานที่ต้องการหาคำตอบ การตอบคำถามล่วงหน้า
ค้นคว้า สอบถาม สัมภาษณ์ สังเกต ศึกษาโดยการดู-ฟัง จากสื่อชนิดต่างๆ - เอกสาร หนังสือ - สถานที่ บุคคล
       ๕) สรุปผลการศึกษา เป็นการอธิบายคำตอบที่ได้จากการศึกษาค้นคว้า ตามหัวข้อย่อยที่ต้องการทราบ ว่าเป็น
ไปตามสมมติฐานหรือไม่
       ๖) อภิปรายผล บอกประโยชน์ หรือคุณค่าของผลงานที่ได้ และบอกข้อจำกัดหรือปัญหา อุปสรรค (ถ้ามี)
พร้อมทั้งบอกข้อเสนอแนะในการศึกษาค้นคว้า โครงงานลักษณะใกล้เคียงกัน

๓. ส่วนท้าย ส่วนท้าย ประกอบด้วย
      ๑) บรรณานุกรม หรือ เอกสารอ้างอิง หรือเอกสารที่ใช้ค้นคว้า ซึ่งมีหลายประเภท เช่น หนังสือ ตำรา
บทความ หรือคอลัมน์ ซึ่งจะมีวิธีการเขียนบรรณานุกรมต่างกัน เช่น หนังสือ ชื่อ นามสกุล . ชื่อหนังสือ. สถานที่
พิมพ์ : สำนักพิมพ์, ปีที่พิมพ์
ในการทำโครงงานประเภททดลอง ต้องมีการจัดการกับตัวแปรที่จะมีผลต่อการทดลอง ซึ่งจะมี 4 ชนิด คือ
• ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระหมายถึง เหตุของการทดลองนั้นๆ
• ตัวแปรตามซึ่งจะเป็นผลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงตัวแปรต้น
• ตัวแปรควบคุมหมายถึง สิ่งที่ต้องควบคุมให้เหมือนๆกัน มิฉะนั้นจะมีผลทำให้ตัวแปรตามเปลี่ยนไป
• ตัวแปรแทรกซ้อนซึ่งจริงๆแล้วก็คือ ตัวแปรควบคุมนั่นเอง แต่บางครั้งเราจะควบคุมไม่ได้ ซึ่งจะมีผลแทรกซ้อน
ทำให้ผลการทดลองผิดไป แต่แก้ไขได้โดยการตัดข้อมูลที่ผิดพลาดทิ้งไป
            โครงงานประเภทการทดลอง เหมาะสำหรับนักเรียนที่ศึกษาในรายวิชาวิทยาศาสตร์ เช่น ครูต้องการสอน
ให้นักเรียนทราบว่า ในพืชชนิดใดมีวิตามินซีมากหรือน้อยอย่างไร แทนที่ครูจะบอกความรู้แก่นักเรียน ครูก็จะสอนโดย
    ให้นักเรียนทำเป็นโครงงาน โดยให้สำรวจปริมาณวิตามินซีในพืชผักผลไม้ท้องถิ่น เป็นต้น
    แต่ก็นำไปใช้ในรายวิชาอื่นๆ ได้เช่นกัน เช่น วิชาพลศึกษา ครูจะสอนวิธีตีปิงปองแก่นักเรียนโดยวิธีโครงงานพลศึกษา
    ครูอาจจะสอนโดยการให้นักเรียนทำการศึกษาวิธีตีปิงปองหลายๆ แบบด้วยกัน โดยมี
    ตัวแปรต้น คือ วิธีการตี (นักเรียนอาจเพิ่มเติมวิธีตีได้อีกหลายๆแบบ)
    ตัวแปรตาม คือ ผลที่เกิดจากการตี เช่น ระยะทางที่ลูกปิงปองเคลื่อนที่ได้
    เมื่อนักเรียนทำโครงงานนี้เสร็จ นักเรียนก็จะสามารถทราบวิธีการตีปิงปองที่ดีที่สุดสำหรับนักเรียนคนนั้นๆ
                   วิชาการงานพื้นฐานอาชีพนักเรียนอาจทำโครงงานเกี่ยวกับการเพาะเห็ดฟางโดยศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง
    วัสดุที่ใช้เพาะเห็ดว่าวัสดุชนิดใดเพาะเห็ดได้ดีที่สุด โดยมี ตัวแปรต้น คือ วัสดุที่ใช้เพาะเห็ดฟาง ตัวแปรตาม คือ
    ปริมาณเห็ดที่ได้จะทำให้นักเรียนได้ทราบว่าวัสดุในท้องถิ่นของนักเรียนชนิดใดเพาะเห็ดได้ดีที่สุด
                   วิชาภาษาไทยครูอาจให้นักเรียนทำโครงงานเกี่ยวกับวิธีการอ่าน โดยศึกษาเปรียบเทียบการอ่านออกเสียง
    ว่าวิธีใดจะสามารถทำให้ผู้อ่านจำได้ดีกว่ากัน โดยมี
    ตัวแปรต้น คือ การอ่านในใจและการอ่านออกเสียง
    ตัวแปรตาม คือ ความจำของนักเรียน
    นักเรียนจะได้ทราบวิธีการอ่านและทราบอื่นๆ อีกมาก

ตัวอย่างของโครงงาน
เลขทะเบียน       คง 2543 ต 002
โรงเรียน         โรงเรียนจิรประวัติวิทยาคม อำเภอเมือง นครสวรรค์ 2543
เกียรติบัตร     ม.ต้น ชนะการประกวดรางวัลที่ 2 กำหนดหัวข้อ ภาคเหนือตอนล่าง
ชื่อเรื่อง      A MAGIC SWITCH
จำนวนหน้า       23 หน้า ภาพประกอบ
สาระสังเขป      โครงงานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างสวิทซ์ไฟฟ้าที่สามารถเปิดปิดไฟได้โดยอัตโนมัติ เมื่อไม่มีคนอยู่ อุปกรณ์
                ที่ใช้ได้แก่ เครื่องวัดระดับเสียง วงจรสวิทซ์แสง วิธีดำเนินการทดลองคือ ทำการวัดระดับความดังของเสียง
                ในขณะที่มีคนอยู่ในห้องและไม่มีคนอยู่ บันทึกไว้ต่อมาเปรียบเทียบแรงไฟและแสงสว่างระหว่างเวลากลาง
                วันและกลางคืน ทำการบันทึก แล้วนำความแตกต่างของเสียงและแสงสว่างที่วัดได้ไปตั้งค่ากับเครื่องมือ
                เชื่อมต่อกับปลั๊กไฟฟ้าที่ทำการจ่ายกระแสไฟให้กับหลอดไฟ จากผลการทดลองพบว่า เครื่องมือดังกล่าว
                สามารถทำงานได้ดี คือเมื่อห้องว่างไม่มีนักเรียนอยู่ในห้อง เครื่องมือจะทำการดับไฟ และไม่มีเสียงดังเกิน
                ค่าที่ตั้งไว้ เครื่องมือก็จะทำการปิดไฟได้อย่างถูกต้อง โดยอาจมีความผิดพลาดบ้างเมื่อมีเสียงออดระหว่าง
                คาบเรียน
หัวเรื่อง       สวิทซ์
                ไฟฟ้า

เลขทะเบียน      คง 2542 ต 041
โรงเรียน        โรงเรียนจิรประวัติวิทยาคม อำเภอเมือง นครสวรรค์ 2542
เกียรติบัตร     ม.ต้น ชนะการประกวดรางวัลที่ 1 กำหนดหัวข้อ ภาคเหนือตอนล่าง
ชื่อเรื่อง      MOTER SPRAYER IV
จำนวนหน้า       31 หน้า ภาพประกอบ
สาระสังเขป      โครงงานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการลดการใช้แรงงานและเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องมือในการทำการ
เกษตร อุปกรณ์ที่ใช้ทำการทดลอง ได้แก่ Motor Sprayer IV ซึ่งเป็นเครื่องมือทำสเปรย์ที่ใช้ในการพ่นสาร
              เคมี หรือสารสกัดจากพืชเพื่อกำจัดแมลงศัตรูพืช ให้ปุ๋ย ฮอร์โมน ซึ่งประดิษฐ์ขึ้นจากการพัฒนามาจาก
              Motor Sprayer 3 ซึ่ง Motor Sprayer 3 ต้องใช้แบตเตอรี่ขนาด 6 โวลต์ ทำให้เกษตรกรต้องแบกเป็น
              เวลานานและไม่สะดวกต่อการใช้งาน เมื่อ Motor ส่วนท้ายชำรุดจะมีผลทำให้ Motor หมุนช้าลงและละออง
              น้ำยาที่ฉีดพ่นกระจายตัวไม่สม่ำเสมอ จึงได้มีการปรับปรุง โดยการเพิ่มประสิทธิภาพ Motor ให้ใช้ไฟเลี้ยง
              แรงดันไฟเพียง 4.8 โวลต์ เปลี่ยนแม่เหล็กเป็นแบบความเข้มข้นของสนามแม่เหล็กสูง เพื่อลดการใช้
              พลังงานพลังงานไฟฟ้า เปลี่ยนแกนหมุนเป็นแบบลูกปืน เพื่อลดการเสียดทาน ลดอัตราการไหลของน้ำยา
              ลงทำให้ปริมาณยาฉีดพ่นและเพิ่มประสิทธิการกระจายตัวของยาที่ฉีดพ่น ลดขนาดถังน้ำยาและใช้แบตเตอรี่
              เลียนแบบถ่านนิเกิล แคดเมียม สรุปแล้วพบว่าเครื่อง Motor Sprayer 4 ที่ทำการปรับปรุงนี้สามารถใช้
              งานได้ดีมีประสิทธิภาพมากขึ้นกว่ารุ่นก่อนเป็นอย่างมาก
หัวเรื่อง     มอเตอร์
              sprayer

เลขทะเบียน    คง 2549 ป 057
โรงเรียน      โรงเรียนอัสสัมชัญลำปาง จังหวัดลำปาง 2549
เกียรติบัตร   ม.ปลาย ชนะการประกวดรางวัลชมเชย สาขาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ภาคเหนือตอนบน
ชื่อเรื่อง    VISUALIZER (เครื่องฉายภาพวัตถุทึบแสง)
จำนวนหน้า     19 หน้า ภาพประกอบ
สาระสังเขป    โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง VISUALIZER (เครื่องฉายภาพวัตถุทึบแสง) จัดทำขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ใน
              การนำหลักการทางด้านวิทยาศาสตร์เรื่องแสงตกกระทบวัตถุ แสงจะสะท้อนวัตถุออกมา เพื่อเป็นการผลิต
              เครื่องมือและอุปกรณ์การเรียนการสอนในชั้นเรียน ซึ่งขั้นตอนการทำก็เริ่มจากดำเนินการศึกษาจากอุปกรณ์
              จริง คือ เครื่อง VISUALIZER ในห้องปฏิบัติการว่ามีคุณสมบัติ และวิธีการทำงานอย่างไร ผลที่ได้คือ
              หลักการสะท้อนของแสง เมื่อมีแสงมาตกกระทบวัตถุ แสงจะสะท้อนวัตถุนั้นและเกิดภาพหรือลักษณะของ
              วัตถุนั้นออกมา ในลักษณะของการสมมาตรคือ การตกกระทบเท่ากับการสะท้อน และถ้าเรานำฉากไปรับ
              สามารถเกิดภาพได้ จึงนำหลักการดังกล่าวมาประยุกต์ใช้ และเราได้ใช้เลนส์นูนร่วมกับการประดิษฐ์
              เนื่องจากมีคุณสมบัติรวมแสง แต่ภาพที่เกิดภาพหัวกลับ เราจึงใช้กระจกเงาราบแผ่นหนึ่งสะท้อนไปยังฉาก
              เพื่อให้ได้ภาพหัวตั้ง จากการนำโครงงานทำให้เราสามารถผลิตสื่ออุปกรณ์ ที่เกิดจากวัสดุที่ราคาไม่แพงและ
              มีคุณสมบัติที่สามารถใช้ได้เช่นเดียวกับ อุปกรณ์ที่ทางคณะผู้จัดทำต้องการศึกษา และได้ทำการทดลองใช้
              งานพร้อมกับทำการทดลองหาความชัด โดยพบว่าถ้าเราใช้แสงไฟที่เข้มเพียงพอ และขนาดเลนส์ที่ใหญ่เราก็
              จะสามารถฉายภาพที่ขนาดใหญ่ได้แล้วภาพที่ได้ก็จะ ชัดเจนมากกว่าการใช้ความเข้มแสงน้อย และเลนส์
              ขนาดเล็ก นอกจากนี้เราต้องอาศัยปัจจัยภายนอกเข้ามาช่วยด้วย คือ ความสว่างของบริเวณภายในห้องที่
              เราใช้ต้องมีน้อย นั้นคือความสามารถเกิดภาพที่ชัดเจนได้ในที่มืด เพราะฉะนั้นการผลิตเครื่องฉายภาพวัตถุ
              ทึบแสง (VISUALIZER)นี้ก็เป็นการที่สามารถทำให้เกิดแนวทางในการนำไปพัฒนาในต่อๆ ไปมากขึ้



                                 http://www.thaigoodview.com/node/17030?page=0%2C7
                                 http://www.banprak-nfe.com/webboard/index.php?topic=24.0
                                 http://www.prc.ac.th/SBM/p2.htm

More Related Content

What's hot

การเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัยการเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัยnoinasang
 
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนการเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนppisoot07
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยwitthaya601
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีsukanya5729
 
การเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัยการเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัยPrachyanun Nilsook
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนวyutict
 
427 416 ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54
427 416  ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54427 416  ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54
427 416 ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54Sani Satjachaliao
 
6 2-1-ออกแบบเครื่องมือ
6 2-1-ออกแบบเครื่องมือ6 2-1-ออกแบบเครื่องมือ
6 2-1-ออกแบบเครื่องมือpatmalya
 
1. ความร เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย
1. ความร  เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย1. ความร  เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย
1. ความร เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ยฟ้าหลังฝน สดใสเสมอ
 
การเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัยการเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัยsanya111
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัยKruBeeKa
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจkhuwawa2513
 
Km การตีพิมพ์บทความวิจัย cs mju 05 01-58 v2
Km การตีพิมพ์บทความวิจัย cs mju 05 01-58 v2Km การตีพิมพ์บทความวิจัย cs mju 05 01-58 v2
Km การตีพิมพ์บทความวิจัย cs mju 05 01-58 v2Phaspra Pramokchon
 
การเขียนผลงานวิชาการ
การเขียนผลงานวิชาการการเขียนผลงานวิชาการ
การเขียนผลงานวิชาการPrachyanun Nilsook
 

What's hot (18)

การเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัยการเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัย
 
K6
K6K6
K6
 
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนการเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
 
เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)
เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)
เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏี
 
การเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัยการเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัย
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนว
 
427 416 ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54
427 416  ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54427 416  ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54
427 416 ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54
 
6 2-1-ออกแบบเครื่องมือ
6 2-1-ออกแบบเครื่องมือ6 2-1-ออกแบบเครื่องมือ
6 2-1-ออกแบบเครื่องมือ
 
1. ความร เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย
1. ความร  เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย1. ความร  เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย
1. ความร เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย
 
การเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัยการเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัย
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 
การวิเคราะห์ระบบ 2
การวิเคราะห์ระบบ 2การวิเคราะห์ระบบ 2
การวิเคราะห์ระบบ 2
 
Km การตีพิมพ์บทความวิจัย cs mju 05 01-58 v2
Km การตีพิมพ์บทความวิจัย cs mju 05 01-58 v2Km การตีพิมพ์บทความวิจัย cs mju 05 01-58 v2
Km การตีพิมพ์บทความวิจัย cs mju 05 01-58 v2
 
Review literature in nursing
Review literature in nursingReview literature in nursing
Review literature in nursing
 
การเขียนผลงานวิชาการ
การเขียนผลงานวิชาการการเขียนผลงานวิชาการ
การเขียนผลงานวิชาการ
 

Similar to ใบงานที่ 6

ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8Narut Keatnima
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPatchara Pussadee
 
ใบงานที่ 6 โครงงานประเภทการทดลองเพื่อทฤษฎี
ใบงานที่ 6 โครงงานประเภทการทดลองเพื่อทฤษฎีใบงานที่ 6 โครงงานประเภทการทดลองเพื่อทฤษฎี
ใบงานที่ 6 โครงงานประเภทการทดลองเพื่อทฤษฎีgammamcnk
 
ใบงานที่ 6 โครงงานประเภทการทดลองเพื่อทฤษฎี
ใบงานที่ 6 โครงงานประเภทการทดลองเพื่อทฤษฎีใบงานที่ 6 โครงงานประเภทการทดลองเพื่อทฤษฎี
ใบงานที่ 6 โครงงานประเภทการทดลองเพื่อทฤษฎีgammamcnk
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6naaikawaii
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6Pimnutchaya
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานMoo Mild
 
ใบงานที่6
ใบงานที่6ใบงานที่6
ใบงานที่6Porna Saow
 
ใบงานที่6
ใบงานที่6ใบงานที่6
ใบงานที่6Porna Saow
 
Computer project
Computer project Computer project
Computer project PondPoPZa
 
ใบงานที่6
ใบงานที่6ใบงานที่6
ใบงานที่6minimalistknont
 

Similar to ใบงานที่ 6 (20)

โครงงานคอม ใบท 6
โครงงานคอม ใบท  6โครงงานคอม ใบท  6
โครงงานคอม ใบท 6
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทยโครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
 
ใบงาน 6
ใบงาน 6ใบงาน 6
ใบงาน 6
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
 
K6222
K6222K6222
K6222
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
5
55
5
 
ใบงานที่ 6 โครงงานประเภทการทดลองเพื่อทฤษฎี
ใบงานที่ 6 โครงงานประเภทการทดลองเพื่อทฤษฎีใบงานที่ 6 โครงงานประเภทการทดลองเพื่อทฤษฎี
ใบงานที่ 6 โครงงานประเภทการทดลองเพื่อทฤษฎี
 
ใบงานที่ 6 โครงงานประเภทการทดลองเพื่อทฤษฎี
ใบงานที่ 6 โครงงานประเภทการทดลองเพื่อทฤษฎีใบงานที่ 6 โครงงานประเภทการทดลองเพื่อทฤษฎี
ใบงานที่ 6 โครงงานประเภทการทดลองเพื่อทฤษฎี
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
ใบงานที่6
ใบงานที่6ใบงานที่6
ใบงานที่6
 
ใบงานที่6
ใบงานที่6ใบงานที่6
ใบงานที่6
 
Computer project
Computer project Computer project
Computer project
 
ใบงานที่6
ใบงานที่6ใบงานที่6
ใบงานที่6
 

More from pompameiei

ใบงานที่ 8 แก้
ใบงานที่ 8 แก้ใบงานที่ 8 แก้
ใบงานที่ 8 แก้pompameiei
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8pompameiei
 
ใบงานที่ 6 แก้
ใบงานที่ 6 แก้ใบงานที่ 6 แก้
ใบงานที่ 6 แก้pompameiei
 
ใบงาน 5
ใบงาน 5ใบงาน 5
ใบงาน 5pompameiei
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1pompameiei
 
ใบงาน 1 copy
ใบงาน 1 copyใบงาน 1 copy
ใบงาน 1 copypompameiei
 

More from pompameiei (7)

ใบงานที่ 8 แก้
ใบงานที่ 8 แก้ใบงานที่ 8 แก้
ใบงานที่ 8 แก้
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8
 
ใบงานที่ 6 แก้
ใบงานที่ 6 แก้ใบงานที่ 6 แก้
ใบงานที่ 6 แก้
 
ใบงาน 5
ใบงาน 5ใบงาน 5
ใบงาน 5
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 
Work
WorkWork
Work
 
ใบงาน 1 copy
ใบงาน 1 copyใบงาน 1 copy
ใบงาน 1 copy
 

ใบงานที่ 6

  • 1. ใบงานที่ 6 โครงงานประเภท “กาทดลองทฤษฎี” “โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี” เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการจำลองการทดลองของสาขาต่างๆ ซึ่งเป็นงานที่ไม่สามารถทดลองด้วยสถานการณ์ จริงได้ เช่น การจุดระเบิด เป็นต้น และเป็นโครงงานที่ผู้ทำต้องศึกษารวบรวมความรู้ หลักการ ข้อเท็จจริง และ แนวคิดต่างๆ อย่างลึกซึ้งในเรื่องที่ต้องการศึกษาแล้วเสนอเป็นแนวคิด แบบจำลอง หลักการ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสูตร สมการ หรือคำอธิบาย พร้อมทั้งการจำลองทฤษฏีด้วยคอมพิวเตอร์ให้ออกมาเป็นภาพ ภาพที่ได้ก็จะเปลี่ยนไปตาม สูตรหรือสมการนั้น ซึ่งจะทำให้ผู้เรียนมีความเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น การทำโครงงานประเภทนี้มีจุดสำคัญอยู่ที่ผู้ทำต้องมี ความรู้ในเรื่องนั้นๆ เป็นอย่างดี ตัวอย่างโครงงานจำลองทฤษฎี เช่น การทดลองเรื่องการไหลของของเหลว การ ทดลองเรื่องพฤติกรรมของปลาปิรันย่า และการทดลองเรื่องการมองเห็นวัตถุแบบสามมิติ เป็นต้น ขั้นตอนการทำโครงงาน การทำโครงงานมีขั้นตอนการปฏิบัติ ดังนี้ ๒.๑ การคิดและการเลือกหัวเรื่องผู้เรียนจะต้องคิด และเลือกหัวเรื่องของโครงงานด้วยตนเองว่าอยากจะศึกษา อะไร ทำไมจึงอยากศึกษา หัวเรื่องของโครงงานมักจะได้มาจากปัญหา คำถามหรือความอยากรู้อยากเห็นเกี่ยวกับเรื่อง ต่างๆ ของผู้เรียนเอง หัวเรื่องของโครงงานควรเฉพาะเจาะจงและชัดเจน เมื่อใครได้อ่านชื่อเรื่องแล้วควรเข้าใจและรู้ เรื่องว่าโครงงานนี้ทำจากอะไร การกำหนดหัวเรื่องของโครงงานนั้นมีแหล่งที่จะช่วยกระตุ้นให้เกิดความคิดและความ สนใจหลายแหล่งด้วยกัน เช่น จากการอ่านหนังสือ เอกสาร บทความ การเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ การฟังบรรยายทาง วิชาการ การเข้าชมนิทรรศการหรืองานประกวดโครงงานทางวิทยาศาสตร์ การสนทนากับบุคคลต่างๆ หรือจาการ สังเกตปรากฏการณ์ต่างๆ รอบตัว เป็นต้น นอกจากนี้ ควรคำนึงถึงประเด็นต่อไปนี้ - ความเหมาะสมของระดับความรู้ ความสามารถของผู้เรียน - วัสดุ อุปกรณ์ ที่ใช้ - งบประมาณ - ระยะเวลา - ความปลอดภัย - แหล่งความรู้ ๒.๒ การวางแผน การวางแผนการทำโครงงาน จะรวมถึงการเขียนเค้าโครงของโครงงาน ซึ่งต้องมีการวางแผนไว้ล่วงหน้า เพื่อให้การดำเนินการเป็นไปอย่างรัดกุมและรอบคอบ ไม่สับสน แล้วนำเสนอต่อผู้สอนหรือครูที่ปรึกษาเพื่อขอความ
  • 2. เห็นชอบก่อนดำเนินการขั้นต่อไป การเขียนเค้าโครงของโครงงาน โดยทั่วไป เขียนเพื่อแสดงแนวคิด แผนงาน และ ขั้นตอนการทำโครงงาน ซึ่งควรประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้ ๑) ชื่อโครงงาน ควรเป็นข้อความที่กะทัดรัด ชัดเจน สื่อความหมายได้ตรง ๒) ชื่อผู้ทำโครงงาน ๓) ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน ๔) หลักการและเหตุผลของโครงงาน เป็นการอธิบายว่าเหตุใดจึงเลือกทำโครงงานเรื่องนี้ มีความสำคัญ อย่างไร มีหลักการหรือทฤษฎีอะไรที่เกี่ยวข้อง เรื่องที่ทำเป็นเรื่องใหม่หรือมีผู้อื่นได้ศึกษาค้นคว้าเรื่องนี้ไว้บ้างแล้ว ถ้ามี ได้ผลอย่างไร เรื่องที่ทำได้ขยายเพิ่มเติม ปรับปรุงจากเรื่องที่ผู้อื่นทำไว้อย่างไร หรือเป็นการทำซ้ำเพื่อตรวจสอบผล ๕) จุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ควรมีความเฉพาะเจาะจง และสามารถวัดได้ เป็นการบอกขอบเขตของ งานที่จะทำได้ชัดเจนขึ้น ๖) สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า (ถ้ามี) สมมติฐานเป็นคำตอบหรือคำอธิบายที่คาดไว้ล่วงหน้า ซึ่งอาจ จะถูกหรือไม่ก็ได้ การเขียนสมมติฐานควรมีเหตุมีผลมีทฤษฎีหรือหลักการรองรับ และที่สำคัญ คือ เป็นข้อความที่ มองเห็นแนวทางในการดำเนินการทดสอบได้ นอกจากนี้ควรมีความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตามด้วย ๗) วิธีดำเนินงานและขั้นตอนการดำเนินงาน จะต้องอธิบายว่า จะออกแบบการทดลองอะไรอย่างไร จะ เก็บข้อมูลอะไรบ้างรวมทั้งระบุวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็นต้องใช้ มีอะไรบ้าง ๘) แผนปฏิบัติงาน อธิบายเกี่ยวกับกำหนดเวลาตั้งแต่เริ่มต้นจนเสร็จสิ้นการดำเนินงานในแต่ละขั้นตอน ๙) ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๑๐) เอกสารอ้างอิง ๒.๓ การดำเนินงานเมื่อที่ปรึกษาโครงงานให้ความเห็นชอบเค้าโครงของโครงงานแล้ว ต่อไปก็เป็นขั้นลงมือ ปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่ระบุไว้ ผู้เรียนต้องพยายามทำตามแผนงานที่วางไว้ เตรียมวัสดุอุปกรณ์และสถานที่ให้พร้อม ปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ คำนึงถึงความประหยัดและปลอดภัยในการทำงาน ตลอดจนการบันทึกข้อมูล ต่างๆ ว่าได้ทำอะไรไปบ้าง ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและข้อคิดเห็นอย่างไร พยายามบันทึกให้เป็นระเบียบและครบถ้วน ๒.๔ การเขียนรายงาน การเขียนรายงานเกี่ยวกับโครงงาน เป็นวิธีสื่อความหมายวิธีหนึ่งที่จะให้ผู้อื่นได้เข้าใจถึงแนวคิด วิธีการ ดำเนินงาน ผลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ ที่เกี่ยวกับโครงงานนั้น การเขียนโครงงานควรใช้ภาษาที่ อ่านแล้วเข้าใจง่าย ชัดเจนและครอบคลุมประเด็นสำคัญๆ ทั้งหมดของโครงงาน ๒.๕ การนำเสนอผลงาน การนำเสนอผลงาน เป็นขั้นตอนสุดท้ายของการทำโครงงานและเข้าใจถึงผลงานนั้น การนำเสนอผลงานอาจ ทำได้หลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมต่อประเภทของโครงงาน เนื้อหา เวลา ระดับของผู้เรียน เช่น การแสดง บทบาทสมมติ การเล่าเรื่อง การเขียนรายงาน สถานการณ์จำลอง การสาธิต การจัดนิทรรศการ ซึ่งอาจมีทั้งการจัด แสดงและการอธิบายด้วยคำพูด หรือการรายงานปากเปล่า การบรรยาย สิ่งสำคัญคือ พยายามทำให้การแสดงผลงาน นั้นดึงดูดความสนใจของผู้ชม มีความชัดเจน เข้าใจง่าย และมีความถูกต้องของเนื้อหา ๓. การเขียนรายงานโครงงาน การเขียนรายงานโครงงานเป็นรูปแบบหนึ่งของการนำเสนอผลงานของโครงงานที่ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้า ตั้งแต่ต้นจนจบ การกำหนดหัวข้อในการเขียนรายงานโครงงานอาจไม่ระบุตายตัวเหมือนกันทุกโครงงาน ส่วนประกอบ ของหัวข้อในรายงานต้องเหมาะสมกับประเภทของโครงงานและระดับชั้นของผู้เรียน องค์ประกอบของการเขียนรายงาน
  • 3. โครงงาน แบ่งกว้างๆ เป็น ๓ ส่วน ดังนี้ ๑. ส่วนปกและส่วนต้นส่วนปกและส่วนต้น ประกอบด้วย ๑) ชื่อโครงงาน ๒) ชื่อผู้ทำโครงงาน ชั้น โรงเรียน และวันเดือนปีที่จัดทำ ๓) ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ๔) คำนำ ๕) สารบัญ ๖) สารบัญตาราง หรือภาพประกอบ (ถ้ามี) ๗) บทคัดย่อสั้นๆ ที่บอกเค้าโครงอย่างย่อๆ ซึ่งประกอบด้วย เรื่อง วัตถุประสงค์ วิธีการศึกษา ระยะ เวลา และ สรุปผล ๒. ส่วนเนื้อเรื่อง ส่วนเนื้อเรื่อง ประกอบด้วย ๑) บทนำ บอกความเป็นมา ความสำคัญของโครงงาน บอกเหตุผล หรือเหตุจูงใจในการเลือกหัวข้อโครงงาน ๒) วัตถุประสงค์ของโครงงาน ๓) สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า ๔) การดำเนินงาน อาจเขียนเป็นตาราง แผนผังโครงงานเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามหัวข้อเรื่อง ตรงตาม วัตถุประสงค์ของโครงงาน และพิสูจน์คำตอบ (สมมติฐาน) ตามประเด็นที่กำหนด ดังตัวอย่างการเขียนแผนผังโครง งานต่อไปนี้ ในแผนผังโครงงานทำให้เห็นระบบการทำงานอย่างมีเป้าหมาย มีการวางแผนการทำงาน จะเห็นได้ว่าสิ่งที่ ต้องการทราบ คือ หัวข้อย่อย หรือคำถามย่อยของหัวข้อโครงงาน ถ้ามีมาก ๑ ข้อ ก็จะเรียงลำดับทีละหัวข้อ พร้อม ทั้งบอกสมมติฐาน วิธีศึกษา และแหล่งศึกษาค้นคว้าตามแผนผังให้ครบทุกข้อ สิ่งที่ต้องการทราบ สมมติฐาน วิธีการ ศึกษา แหล่งศึกษา/แหล่งข้อมูล หัวข้อย่อยจากหัวข้อเรื่องของโครงงานที่ต้องการหาคำตอบ การตอบคำถามล่วงหน้า ค้นคว้า สอบถาม สัมภาษณ์ สังเกต ศึกษาโดยการดู-ฟัง จากสื่อชนิดต่างๆ - เอกสาร หนังสือ - สถานที่ บุคคล ๕) สรุปผลการศึกษา เป็นการอธิบายคำตอบที่ได้จากการศึกษาค้นคว้า ตามหัวข้อย่อยที่ต้องการทราบ ว่าเป็น ไปตามสมมติฐานหรือไม่ ๖) อภิปรายผล บอกประโยชน์ หรือคุณค่าของผลงานที่ได้ และบอกข้อจำกัดหรือปัญหา อุปสรรค (ถ้ามี) พร้อมทั้งบอกข้อเสนอแนะในการศึกษาค้นคว้า โครงงานลักษณะใกล้เคียงกัน ๓. ส่วนท้าย ส่วนท้าย ประกอบด้วย ๑) บรรณานุกรม หรือ เอกสารอ้างอิง หรือเอกสารที่ใช้ค้นคว้า ซึ่งมีหลายประเภท เช่น หนังสือ ตำรา บทความ หรือคอลัมน์ ซึ่งจะมีวิธีการเขียนบรรณานุกรมต่างกัน เช่น หนังสือ ชื่อ นามสกุล . ชื่อหนังสือ. สถานที่ พิมพ์ : สำนักพิมพ์, ปีที่พิมพ์ ในการทำโครงงานประเภททดลอง ต้องมีการจัดการกับตัวแปรที่จะมีผลต่อการทดลอง ซึ่งจะมี 4 ชนิด คือ • ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระหมายถึง เหตุของการทดลองนั้นๆ • ตัวแปรตามซึ่งจะเป็นผลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงตัวแปรต้น • ตัวแปรควบคุมหมายถึง สิ่งที่ต้องควบคุมให้เหมือนๆกัน มิฉะนั้นจะมีผลทำให้ตัวแปรตามเปลี่ยนไป • ตัวแปรแทรกซ้อนซึ่งจริงๆแล้วก็คือ ตัวแปรควบคุมนั่นเอง แต่บางครั้งเราจะควบคุมไม่ได้ ซึ่งจะมีผลแทรกซ้อน ทำให้ผลการทดลองผิดไป แต่แก้ไขได้โดยการตัดข้อมูลที่ผิดพลาดทิ้งไป โครงงานประเภทการทดลอง เหมาะสำหรับนักเรียนที่ศึกษาในรายวิชาวิทยาศาสตร์ เช่น ครูต้องการสอน
  • 4. ให้นักเรียนทราบว่า ในพืชชนิดใดมีวิตามินซีมากหรือน้อยอย่างไร แทนที่ครูจะบอกความรู้แก่นักเรียน ครูก็จะสอนโดย ให้นักเรียนทำเป็นโครงงาน โดยให้สำรวจปริมาณวิตามินซีในพืชผักผลไม้ท้องถิ่น เป็นต้น แต่ก็นำไปใช้ในรายวิชาอื่นๆ ได้เช่นกัน เช่น วิชาพลศึกษา ครูจะสอนวิธีตีปิงปองแก่นักเรียนโดยวิธีโครงงานพลศึกษา ครูอาจจะสอนโดยการให้นักเรียนทำการศึกษาวิธีตีปิงปองหลายๆ แบบด้วยกัน โดยมี ตัวแปรต้น คือ วิธีการตี (นักเรียนอาจเพิ่มเติมวิธีตีได้อีกหลายๆแบบ) ตัวแปรตาม คือ ผลที่เกิดจากการตี เช่น ระยะทางที่ลูกปิงปองเคลื่อนที่ได้ เมื่อนักเรียนทำโครงงานนี้เสร็จ นักเรียนก็จะสามารถทราบวิธีการตีปิงปองที่ดีที่สุดสำหรับนักเรียนคนนั้นๆ วิชาการงานพื้นฐานอาชีพนักเรียนอาจทำโครงงานเกี่ยวกับการเพาะเห็ดฟางโดยศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง วัสดุที่ใช้เพาะเห็ดว่าวัสดุชนิดใดเพาะเห็ดได้ดีที่สุด โดยมี ตัวแปรต้น คือ วัสดุที่ใช้เพาะเห็ดฟาง ตัวแปรตาม คือ ปริมาณเห็ดที่ได้จะทำให้นักเรียนได้ทราบว่าวัสดุในท้องถิ่นของนักเรียนชนิดใดเพาะเห็ดได้ดีที่สุด วิชาภาษาไทยครูอาจให้นักเรียนทำโครงงานเกี่ยวกับวิธีการอ่าน โดยศึกษาเปรียบเทียบการอ่านออกเสียง ว่าวิธีใดจะสามารถทำให้ผู้อ่านจำได้ดีกว่ากัน โดยมี ตัวแปรต้น คือ การอ่านในใจและการอ่านออกเสียง ตัวแปรตาม คือ ความจำของนักเรียน นักเรียนจะได้ทราบวิธีการอ่านและทราบอื่นๆ อีกมาก ตัวอย่างของโครงงาน เลขทะเบียน คง 2543 ต 002 โรงเรียน โรงเรียนจิรประวัติวิทยาคม อำเภอเมือง นครสวรรค์ 2543 เกียรติบัตร ม.ต้น ชนะการประกวดรางวัลที่ 2 กำหนดหัวข้อ ภาคเหนือตอนล่าง ชื่อเรื่อง A MAGIC SWITCH จำนวนหน้า 23 หน้า ภาพประกอบ สาระสังเขป โครงงานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างสวิทซ์ไฟฟ้าที่สามารถเปิดปิดไฟได้โดยอัตโนมัติ เมื่อไม่มีคนอยู่ อุปกรณ์ ที่ใช้ได้แก่ เครื่องวัดระดับเสียง วงจรสวิทซ์แสง วิธีดำเนินการทดลองคือ ทำการวัดระดับความดังของเสียง ในขณะที่มีคนอยู่ในห้องและไม่มีคนอยู่ บันทึกไว้ต่อมาเปรียบเทียบแรงไฟและแสงสว่างระหว่างเวลากลาง วันและกลางคืน ทำการบันทึก แล้วนำความแตกต่างของเสียงและแสงสว่างที่วัดได้ไปตั้งค่ากับเครื่องมือ เชื่อมต่อกับปลั๊กไฟฟ้าที่ทำการจ่ายกระแสไฟให้กับหลอดไฟ จากผลการทดลองพบว่า เครื่องมือดังกล่าว สามารถทำงานได้ดี คือเมื่อห้องว่างไม่มีนักเรียนอยู่ในห้อง เครื่องมือจะทำการดับไฟ และไม่มีเสียงดังเกิน ค่าที่ตั้งไว้ เครื่องมือก็จะทำการปิดไฟได้อย่างถูกต้อง โดยอาจมีความผิดพลาดบ้างเมื่อมีเสียงออดระหว่าง คาบเรียน หัวเรื่อง สวิทซ์ ไฟฟ้า เลขทะเบียน คง 2542 ต 041 โรงเรียน โรงเรียนจิรประวัติวิทยาคม อำเภอเมือง นครสวรรค์ 2542 เกียรติบัตร ม.ต้น ชนะการประกวดรางวัลที่ 1 กำหนดหัวข้อ ภาคเหนือตอนล่าง ชื่อเรื่อง MOTER SPRAYER IV จำนวนหน้า 31 หน้า ภาพประกอบ สาระสังเขป โครงงานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการลดการใช้แรงงานและเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องมือในการทำการ
  • 5. เกษตร อุปกรณ์ที่ใช้ทำการทดลอง ได้แก่ Motor Sprayer IV ซึ่งเป็นเครื่องมือทำสเปรย์ที่ใช้ในการพ่นสาร เคมี หรือสารสกัดจากพืชเพื่อกำจัดแมลงศัตรูพืช ให้ปุ๋ย ฮอร์โมน ซึ่งประดิษฐ์ขึ้นจากการพัฒนามาจาก Motor Sprayer 3 ซึ่ง Motor Sprayer 3 ต้องใช้แบตเตอรี่ขนาด 6 โวลต์ ทำให้เกษตรกรต้องแบกเป็น เวลานานและไม่สะดวกต่อการใช้งาน เมื่อ Motor ส่วนท้ายชำรุดจะมีผลทำให้ Motor หมุนช้าลงและละออง น้ำยาที่ฉีดพ่นกระจายตัวไม่สม่ำเสมอ จึงได้มีการปรับปรุง โดยการเพิ่มประสิทธิภาพ Motor ให้ใช้ไฟเลี้ยง แรงดันไฟเพียง 4.8 โวลต์ เปลี่ยนแม่เหล็กเป็นแบบความเข้มข้นของสนามแม่เหล็กสูง เพื่อลดการใช้ พลังงานพลังงานไฟฟ้า เปลี่ยนแกนหมุนเป็นแบบลูกปืน เพื่อลดการเสียดทาน ลดอัตราการไหลของน้ำยา ลงทำให้ปริมาณยาฉีดพ่นและเพิ่มประสิทธิการกระจายตัวของยาที่ฉีดพ่น ลดขนาดถังน้ำยาและใช้แบตเตอรี่ เลียนแบบถ่านนิเกิล แคดเมียม สรุปแล้วพบว่าเครื่อง Motor Sprayer 4 ที่ทำการปรับปรุงนี้สามารถใช้ งานได้ดีมีประสิทธิภาพมากขึ้นกว่ารุ่นก่อนเป็นอย่างมาก หัวเรื่อง มอเตอร์ sprayer เลขทะเบียน คง 2549 ป 057 โรงเรียน โรงเรียนอัสสัมชัญลำปาง จังหวัดลำปาง 2549 เกียรติบัตร ม.ปลาย ชนะการประกวดรางวัลชมเชย สาขาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ภาคเหนือตอนบน ชื่อเรื่อง VISUALIZER (เครื่องฉายภาพวัตถุทึบแสง) จำนวนหน้า 19 หน้า ภาพประกอบ สาระสังเขป โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง VISUALIZER (เครื่องฉายภาพวัตถุทึบแสง) จัดทำขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ใน การนำหลักการทางด้านวิทยาศาสตร์เรื่องแสงตกกระทบวัตถุ แสงจะสะท้อนวัตถุออกมา เพื่อเป็นการผลิต เครื่องมือและอุปกรณ์การเรียนการสอนในชั้นเรียน ซึ่งขั้นตอนการทำก็เริ่มจากดำเนินการศึกษาจากอุปกรณ์ จริง คือ เครื่อง VISUALIZER ในห้องปฏิบัติการว่ามีคุณสมบัติ และวิธีการทำงานอย่างไร ผลที่ได้คือ หลักการสะท้อนของแสง เมื่อมีแสงมาตกกระทบวัตถุ แสงจะสะท้อนวัตถุนั้นและเกิดภาพหรือลักษณะของ วัตถุนั้นออกมา ในลักษณะของการสมมาตรคือ การตกกระทบเท่ากับการสะท้อน และถ้าเรานำฉากไปรับ สามารถเกิดภาพได้ จึงนำหลักการดังกล่าวมาประยุกต์ใช้ และเราได้ใช้เลนส์นูนร่วมกับการประดิษฐ์ เนื่องจากมีคุณสมบัติรวมแสง แต่ภาพที่เกิดภาพหัวกลับ เราจึงใช้กระจกเงาราบแผ่นหนึ่งสะท้อนไปยังฉาก เพื่อให้ได้ภาพหัวตั้ง จากการนำโครงงานทำให้เราสามารถผลิตสื่ออุปกรณ์ ที่เกิดจากวัสดุที่ราคาไม่แพงและ มีคุณสมบัติที่สามารถใช้ได้เช่นเดียวกับ อุปกรณ์ที่ทางคณะผู้จัดทำต้องการศึกษา และได้ทำการทดลองใช้ งานพร้อมกับทำการทดลองหาความชัด โดยพบว่าถ้าเราใช้แสงไฟที่เข้มเพียงพอ และขนาดเลนส์ที่ใหญ่เราก็ จะสามารถฉายภาพที่ขนาดใหญ่ได้แล้วภาพที่ได้ก็จะ ชัดเจนมากกว่าการใช้ความเข้มแสงน้อย และเลนส์ ขนาดเล็ก นอกจากนี้เราต้องอาศัยปัจจัยภายนอกเข้ามาช่วยด้วย คือ ความสว่างของบริเวณภายในห้องที่ เราใช้ต้องมีน้อย นั้นคือความสามารถเกิดภาพที่ชัดเจนได้ในที่มืด เพราะฉะนั้นการผลิตเครื่องฉายภาพวัตถุ ทึบแสง (VISUALIZER)นี้ก็เป็นการที่สามารถทำให้เกิดแนวทางในการนำไปพัฒนาในต่อๆ ไปมากขึ้ http://www.thaigoodview.com/node/17030?page=0%2C7 http://www.banprak-nfe.com/webboard/index.php?topic=24.0 http://www.prc.ac.th/SBM/p2.htm