Successfully reported this slideshow.
Your SlideShare is downloading. ×

Ogctaxmap

Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Upcoming SlideShare
Geo informatic 26 Aug16
Geo informatic 26 Aug16
Loading in …3
×

Check these out next

1 of 46 Ad

Ogctaxmap

taxmap, แผนที่ภาษี, web map service,ชัยภัทร เนื่องคำมา,ระบบแผนที่ภาษี,จัดเก็บภาษี

taxmap, แผนที่ภาษี, web map service,ชัยภัทร เนื่องคำมา,ระบบแผนที่ภาษี,จัดเก็บภาษี

Advertisement
Advertisement

More Related Content

Similar to Ogctaxmap (20)

Advertisement

Recently uploaded (20)

Ogctaxmap

  1. 1. การประยกต์ ใช้ มาตรฐานภมิสารสนเทศกับระบบสารสนเทศจัดเก็บภาษี ุ ู ดร.ไพศาล สั นติธรรมนนท์ email: phisan_chula@yahoo.com นาย ชัยภัทร เนืองคํามา email : pk_a1977@hotmail.com Website: http://emap.wordpress.com
  2. 2. บทนํา
  3. 3. บทนํา ่ ่ ปั จจุบนองค์การบริ หารปกครองสวนท้องถินหลายแหงมีการจัดทําระบบ ั ็ สารสนเทศการจัดเกบภาษี หรื อระบบแผนทีภาษี โดยการจัดทําระบบแผนทีภาษีนน ั มีการสํารวจและจัดทําข้อมูลภูมิสารสนเทศในมาตรสวนใหญ่ เชน แปลงทีดิน, สิ ง ่ ่ ปลูกสร้างอาคาร,การใช้ประโยชน์ทีดินและแผนทีบัญชีทรัพย์สินสาธารณะ ซึ ง ่ ่ ู ็ ข้อมูลตางๆเหลานีถกนําเข้าระบบสารสนเทศและใช้ในการดําเนิ นการจัดเกบภาษีซึง ระบบแผนทีภาษี ทีพบในปั จจุบนมีทงการทํางานในรู ปแบบ Stand-alone System ั ั และแบบ Web Based System ่ ่ Web Based System มีความยืดหยุนสามารถทํางานบนระบบเครื อขายและ ่ ่ ้ ั ่ สามารถเชือมตอจากภายนอก แตมีขอจํากดตรงทีระบบของแตละอบต.หรื อเทศบาล ่ ่ ั สวนมากนันเป็ นระบบปิ ด ขาดมาตรฐานและมีรูปแบบทีเฉพาะตัวแตกตางกนไปทํา ่ ่ ั ให้ไมสามารถเชือมโยงหรื อทํางานรวมกนได้
  4. 4. บทนํา ่ สงผลให้ขาดโอกาสในการนําข้อมูลภูมิสารสนเทศทีใช้งบประมาณสู งใน ่ การพัฒนามาใช้ประโยชน์ได้อยางเต็มที โดยเฉพาะเรื องของการนําข้อมูลภูมิ ่ ่ ่ ั สารสนเทศทีแตละแหงผลิตขึนมาทํางานรวมกนในแบบบูรณาการ เชนระดับ ่ จังหวัดหรื อระดับประเทศ ดังนันงานวิจยนี จึงมุ่งเน้นทีจะสาธิ ตการนําเอาระบบบริ การข้อมูลภูมิ ั ั สารสนเทศ(Geospatial Web Service) มาประยุกต์ใช้กบระบบแผนทีภาษีโดยเน้นไป ่ ่ ทีการแลกเปลียนข้อมูลภูมิสารสนเทศระหวางระบบผานโปรโตคอลมาตรของ Open Geospatial Consortium (OGC) เพือแสดงให้เห็นถึงกลไกการทํางานรวมกน ่ ั ่ แบบ interoperability ระหวางระบบ
  5. 5. บทนํา นอกจากนียงมีการนําเอาแนวคิดของ OGC Web Service มาประยุกต์ใช้ใน ั ้ ่ ่ ้ การแกปั ญหาการทํางานระหวางระบบภูมิสารสนเทศ เชน การแกปั ญหาเรื องระบบ ั ่ ั ็ ่ ั พิกดภูมิศาสตร์ ทีแตกตางกน , รู ปแบบการจัดเกบข้อมูลทีแตกตางกน เป็ นต้น รวม ไปถึงการสร้างภาพแบบจําลองและแนวคิดการทํางานแบบสถาปั ตยกรรมบริ การ เพือดึงข้อมูลจากระบบแผนทีภาษีต่างๆไปใช้งานใน แอปพลิเคชัน เชนงานด้านภัย ่ พิบติ ,งานด้านอสังหาริ มทรัพย์, งานด้านการจัดการสิ นเชือของระบบธนาคาร และ ั ่ ่ อืนๆ โดยเฉพาะข้อมูลภูมิสารสนเทศทีมีคุณคาสู งในระบบแผนทีภาษีเชน ข้อมูล ่ ่ แปลงทีดิน และข้อมูลอาคารสิ งปลูกสร้าง ซึ งจะสามารถเพิมมูลคาให้แกข้อมูลภูมิ สารสนเทศตอไป ่
  6. 6. แนวคิดและเทคนิคทีเกียวข้ อง
  7. 7. แนวคิด ่ ปั จจุบนเครื อขายอินเตอร์ เน็ต(Internet) มีการพัฒนาไปมากจากในอดีตทัง ั ่ ่ ด้านประสิ ทธิ ภาพการรับสงข้อมูลและเครื อขาย ต้นทุนของการใช้งานอินเตอร์ เน็ตมี ิ ราคาถูกลง ทําให้เกดการขยายตัวของการพัฒนาระบบสารสนเทศแบบ Web base ั System ประกอบกบการพัฒนาของเทคโนโลยี Web 2.0 ทําให้โปรแกรมประยุกต์ ประเภท Web Application ได้รับความสนใจและนํามาใช้ในระบบสารสนเทศผาน ่ ่ ั ่ เครื อขายกนอยางแพรหลาย ่ ่ ่ ชวงสองปี ทีผานมาระบบแผนทีภาษีถกจัดทําและพัฒนาขึนเพือใช้งานใน ู ่ ่ ่ องค์กรปกครองสวนท้องถินตางๆนันมีจานวนไมน้อยทีบริ ษทผูพฒนาซอฟต์แวร์ ํ ั ้ ั ระบบเลือกออกแบบและพัฒนาระบบด้วยเทคโนโลยี WebGIS กลาวคือเป็ นการ ่ ่ ่ พัฒนาระบบภูมิสารสนเทศผานเครื อขายด้วยระบบแบบ Web base System โดยผูใช้ ้ ่ สามารถใช้งานระบบผานเว็บบราวเซอร์ จากเครื องคอมพิวเตอร์ ทีเชือมตอกบ ่ ั ่ ็ เครื อขาย ข้อมูลสารสนเทศและข้อมูลภูมิสารสนเทศถูกจัดเกบทีเครื องแมขาย ่ ่ ่ สวนกลาง
  8. 8. แนวคิด
  9. 9. แนวคิด ่ ่ ่ แตด้วยวิธีการทํางานและการเลือกใช้โปรแกรมแมขายแผนทีในการพัฒนา ่ ั ระบบแผนทีภาษีทีแตกตางกนทําให้ ระบบแผนทีภาษีซึงทํางานแบบ WebGIS ่ ั ่ ่ ั เชนเดียวกนไมสามารถทํางานรวมกนและแลกเปลียนข้อมูลภูมิสารสนเทศกนได้ ั ํ ่ ั ่ OGC Web Service เป็ นข้อกาหนดมาตรฐานในทํางานรวมกน กอให้เกด ิ ี ั การทํางานแบบ Interoperability สําหรับเทคโนโลยีทีเกยวข้องกบสารสนเทศเชิง ่ ่ ่ พืนทีและเชิงตําแหนง รวมไปถึงการสนับสนุน สงเสริ มการแบงปั นข้อมูลภูมิ สารสนเทศในรู ปแบบการบริ การข้อมูลภูมิสารสนเทศ โดยทํางานบนเว็บเซอร์ วิส ่ ่ ่ เทคโนโลยีมาใช้ในการบริ การข้อมูลภูมิสารสนเทศอยางมีมาตรฐาน ชวยกอให้เกด ิ ความสะดวกในการเรี ยกดูและเรี ยกใช้ขอมูลภูมิสารสนเทศได้จากทุกๆแหล่งข้อมูล ้ ่ ั ่ บนโลกทีอยูเ่ ชือมตอกบระบบอินเตอร์ เน็ต กอให้เกดการแบงปั นข้อมูลภูมิ ิ ่ สารสนเทศไปยังผูใช้ขอมูลในระดับตางๆ ้ ้ ่
  10. 10. แนวคิด ํ ผูวจยได้เลือกข้อกาหนดมาตรฐานทีรองรับงานภูมิสารสนเทศในระบบ ้ิั ํ แผนทีภาษี เพือทดลองนําข้อกาหนดมาตรฐานมาใช้ในการเชือมโยงการทํางานด้าน ภูมิสารสนเทศระหวางระบบแผนทีภาษีต่างๆ โดยมุ่งเน้นไปทีการแสดงผลข้อมูล ่ (Data Visualization) ,การค้นหาข้อมูล(Discovery) ,การเข้าถึงและการรับข้อมูล (Access) , การเรี ยกสื บค้นข้อมูล (Query) และการเข้ารหัสข้อมูล(Encoding)
  11. 11. วัตถประสงค์ ุ
  12. 12. วัตถประสงค์ ุ ํ 1. ศึกษากระบวนการทํางานของข้อกาหนดมาตรฐาน Open Geospatial Consortium (OGC) ได้แก่ Web Map Service (WMS), Web Feature Service (WFS), Web Coverage Service (WCS) 2. พัฒนาระบบบริ การข้อมูลภูมิสารสนเทศแบบเปิ ดด้วยโปรโตคอล มาตรฐาน OGC บนระบบแผนทีภาษีแบบ Web-base System
  13. 13. ขันตอนการศึกษา
  14. 14. ขันตอนการศึกษา ํ 1. ศึกษากระบวนการทํางานของข้อกาหนดมาตรฐาน Open Geospatial Consortium (OGC) ได้แก่ Web Map Service (WMS), Web Feature Service (WFS), Web Coverage Service (WCS) ่ ่ 2. จัดเตรี ยมข้อมูลภูมิสารสนเทศ ทีอยูในระบบแผนทีภาษีทวไป เชน ชัน ั ่ ข้อมูลแปลงทีดิน, ชันข้อมูลอาคาร, ชันข้อมูลตําแหนงป้ ายโฆษณา และข้อมูลภาพ ่ ถายดาวเทียม เป็ นต้น
  15. 15. ขันตอนการศึกษา 3. จัดทํา Metadata สําหรับข้อมูลภูมิสารสนเทศ มาตรฐานของ ISO 19115 ด้วยโปรแกรม Geonetwork Metadata Catalog 4. พัฒนาระบบบริ การข้อมูลภูมิสารสนเทศตามมาตรฐาน OGC โดยใช้ ่ ่ โดยใช้ซอฟต์แวร์ แมขายแผนทีทีรองรับการทํางานในโปรโตคอลมาตรฐานของ OGC ็ ่ ่ 5. ทดลองพัฒนาระบบสารสนเทศการจัดเกบภาษีอยางงายทีเรี ยนแบบ ์ ่ ฟังกชันแผนทีและระบบงานยอยภูมิสารสนเทศของสารสนเทศการจัดเกบภาษี ็ ทัวไปสําหรับใช้เป็ นต้นแบบในการสาธิ ตการทํางานการบริ การข้อมูลภูมิสารสนเทศ ็ จากระบบสารสนเทศการจัดเกบภาษีบนมาตรฐานของ OGC
  16. 16. ขันตอนการศึกษา ่ ั 6. ทดสอบการเชือมตอระบบภูมิสารสนเทศทีพัฒนาขึนกบระบบภูมิ ่ ่ สารสนเทศแบบเปิ ดภายนอกผานเครื อขายอินเตอร์ เน็ต 7. สรุ ปผลการศึกษา
  17. 17. ผลการศึกษา OGC Web Service
  18. 18. Web Map Service (WMS) ํ Web Map Service เป็ นข้อกาหนดมาตรฐานทีใช้ในการผลิตแผนทีจาก ข้อมูลภูมิสารสนเทศเพือบริ การผูใช้ โดยผูใช้สามารถเรี ยกข้อมูลแผนทีจากหลายๆ ้ ้ ่ ั แหลงมาซ้อนทับกนได้ นอกจากนียงรวมไปถึงการบริ การข้อมูลเชิงบรรยายที ั ่ ั ่ ่ สัมพันธ์เชิงตําแหนงกบข้อมูลภูมิสารสนเทศ แมขาย Web Map Service (WMS) จะ ทําการสร้างภาพบิตแมป (bitmap) จากข้อมูลภูมิสารสนเทศและทําการสงภาพ ่ ่ ่ บิตแมปมายังผูใช้ทีอยูทางฝังลูกขาย โดยรู ปแบบของภาพบิตแมปได้แก่ PNG, GIF, ้ JPEG Web Map Service จะประกอบด้วย 3 Operation ได้แก่ GetCapabilities, GetMap, GetFeatureInfo
  19. 19. Web Feature Service (WFS) ํ Web Feature Service เป็ นข้อกาหนดมาตรฐานทีใช้ในการเข้าถึงข้อมูลภูมิ สารสนเทศชนิ ดเวกเตอร์ จากผูให้บริ การข้อมูล โดยผูใช้สามารถเข้าถึงข้อมูลด้วยการ ้ ้ ่ ดาวน์โหลดข้อมูลภูมิสารสนเทศในรู ปแบบเอกสาร XML ผานระบบอินเตอร์ เน็ต ่ การทํางานของ Web Feature Service สามารถแบงออกได้เป็ น 2 ประเภท ่ ได้แก่ Basic WFS และ Transaction WFS สําหรับงานวิจยนีจะกลาวถึงเฉพาะใน ั ่ ่ สวนของ Basic WFS เทานัน เนื องจากระบบทีออกแบบเน้นทีการเผยแพรและการ ่ ่ ้ แลกเปลียนข้อมูลภูมิสารสนเทศ จึงไมมีความจําเป็ นทีจะต้องแกไขเปลียนแปลง ่ ่ ่ ้ ข้อมูลในสวนของแมขายผูให้บริ การข้อมูล Basic WFS จะประกอบด้วย 3 Operation ได้แก่ GetCapability, Describe FeatureType และ GetFeature
  20. 20. Web Coverage Service (WCS) ํ Web Coverage Service เป็ นข้อกาหนดมาตรฐานการให้บริ การข้อมูลภูมิ ่ สารสนเทศชนิ ดราสเตอร์ หรื อข้อมูลกริ ดผานระบบอินเตอร์ เน็ต โดยข้อมูลจะมี ่ ่ ่ ลักษณะของคาความสัมพันธ์แบบสามแกนหรื อมากกวานัน เชนข้อมูลแบบจําลอง ความสู ง (DEM) มีค่าของตําแหนงพิกด X, Y และคาความสู งภูมิประเทศ ซึ งจะ ่ ั ่ ่ ่ ่ แสดงอยูในรู ปคาสี ประจําพิกเซล โดยชนิ ดของข้อมูลทีให้บริ การจะอยูในฟอร์ แมต ่ มาตรฐาน Geotiff หรื อฟอร์ แมทอืนๆทีผูผลิตซอฟท์แวร์ จะเพิมเติมเข้าไป เชน IMG, ้ ECW เป็ นต้น Web Coverage Service จะประกอบด้วย 3 Operation ได้แก่ GetCapabilities, DescribeCoverage, GetCoverage
  21. 21. Style Layer Descriptor (SLD) Style Layer Descriptor มาตรฐานคําร้องขอ (Request) เพิมเติมของ Web ํ Map Service (WMS) เพือให้ผใช้สามารถกาหนดสัญลักษณ์ สี และรู ปแบบของแผน ู้ ่ ที โดยผูใช้จะสงเอกสาร SLD ทีเขียนตามโครงสร้างของมาตรฐาน XML แนบไป ้ ั ่ กบคําร้องขอรับบริ การแผนที ผลลัพธ์จะได้แผนทีในรู ปแบบตางๆทีต้องการ โดยที ่ ่ ่ ลักษณะ รู ปแบบของข้อมูลบนแมขายไมได้เปลียนแปลง นอกจากนี Style Layer Descriptor ยังมี operation ทีสามารถเรี ยกดูสัญลักษณ์และสไตล์ของชันข้อมูลบนแม่ ่ ขาย Web Map Service ได้อีกด้วย
  22. 22. เปรียบเทียบการทํางานของข้ อกําหนดมาตรฐาน OGC ํ ่ จากการศึกษาข้อกาหนดมาตรฐานตางๆของ Open Geospatial Consortium ่ (OGC) ทีใช้ในการพัฒนาระบบ Open Geospatial Web Service ดังทีได้กลาวมาใน ข้างต้น ผูวจยได้ทาการทดลองเปรี ยบเทียบลักษณะการทํางานและคุณสมบัติของ ้ิั ํ โปรโตคอล WMS, WFS และWCS เพือทําให้สามารถเข้าใจภาพรวมของข้อกาหนด ํ ่ มาตรฐานตางๆได้มากยิงขึน
  23. 23. เปรียบเทียบการทํางานของข้ อกําหนดมาตรฐาน OGC หัวข้ อ WMS WFS WCS 1. ความสามารถในการอธิบายการให้ บริการ มี มี มี 2. ความสามารถแสดงผลแบบกราฟฟิ คบนเว็บบราวเซอร์ มี ไม่ มี ไม่ มี 3. ความสามารถในการดาวน์ โหลดข้ อมลภมิสารสนเทศจากแม่ ข่าย ู ู ไม่ มี มี มี 4. ความสามารถในการเรียกดข้ อมลเชิ งบรรยายทีตําแหน่ งต่ างๆ ู ู มี มี ไม่ มี 5. ความสามารถในการเรียกดคําอธิบายโครงสร้ างของข้ อมลภมิสารสนเทศ ู ู ู ไม่ มี มี มี 6. ความสามารถในการบริการข้ อมลแบบหลายช่ วงเวลา ู มี ไม่ มี มี 7. ความสามารถในการประมวลผลข้ อมลภมิสารสนเทศ ู ู ไม่ มี ไม่ มี มี 8. วิธีการเลือกรับบริการข้ อมลภมิสารสนเทศ ู ู BBOX,Time FE(Filter BBOX,Time Encoding) ,Band 9. ผลลัพธ์ จากการขอรับบริการข้ อมลภมิสารสนเทศ ู ู PNG,JPEG,GIF GML JP2,GEOTIF,E CW
  24. 24. ผลการศึกษา การพัฒนาระบบบริการข้ อมล ู ภมิสารสนเทศ OGC Web Service (OWS) ู
  25. 25. การจัดทํา Metadata ่ ั จากการศึกษาพบวาการจัดทําเอกสารอธิ บายข้อมูลหรื อ Metadata กบ ข้อมูลภูมิสารสนเทศในระบบแผนทีภาษีมีประโยชน์มากในการแลกเปลียนและ เผยแพรข้อมูลสู่ ภายนอก โดยสามารถเชือมโยง Metadata กบระบบ Map Service ่ ั ด้วยโปรโตคอล WMS ได้อีกด้วย WMS Service instance
  26. 26. พัฒนาระบบบริการข้ อมลภมิสารสนเทศ (OWS) ู ู ่ ่ งานวิจยนี ผวจยได้ใช้ซอฟต์แวร์ แมขายแผนที Minnesota Map Server ทํา ั ู้ ิ ั ่ ่ การติดตังระบบบริ การแผนทีครอบไปบนแมขายระบบสารสนเทศการจัดเกบภาษีที ็ ่ ่ ทํางานผานเครื อขาย โดยเปิ ดโปรโตคอล WMS, WFS, WCS สําหรับการบริ การ ข้อมูลภูมิสารสนเทศออกสู่ ระบบภายนอก ACCESS (GUI, API) Layer OGC Service Layer Processing (GIS engine) Layer Spatial Resource Layer
  27. 27. พัฒนาระบบบริการข้ อมลภมิสารสนเทศ (OWS) ู ู http://192.168.1.2/cgi-bin/ows.cgi?VERSION=1.3.0&SERVICE=WMS& REQUEST=GETCAPABILITIES
  28. 28. พัฒนาระบบบริการข้ อมลภมิสารสนเทศ (OWS) ู ู http://192.168.1.2/cgi-bin/ows.cgi?SERVICE=WMS&VERSION=1.3.0& REQUEST=GETMAP&LAYERS=municipa,building,road&WIDTH=765&H EIGHT=485&BBOX=-782344.7061855672,459596.999,2224215.706, 2365717 &SRS=EPSG:32647
  29. 29. พัฒนาระบบบริการข้ อมลภมิสารสนเทศ (OWS) ู ู http://192.168.1.2/cgi- bin/ows.cgi?VERSION=1.1.0&SERVICE=WFS&REQUEST=GetFeature &TYPENAME=municipal_landuse&filter=<Filter><PropertyIsLike><Prope rtyName>reg_name</PropertyName><Literal>A_327</Literal> </PropertyIsLike></Filter>
  30. 30. พัฒนาระบบบริการข้ อมลภมิสารสนเทศ (OWS) ู ู http://192.168.1.2/cgi- bin/ows.cgi?service=wcs&version=1.0.0&request=GetCoverage& crs=EPSG:32647&width=381.83175427781884&height=276.3256116484245 &format=GEOTIFF_RGB&coverage=ortho&bands=3,2,1&resx=1&resy=1 &bbox=426000.4523647572,2119706.171729195,464183.6277925391,2147338.7 328940374
  31. 31. การเชือมโยง OWS กับระบบแผนทีภาษี ั ผูวจยได้ทดสอบการเชือมโยงระบบ OGC Web Service เข้ากบระบบงาน ้ิั ่ ่ ภูมิสารสนเทศในแผนที พบวาการทํางานในสวนของการแสดงผลข้อมูลแผนทีและ ั การสื บค้นข้อมูลด้วยเงือนไขเชิงพืนทีสามารถทํางานได้เหมือนกบระบบทัวไป ระบบทีพัฒนาขึนใช้ฐานข้อมูลเชิงพืนที Spatial database บน Postgresql + ่ ็ Postgis เป็ นสวนจัดเกบข้อมูลและประมวลผลข้อมูลทังข้อมูลภูมิสารสนเทศและ ้ ้ ่ ข้อมูลเชิงบรรยาย ซึ งผูใช้สามารถเรี ยกดูขอมูลและสื บค้นข้อมูลได้ผานทาง Web Application
  32. 32. การเชือมโยง OWS กับระบบแผนทีภาษี GIS Module
  33. 33. การเชือมโยง OWS กับระบบแผนทีภาษี
  34. 34. ทดสอบระบบ
  35. 35. ทดสอบระบบ ระบบแผนทีภาษีทีพัฒนาขึนมีความสามารถในการเชือมโยงการทํางานกบั ระบบภูมิสารสนเทศอืนๆภายนอกได้ บนโปรโตคอลมาตรฐานของ OGC ผูวิจยได้ ้ ั ่ สร้างภาพจําลอง กรณี การเชือมโยงการทํางานระหวางระบบด้วยโปรโตคอล OWS ั ่ ่ ่ กบแมขายระบบบริ การแผนทีจากหนวยงานภายนอก อบต. A1 จังหวัด กระทรวง A NSDI ผู้ใช้ ทวไป ั OGC Web Service Bus เทศบาล A2 สวล.จังหวัด กระทรวง B ธนาคาร ประกันภัย
  36. 36. ทดสอบระบบ Spatial Data Catalog {register service} Find Publish Metadata, Service Description Metadata, Service Description Consumer Provider GIS Software Bind OWS
  37. 37. ทดสอบระบบ ขันตอนการเชือมโยงการทํางาน ระหว่ างระบบแผนทีภาษีด้วย OWS
  38. 38. ทดสอบระบบ ขันตอนการเข้ าถึงข้ อมลภมิสารสนเทศบน ู ู ระบบแผนทีภาษีจากภายนอก
  39. 39. ทดสอบระบบ ตัวอย่ างการเรียกดข้ อมลและนําข้ อมลภมิ ู ู ู ู สารสนเทศจากระบบแผนทีภาษีทงสองมา ั ทํางานร่ วมกับบนโปรแกรม Desktop GIS ผ่ านโปรโตคอล OWS WMS Layer from Server Shapfile form local computer WMS GetFearuteInfo
  40. 40. ทดสอบระบบ WMS Connection
  41. 41. ทดสอบระบบ WMS Layer from Etax Server WMS Layer from GISTDA Server MODIS from NASA
  42. 42. สรปผลการศึกษา ุ
  43. 43. สรปผลการศึกษา ุ ่ 1. ระบบภูมิสารสนเทศแบบ Web GIS สามารถชวยเพิมขีดความสามารถ ในการทํางานของระบบแผนทีภาษีได้ ่ ิ 2. การนํามาตรฐานทางภูมิสารสนเทศมาใช้ในงานแผนทีภาษี ชวยให้เกด การขยายศักยภาพในการบริ การข้อมูลภูมิสารสนเทศ โดยมาตรฐาน OGC รองรับ การให้บริ การข้อมูลหลายระดับ ความสําคัญ Registration {Metadata ISO 19135} Spatial Data Access {WMS,SLD,WMC} Spatial Data Acquire {WFS,WCS,FE,GML} ความสามารถ
  44. 44. สรปผลการศึกษา ุ ํ 3. การนําข้อกาหนดมาตรฐานของ OGC มาใช้ในการพัฒนาระบบงานภูมิ ่ ่ ิ สารสนเทศในระบบแผนทีภาษี ชวยกอให้เกดการแลกเปลียนข้อมูลภูมิสารสนเทศ ่ ่ ิ ่ ระหวางระบบ สงผลให้เกดการบูรณาการข้อมูลระหวางระบบภูมิสารสนเทศ สามารถนําข้อมูลภูมิสารสนเทศมาใช้งานในการวิเคราะห์หรื อจัดการปั ญหาในแบบ ่ ภาพรวม เชนในระดับจังหวัด ภูมิภาคหรื อระดับประเทศ ่ ่ 4. OWS เปิ ดชองทางการเข้าถึงข้อมูลภูมิสารสนเทศจากภายนอกสงผลให้ ข้อมูลภูมิสารสนเทศในระบบแผนทีภาษีสามารถนําไปใช้งานสารสนเทศด้านธุ รกจ ิ เชนธุรกจประกนภัย, ธนาคาร และอสังหาริ มทรัพย์ โดยมีส่ วนในการสนับสนุน ่ ิ ั ิ ่ ั ข้อมูลพืนฐานในการดําเนินงานทางธุรกจ ทําให้สามารถเพิมมูลคาให้กบข้อมูลภูมิ ่ สารสนเทศทีจัดทําขึน เชน การขายบริ การข้อมูลตามปริ มาณการใช้งานผาน่ อินเตอร์ เน็ต เป็ นต้น
  45. 45. สรปผลการศึกษา ุ
  46. 46. ขอบคณครับ ุ

×