SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 14 ฉบับที่ 2 เดือน พฤศจิกายน 2545-มีนาคม 2546                          หน้า 31




                 การวิจยเพือพัฒนาการเรียนการสอน
                       ั ่


                                                                                 ดร. วิชต สุรตน์เรืองชัย*
                                                                                        ิ ั



บทนำ                                              มีหนังสือเกียวกับการวิจยในชันเรียนพิมพ์จำหน่าย
                                                                  ่             ั ้
           จากการทีพระราชบัญญัตการศึกษาแห่ง
                   ่              ิ               ทั ่ ว ไปมี ป ริ ม าณเพิ ่ ม ขึ ้ น เท่ า ที ่ ไ ด้ ศ ึ ก ษาจาก
ชาติ พ.ศ. 2542 มาตราที่ 30 ได้กำหนดให้            เอกสารต่างๆเหล่านั้น พบว่ามีสาระสำคัญและ
สถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนทีมี     ่      กระบวนการวิจยทีแตกต่างกันไป แล้วแต่จดเน้น
                                                                      ั ่                                    ุ
ประสิทธิภาพ รวมทังส่งเสริมให้ผสอนสามารถ
                     ้              ู้            และมุมมองของนักวิชาการแต่ละท่าน ผู้เขียน
วิจยเพือพัฒนากระบวนการเรียนรูทเ่ี หมาะสมกับ
     ั ่                        ้                 คิดว่าการวิจัยในชั้นเรียน หรืออาจเรียกชื่ออื่นๆ
ผูเ้ รียนในแต่ละระดับการศึกษา (กระทรวงศึกษา       เช่น การวิจยของครู การวิจยเพือพัฒนาการเรียนรู้
                                                                ั                    ั ่
ธิการ, 2542 หน้า 23) การวิจยในชันเรียนจึงได้
                            ั          ้          เป็นต้น ล้วนแล้วแต่ มีความหมายไปในทำนอง
รับความสนใจและให้ความสำคัญอย่างจริงจังอีก         เดียวกัน คือการวิจัยที่ครูผู้สอนเป็นผู้ทำวิจัย
ครั้งหนึ่ง      มีการจัดอบรมเกี่ยวกับการวิจัย     และนำมาใช้เพื่อปรับปรุงและพัฒนาการเรียน
ในชันเรียนจากบุคคล กลุมบุคคล และองค์กรต่างๆ
        ้               ่                         การสอนในชันเรียนของตนเอง ส่วนวิธการและ
                                                                    ้                                     ี

* รองศาสตราจารย์ ประจำภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
หน้า 32                                           วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 14 ฉบับที่ 2 เดือน พฤศจิกายน 2545-มีนาคม 2546

ขันตอนอาจแตกต่างกันได้ ผูเ้ ขียนจึงขอเสนอ
  ้                                                                                                             ไปใช้ได้ผลเป็นทีนาพอใจในเรืองของการพัฒนา
                                                                                                                                       ่ ่                 ่
รูปแบบการวิจยประเภทหนึง ทีเ่ รียกว่า การวิจย
                            ั                            ่                                              ั       หลักสูตรท้องถิน การพัฒนาวิชาชีพครู การพัฒนา
                                                                                                                                     ่
เชิงปฏิบติ (action research) ซึงมีความเหมาะสม
                 ั                                           ่                                                  และเสริมสร้างคุณลักษณะทีพงประสงค์ของนักเรียน
                                                                                                                                                    ่ ึ
กับการนำไปใช้พัฒนาการเรียนการสอน ใน                                                                             และครู
ระดับชันเรียน มีขนตอนและวิธดำเนินการวิจย
               ้                         ้ั                             ี                             ั         ลักษณะสำคัญของการวิจยเชิงปฏิบติ ั                   ั
ไม่ยงยากสลับซับซ้อนมากนัก ครูผสอนสามารถ
        ุ่                                                                    ู้                                            การวิ จ ั ย เชิ ง ปฏิ บ ั ต ิ ม ี ล ั ก ษณะเฉพาะ
ดำเนินการวิจัยได้ด้วยตนเอง โดยใช้เวลาการ                                                                        ที่ควรทราบตามที่ เคมมิสและแมคแทกการ์ท
ปฏิบัติงานตามปกติไม่ต้องเดินทางไปศึกษา                                                                          (Kemmis and McTagart, 1990) ได้สรุปไว้
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องที่อื่น ไม่ต้อง                                                                   ดังต่อไปนี้
เดินทางไปทดลองหรือเก็บรวบรวมข้อมูลทีใด                                                     ่                                1.เป็นวิธีสำหรับปรับปรุงการปฏิบัติ
ความหมายและความเป็นมาของการวิจยเชิงปฏิบติ                                           ั             ั             งาน
                   การวิจยเชิงปฏิบติ หมายถึง กระบวนการ
                                ั                  ั                                                            โดยทำให้ เ กิ ด การเปลี ่ ย นแปลงและเรี ย นรู ้
ศึกษาค้นคว้าเพือแก้ปญหาทีเ่ กิดขึนจากการปฏิบติ
                              ่             ั                         ้                         ั               จากการเปลียนแปลงนัน
                                                                                                                                ่             ้
งานหรือเพือปรับปรุงและพัฒนาการปฏิบตงาน
                      ่                                                                   ั ิ                               2.เป็นการดำเนินงานของผู้ปฏิบัติงาน
ให้บรรลุผลตามที่ต้องการ โดยผู้ปฏิบัติงาน                                                                        เอง เพื่อพัฒนางานของตนเองและกลุ่มอาชีพ
เป็นผูดำเนินการวิจยในสถานทีทตนเองปฏิบตอยู่
           ้                           ั                         ่ ่ี                        ัิ                 ของตนเอง
ภายใต้สภาพแวดล้อมและบรรยากาศที่แท้จริง                                                                                      3.เป็นกระบวนการอย่างเป็นระบบและ
เมือนำการวิจยเชิงปฏิบตมาใช้กบการเรียนการสอน
    ่                   ั                     ัิ           ั                                                    ต่อเนืองเป็นวงจร โดยเริมจากการวางแผนการ
                                                                                                                         ่                        ่
จึงเรียกการวิจยเชิงปฏิบตวา การวิจยเพือพัฒนา
                          ั                        ัิ่                           ั ่                            ปฏิบตตามแผน การสังเกตและการสะท้อนผล
                                                                                                                         ัิ
การเรียนการสอน หรือการวิจยในชันเรียน ซึง                            ั             ้                       ่     เป็นวงจรเช่นนีไปเรือย ๆ จนกว่างานนัน จะได้รบ
                                                                                                                                    ้ ่                                   ้      ั
เป็นการศึกษาค้นคว้าเพือแก้ปญหาทีเ่ กิดขึนจาก     ่             ั                        ้                       การปรับปรุงตามทีตองการ   ่้
การปฏิบตการสอนของครูหรือเพือปรับปรุงและ
                   ัิ                                                     ่                                                 4. ต้องอาศัยความร่วมมือจากฝ่ายต่าง ๆ
พัฒนาการปฏิบตการสอนให้บรรลุผลตามทีตอง
                                  ัิ                                                         ่้                 ทีเ่ กียวข้อง เน้นกระบวนการกลุม
                                                                                                                       ่                                      ่
การ โดยครูผู้สอนเป็นผู้ดำเนินการวิจัยในชั้น                                                                                 5. เกิดจากความเต็มใจและเห็นความ
เรียนทีตนเองปฏิบตการสอนอยู่
             ่                         ัิ                                                                       สำคัญของการปรับปรุงและพัฒนางานของตนเอง
                      การวิจยเชิงปฏิบตเิ กิดขึนตามแนวคิด
                                     ั                 ั                    ้                                               6.การอธิบายปรากฏการณ์ตาง ๆ ทีเ่ กิด         ่
ของ Kurt Lewin นักจิตวิทยาสังคม ชาวอเมริกน                                                          ั           ขึน ใช้ความรูและประสบการณ์ของผูปฏิบตงาน
                                                                                                                  ้               ้                                         ้ ัิ
เมือประมาณปี ค.ศ. 1946 ได้รบการยอมรับและ
      ่                                                           ั                                             หรือกลุ่มวิชาชีพของผู้ปฏิบัติงานเอง ภายใต้
นำไปใช้อย่างกว้างขวางในการพัฒนาและปรับปรุง                                                                      เงือนไขและสภาพแวดล้อมทีเ่ ป็นอยูจริงมากกว่า
                                                                                                                     ่                                                ่
การปฏิบัติงานในองค์กรและชุมชนต่าง ๆ โดย                                                                         ทีจะเชือตามหรืออ้างอิงทฤษฎีจากภายนอกเพียง
                                                                                                                    ่ ่
เฉพาะในวงการศึกษาได้มการนำการวิจยเชิงปฏิบติ          ี                                ั                     ั   อย่างเดียว
วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 14 ฉบับที่ 2 เดือน พฤศจิกายน 2545-มีนาคม 2546                                    หน้า 33

           7. เป็นกระบวนการทีมความยืดหยุนสูง
                                       ่ ี          ่         ไปใช้ปรับ ปรุงการปฏิบตงานในวงจรต่อไป
                                                                                            ัิ
มีการปรับปรุงเปลียนแปลงการปฏิบตได้ตลอดเวลา
                    ่                      ัิ                              15. การวิจยเชิงปฏิบตไม่ใช่กระบวนการ
                                                                                        ั         ัิ
ขึนอยูกบข้อมูลและสถานการณ์ในขณะนัน
    ้ ่ั                                        ้             แก้ปัญหาง่าย ๆ ที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน แต่เป็น
           8.เน้นการสังเกตและบันทึกข้อมูลทีเ่ กิด             กระบวนการเรียนรู้ทำความเข้าใจปัญหาและแก้
ขึนจริงในแต่ละช่วงเวลาเพือวิเคราะห์และสรุปผล
  ้                            ่                              ปัญหาเพือปรับปรุงเปลียนแปลงการปฏิบตให้ดขน
                                                                         ่                ่                       ั ิ ี ้ึ
ทีถกต้อง
     ู่                                                                    16. การวิจัยเชิงปฏิบัติไม่ใช่การวิจัยที่
           9.เน้นทั้งผลที่เกิดขึ้นและกระบวนการ                นักวิชาการหรือนักวิจัยภายนอกที่อ้างตนว่าเป็น
ปฏิบตงานัิ                                                    ผูเ้ ชียวชาญเข้ามาศึกษาวิจยในชันเรียน แล้วสรุป
                                                                     ่                           ั ้
           10. เน้นวิธีการเชิงคุณภาพมากกว่าเชิง               เป็นองค์ความรูเ้ พือให้ครูนำไปปฏิบติ
                                                                                      ่                   ั
ปริมาณ                                                                     17. การวิจัยเชิงปฏิบัติไม่ใช่วิธีการทาง
           11. บริบท (context) เป็นสิ่งสำคัญที่               วิทยาศาสตร์ ไม่ใช่การทดสอบสมมุตฐานด้วยวิธี      ิ
นักวิจยในชันเรียนต้องคำนึงถึงทุกขันตอน โดย
         ั     ้                              ้               การทางสถิตจากการเก็บรวบรวมข้อมูลเพือหาข้อสรุป
                                                                              ิ                                 ่
เฉพาะในการสรุ ป ผลการวิ จ ั ย ต้ อ งคำนึ ง ถึ ง               ไม่อางผลจากกลุมตัวอย่างไปสูประชากรเหมือนการ
                                                                       ้          ่                ่
บริบทเสมอ                                                     วิจัยอื่น ๆ แต่การวิจัยเชิงปฏิบัติเน้นวิธีการทาง
           12. เริมวิจยจากจุดเล็ก ๆ โดยการเปลียน
                  ่ ั                                 ่       สังคมศาสตร์หลาย ๆ วิธรวมกันเพือก่อให้เกิดการ
                                                                                            ี่        ่
แปลงตนเองก่อน จากนันจึงเปลียนแปลงชันเรียน
                          ้              ่        ้           ปรับปรุงเปลียนแปลงของสถานการณ์มากกว่าการ
                                                                                ่
และโรงเรียนได้                                                อธิบายหรือตีความสถานการณ์
           13. เป็นการปฏิบตของตนเองหรือกลุม
                                 ั ิ                      ่   ขันตอนทัวไปของการวิจยเชิงปฏิบติ
                                                                  ้         ่                  ั        ั
เล็ก ๆ แต่เปิดโอกาสให้กลุมใหญ่ชวยเหลือ
                             ่             ่                                  การวิจัยเชิงปฏิบัติมีขั้นตอนสำคัญ 4
           14. เป็นวงจรเดียวกับการปฏิบัติงาน                  ขันตอน ได้แก่ ขันวางแผน (plan) ขันปฏิบตตาม
                                                                ้                   ้                       ้        ัิ
ตามปกติ เพียงแต่เพิ่มการสังเกตการปฏิบัติงาน                   แผน (act) ขั้นสังเกตผล (observe) และขั้น
และสะท้อนผลทีเ่ กิดขึนทุกขันตอนและนำผลนัน
                        ้            ้                  ้     สะท้อนผล (reflect) (Zuber-Skerrit, 1992 : 11)
                            วางแผน                                                   วางแผน




      สะทอนผล                              ปฏิบัติตามแผน     สะทอนผล                               ปฏิบัติตามแผน




                           สังเกตผล                                                 สังเกตผล

                               แผนภาพที่ 1 ขันตอนทัวไปของการวิจยเชิงปฏิบติ
                                            ้      ่           ั        ั
หน้า 34             วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 14 ฉบับที่ 2 เดือน พฤศจิกายน 2545-มีนาคม 2546


ขันตอนเฉพาะของการวิจยเพือพัฒนาการเรียนการสอน (ขันปฏิบติ จริงทีปรับจากขันตอนทัวไป)
  ้                  ั ่                             ้     ั     ่         ้       ่
       เพื่อให้กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติมี ความเหมาะสมและสอดคล้องกับลักษณะการปฏิบัติ
การสอนของครูไทย และง่ายต่อการทำความ เข้าใจ ผูเ้ ขียนจึงปรับขันตอนการวิจย เป็น 7 ขัน ดังนี้
                                                             ้         ั         ้

     กำหนดปัญหา                             -ประเด็นปัญหา
                                            -สิงทีตองการแก้ไข ปรับปรุง พัฒนา
                                               ่ ่ ้


     ศึกษาข้อมูลเบืองต้น
                   ้                        -บรรยายข้อเท็จจริงเกียวกับปัญหา
                                                                ่
                                            -อธิบายสาเหตุของปัญหา


     วางแผนปฏิบติ
               ั                            -กำหนดทางเลือกหลากหลาย
                                            -ตัดสินใจเลือกวิธีที่เหมาะสมที่สุด
                                            -กำหนดรายละเอียดการปฏิบตตามวิธนนๆ
                                                                        ั ิ    ี ้ั

     ปฏิบตตามแผน
         ั ิ


     สังเกตผล


     สรุปผล


     สะท้อนผล


    แผนภาพที่ 2 แผนภูมขนตอนการทำวิจยเชิงปฏิบตหรือการวิจยเพือพัฒนาการเรียนการสอน
                      ิ ้ั         ั        ัิ         ั ่
วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 14 ฉบับที่ 2 เดือน พฤศจิกายน 2545-มีนาคม 2546                                       หน้า 35


          1. กำหนดปัญหา                                                          จากตัวอย่าง จะเห็นได้วา เป็นปัญหา ่
             จุ ด เริ ่ ม ของการวิ จ ั ย เชิ ง ปฏิ บ ั ต ิ คื อ   ในเชิงแก้ไขทั้งสิ้น กล่าวคือมีปัญหาและข้อ
กำหนดแนวคิดให้ได้ว่ามีปัญหาอะไรที่ต้องการ                         ขั ด ข้ อ งเกิ ด ขึ ้ น แล้ ว และส่ ง ผลต่ อ คุ ณ ภาพ
แก้ไข หรือประเด็นใดทีตองการพัฒนา โดยเริม
                               ่้                             ่   ของการจัดการเรียนการสอนแล้ว ต้องรีบแก้ไข
จากการสำรวจสภาพทั่วไปของการเรียนการ                               แต่ในบางกรณีปัญหายังไม่เกิดขึ้น เพียงแต่มี
สอนทีเ่ กิดขึนในชันเรียนว่ามีปญหาเกิดขึนหรือไม่
             ้          ้          ั             ้                แนวโน้มว่ากำลังจะเกิดขึ้น ผู้วิจัยก็สามารถ
กำหนดประเด็นปัญหาที่ต้องการแก้ไขกว้าง ๆ                           กำหนดปัญหานั้นเป็นประเด็นปัญหาเช่นกัน
จากนันพิจารณาให้ชดเจนว่าปัญหาทีแท้จริงคืออะไร
     ้                    ั                ่                      เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาขึ้น เรียกว่าปัญหา
เป็นปัญหาสำคัญหรือไม่ แก้ไขได้หรือไม่ ปัญหา                       เชิงป้องกัน หรือในบางกรณี ไม่มแนวโน้มว่าจะมี   ี
ที่กำหนดนั้นอาจเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นกับตนเอง                       ปัญหาเกิดขึ้น ผู้วิจัยหรือครูผู้สอนก็สามารถ
เพียงคนเดียว หรือเป็นปัญหาร่วมของกลุ่มก็ได้                       กำหนดประเด็นหรือจุดที่ต้องการพัฒนาให้มี
เทคนิคในการกำหนดปัญหาทีชดเจนคือ พยายาม
                                     ่ั                           คุณภาพยิ่งๆขึ้นไปได้ เพื่อหางทางพัฒนาให้
กำหนดแยกเป็น 2 ประเด็น                                            สิ่งนั้นเกิดขึ้น เรียกว่า ปัญหาเชิงพัฒนา ดังนั้น
                1.1 ประเด็นปัญหา ได้แก่ ประเด็น                   จะเห็นได้วาประเด็นปัญหาทีกำหนด ในขันตอน
                                                                                 ่                       ่             ้
ปัญหาทีเ่ กิดขึนจริงในชันเรียน ตัวอย่างเช่น
                 ้           ้                                    แรกของการวิจัยนั้น อาจเป็นไปได้ทั้งปัญหา
                - ปัญหานักเรียนขาดเรียนบ่อย                       เชิงป้องกัน ปัญหาเชิงแก้ไข และปัญหาเชิง
                - ปัญหานักเรียนไม่สงการบ้าน  ่                    พัฒนา ที่สำคัญคือต้องเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นจริง
                - ปัญหานักเรียนคิดไตร่ตรองไม่เป็น                 หรื อ คาดว่ า จะเกิ ด ขึ ้ น หรื อ เป็ น ปั ญ หาที ่ จ ะ
                - ปัญหานักเรียนไม่สนใจการเรียน                    ก่ อ ให้ เ กิ ด การพั ฒ นาขึ ้ น ได้ ใ นชั ้ น เรี ย นจริ ง
                -ปัญหานักเรียนมีพฤติกรรมก้าวร้าว                  เป็นปัญหาสำคัญ ไม่ใช่ปญหา ทีกำหนดขึนมาเอง
                                                                                                 ั             ่     ้
                -ปัญหานักเรียนซึมเศร้าโดดเดียว          ่         เพือเป็นหัวข้อทำวิจย ปัญหานันอาจเป็นปัญหา
                                                                      ่                    ั                 ้
ตนเอง                                                             ใหญ่ ปัญหาเล็ก ปัญหารายบุคคล หรือปัญหา
                -ปัญหานักเรียนไม่ชอบวิชาคณิต-                     ของกลุมก็ได้
                                                                           ่
ศาสตร์                                                                           1.2 ประเด็นทีตองการแก้ไข ปรับปรุง
                                                                                                   ่ ้
                - ปัญหานักเรียนมีผลสัมฤทธิ์การ                    พัฒนา ได้แก่ สิ่งที่ต้องการแก้ไขปรับปรุงหรือ
เรียนวิชาภาษาไทยต่ำ                                               พัฒนาให้เกิดขึน โดยคาดว่าเมือสิงนันเกิดขึนแล้ว
                                                                                     ้                     ่ ่ ้         ้
                - ปัญหานักเรียนใช้เวลาว่างไม่เป็น                 จะแก้ปัญหาได้ ตัวอย่างเช่น ประเด็นปัญหา
ประโยชน์                                                          ทังหมดตาม ข้อ 1.1 สามารถกำหนดเป็นประเด็น
                                                                    ้
                - ฯลฯ                                             ทีตองแก้ไข / ปรับปรุงได้ดงนี้
                                                                    ่้                                 ั
หน้า 36                     วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 14 ฉบับที่ 2 เดือน พฤศจิกายน 2545-มีนาคม 2546

                   - ปัญหานักเรียนขาดเรียนบ่อย ทำ               ทุกแง่ทุกมุม โดยใช้วิธีการต่าง ๆ เพื่อบรรยาย
อย่างไรนักเรียนจึงจะขาดเรียนน้อยลง                              ข้อเท็จจริงของปัญหาให้ได้มากที่สุด และเพื่อ
                   - ปัญหานักเรียนไม่สงการบ้าน ทำ
                                           ่                    อธิบายว่าปัญหานั้นเกิดจากสาเหตุใด ในขั้นนี้
อย่างไรนักเรียนจึงจะส่งการบ้านตรงเวลา                           ต้องมีการตรวจสอบสาเหตุที่แท้จริงของปัญหา
                   - ปัญหานักเรียนคิดไตร่ตรองไม่เป็น            โดยมีการคาดเดาสาเหตุของปัญหาอย่างมีเหตุผล
ทำอย่างไรนักเรียนจึงจะคิดเป็น                                   และมีการตรวจสอบสาเหตุที่คาดเดาด้วยวิธีการ
                   - ปัญหานักเรียนไม่สนใจการเรียน               หลากหลาย โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ใน
ทำอย่างไรนักเรียนจึงจะสนใจการเรียน                              การสอนของตนเองและเพื่อนครูที่สั่งสมมาเป็น
                   - ปัญหานักเรียนมีพฤติกรรมก้าวร้าว            เวลานานรวมทั ้ ง ขอคำแนะนำจากผู ้ ร ู ้ ผู ้ ม ี
ทำอย่างไรนักเรียนจึงจะมีพฤติกรรมไม่กาวร้าว           ้          ประสบการณ์ และศึกษาข้อมูลอืน ๆ ประกอบ ่
                   - ปัญหานักเรียนซึมเศร้าโดดเดี่ยว             รายละเอียดของขันตอนที่ 2 มี ดังนี้
                                                                                      ้
ตนเอง ทำอย่างไรนักเรียนจึงจะร่าเริง เข้าสังคม                                2.1 บรรยายข้อเท็จจริง โดยครูผสอน
                                                                                                            ู้
ปกติ                                                            เป็นผูเ้ ก็บรวบรวมข้อมูลทีเ่ กียวข้องกับปัญหา
                                                                                              ่
                   - ปัญหานักเรียนไม่ชอบวิชาคณิต                ทังหมดอย่างละเอียด โดยใช้วธสงเกต สอบถาม
                                                                  ้                              ิี ั
ศาสตร์ ทำอย่างไรนักเรียนจึงจะชอบเรียนวิชา                       สั ม ภาษณ์ ศึ ก ษาเอกสาร อั ต ชี ว ประวั ต ิ
คณิตศาสตร์                                                      ทะเบียนประวัติ ฯลฯ จากนั้นจดบันทึกข้อมูล
                   - ปัญหานักเรียนมีผลสัมฤทธิ์การ               ทั้งหมด เช่น ตัวอย่างปัญหานักเรียนไม่สนใจ
เรียนวิชาภาษาไทยต่ำ ทำอย่างไรนักเรียนจึงจะมี                    การเรี ย น ครู ต ้ อ งศึ ก ษาและบรรยายข้ อ เท็ จ
ผลสัมฤทธิการเรียนวิชาภาษาไทยสูงขึน
                 ์                                 ้            จริงให้ได้วา ่
                   - ปัญหานักเรียนใช้เวลาว่างไม่เป็น                           -มีผไม่สนใจการเรียนกีคนใครบ้าง
                                                                                   ู้                   ่
ประโยชน์ ทำอย่างไรนักเรียนจึงจะใช้เวลาว่าง
ให้เป็นประโยชน์                                                              -ไม่สนใจการเรียนวันใดบ้าง ช่วง
                   จะเห็นได้ว่าการกำหนดประเด็นที่               เวลาใด
ต้องการปรับปรุงหรือพัฒนานี้ จะช่วยให้ครู มอง                                 -ไม่สนใจการเรียนวิชาอะไร ใคร
เห็นเป้าหมายที่ชัดเจนว่าการวิจัยในชั้นเรียน                     เป็นผูสอนในวิชานัน
                                                                      ้            ้
ครั ้ ง นี ้ ท ำเพื ่ อ อะไร ผลที ่ จ ะเกิ ด ขึ ้ น คื อ อะไร                -นักเรียนแต่ละคนที่ไม่สนใจการ
แนวทางดำเนินการเป็นอย่างไร                                      เรียนมีประวัตและข้อมูลส่วนตัวอย่างไร มีปญหา
                                                                              ิ                         ั
               2. ศึกษาข้อมูลเบืองต้นเกียวกับประเด็น
                                ้            ่                  ส่วนตัว ปัญหาสุขภาพ ปัญหาอืน ๆ หรือไม่
                                                                                             ่
ปั ญ หา เป็ น การคิ ด พิ จ ารณาทบทวนค้ น หา                                  ฯลฯ
ข้อเท็จจริงเพือทำความเข้าใจปัญหานันอย่างชัดเจน
                    ่                          ้
วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 14 ฉบับที่ 2 เดือน พฤศจิกายน 2545-มีนาคม 2546                                 หน้า 37

               2.2 อธิบายสาเหตุของปัญหา เมือครู  ่       หลังจากพิสจน์สมมุตฐานแล้วสรุปได้วา สาเหตุ
                                                                         ู          ิ                     ่
เก็บข้อมูลข้อเท็จจริงได้มากพอสมควรแล้วต้อง               สำคัญที่ทำให้นักเรียนไม่สนใจการเรียน คือ
พยายามหาสาเหตุให้ได้ว่าปัญหานั้นๆ เกิดจาก                พฤติกรรมการสอนของครูไม่นาสนใจ บรรยากาศ
                                                                                              ่
สาเหตุใด ทั้งนี้ครูต้องใช้ความรู้ความ สามารถ             การเรียนเฉือยชา ซึงเป็นไปตามสมมุตฐานทีตง
                                                                       ่          ่                         ิ      ่ ้ั
และความช่วยเหลือจากกลุ่มเพื่อนครู ศึกษา                  ไว้
นิเทศก์หรือผู้เชี่ยวชาญ เพื่อช่วยกันวิเคราะห์                         3. วางแผนปฏิบติ     ั
สาเหตุทแท้จริงของปัญหา มีขนตอนย่อย ๆ ดังนี้
          ่ี                     ้ั                                   เป็นการกำหนดวิธีการหรือกิจกรรม
                 2.2.1 พิจารณาข้อเท็จจริงทุกแง่มม    ุ   การปฏิบตทจะนำไปใช้แก้ปญหาตามสาเหตุของ
                                                                   ั ิ ่ี                   ั
ได้แก่ ข้อมูลของนักเรียนรายบุคคลทีเ่ ก็บรวบรวม           ปัญหาที่พบในขั้นตอนก่อน วิธีการในขั้นนี้
มาได้ในขันตอนก่อน
             ้                                           ส่ ว นมากจะเริ ่ ม จาก การคิ ด พิ จ ารณาหาทาง
                 2.2.2 ตังสมมุตฐาน (คาดเดาสาเหตุ
                         ้     ิ                         เลือกในการแก้ปญหาทีนาจะเป็นไปได้ให้มากทีสด
                                                                              ั       ่ ่                          ุ่
ของปัญหาอย่างมีเหตุผล) วิธีพิจารณาอาจต้อง                จากนั้นพิจารณาเปรียบเทียบแต่วิธี จนในที่สุด
ใช้กลุ่มเพื่อนครูหรือผู้มีความรู้ช่วยกันพิจารณา          ตัดสินใจเลือกวิธใดวิธหนึงหรือหลายวิธผสมกัน
                                                                                ี ี ่                         ี
และคาดเดาถึงสาเหตุ จากตัวอย่างอาจคาดเดาว่า               จากนั้นจึงกำหนดรายละเอียดของวิธีนั้นให้เป็น
สาเหตุสำคัญของการไม่สนใจการเรียน เนืองมา       ่         กิจกรรมทีชดเจนเป็นลำดับสามารถนำไปปฏิบติ
                                                                      ่ั                                             ั
จากพฤติ ก รรมการสอนของครู ไ ม่ น ่ า สนใจ                จริงได้ ควรกำหนดระยะเวลาไว้ดวย จัดทำหรือ    ้
บรรยากาศการเรียนเฉื่อยชา ทำให้นักเรียน                   เขียนเป็นแผนปฏิบัติการ รายละเอียดของการ
เบือหน่าย ไม่มแรงจูงใจในการเรียน เป็นต้น
   ่               ี                                     วางแผนปฏิบตมดงนี้ ัิ ีั
                 2.2.3 พิสจน์สมมุตฐานนัน โดยใช้
                           ู        ิ      ้                          3.1 กำหนดทางเลือกในการแก้ปญหา             ั
วิธการต่าง ๆ ส่วนใหญ่จะใช้การสังเกต สอบถาม
     ี                                                   หลายวิธี
สัมภาษณ์ในชั้นเรียนจริง จากตัวอย่างปัญหา                              3.2 พิจารณาเลือกวิธทเ่ี หมาะสมทีสด
                                                                                                   ี              ่ ุ
นักเรียนไม่สนใจการเรียน ครูผสอนต้องคอยู้                 เพียง 1 วิธี หรือหลายวิธผสมกัน ี
สั ง เกตพฤติ ก รรมนั ก เรี ย นในระหว่ า งเรี ย น                      3.3 จัดทำแผนปฏิบตการประกอบด้วย
                                                                                              ัิ
มอบหมายงานให้นกเรียนเขียนเรียงความเกียวกับ
                       ั                     ่                             3.3.1 หลักการและแนวคิด
ตนเอง สนทนากับนักเรียนในเวลาว่าง สอบถาม                                    3.3.2 วัตถุประสงค์ (สิงทีตองปรับ
                                                                                                       ่ ่้
จาก เพือน เยียมเยียนและสนทนากับผูปกครอง
        ่        ่                       ้               ปรุงหรือพัฒนา)
                 2.2.4 สรุปสาเหตุของปัญหา เมือถึง  ่                       3.3.3 เป้าหมาย (เชิงปริมาณและ
ขั้นตอนนี้แล้วครูน่าจะรู้สาเหตุที่แท้จริงของ             คุณภาพ)
ปัญหาว่าคืออะไร ซึ่งสาเหตุของปัญหาของ                                      3.3.4 กิจกรรมการปฏิบติ       ั
นักเรียนแต่ละรายอาจไม่เหมือนกันหรือเหมือนกันก็ได้                          3.3.5 ระยะเวลาทีดำเนินการ
                                                                                                 ่
ตัวอย่าง ปัญหานักเรียนไม่สนใจการเรียนนี้
หน้า 38                 วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 14 ฉบับที่ 2 เดือน พฤศจิกายน 2545-มีนาคม 2546

              3.3.6 บุคลากรทีตองการ
                                 ่้                                   4 เปลียนวิธสอนเป็นแบบเพือนสอน
                                                                            ่    ี            ่
              3.3.7 สือ วัสดุ อุปกรณ์ งบประมาณ
                      ่                                เพื่อน
ทีตองใช้
 ่้                                                              5 ใช้สอการสอนทีทนสมัย น่าสนใจ
                                                                        ่ื       ่ ั
              3.3.8 แนวทางการวัดและประเมิน             เช่น คอมพิวเตอร์
ผล                                                               6 ใช้การเสริมแรงในห้องเรียนด้วย
              จากตัวอย่างปัญหานักเรียนไม่สนใจ          การให้เบียอัตถกร (token)
                                                               ้
การเรี ย นเนื ่ อ งจากพฤติ ก รรมการสอนของ                        7 กำหนดบทลงโทษผูทชอบขาดเรียน
                                                                                     ้ ่ี
ครูไม่นาสนใจ บรรยากาศการเรียนเฉือยชา อาจ
           ่                           ่               เกินกำหนดอย่างเด็ดขาด
สามารถกำหนดวิธีการแก้ปัญหาไว้หลากหลาย
ดังนี้                                                 จากนันตัดสินใจเลือกวิธทเ่ี ห็นว่าเหมาะ สมทีสด
                                                                ้                           ี                        ่ ุ
              1 ปรับกิจกรรมการเรียนการสอนโดย           จากตั ว อย่ า งเลื อ กสมมุ ต ิ ว ่ า เลื อ กใช้ ก าร
ยึดผูเ้ รียนเป็นสำคัญมากขึน  ้                         เสริมแรงในห้องเรียนด้วยวการให้เบี้ยอัตถกร
              2 จัดทำบทเรียนสำเร็จรูปให้นกเรียน
                                              ั        เพื่อจูงใจให้นักเรียนสนใจและเรียนรู้อย่างมี
นำไปเรียนด้วยตนเอง                                     ความสุข โดยใช้วธนกบนักเรียนทังชัน แต่สงเกต
                                                                                ิ ี ้ี ั               ้ ้         ั
              3 จั ด กิ จ กรรมเสริ ม หลั ก สู ต รให้   ผลที ่ เ กิ ด ขึ ้ น กั บ นั ก เรี ย นที ่ ม ี ป ั ญ หาเท่ า นั ้ น
นักเรียนเข้าร่วม                                       จากนันจัดทำแผนปฏิบตการเพือแก้ไขปัญหาตาม
                                                              ้                          ัิ       ่
                                                       สาเหตุ ตัวอย่างรายละเอียดของแผน มีดงนี้                 ั


                        แผนการวิจยเชิงปฏิบตเิ พือแก้ปญหานักเรียนไม่สนใจการเรียน
                                 ั        ั ่        ั

        หลักการและแนวคิด
             การเสริมแรงด้วยการใช้เบี้ยอัตถกร (token ) เป็นวิธีการทางจิตวิทยาที่ช่วยโน้มน้าว
ความสนใจและปรับพฤติกรรม ของนักเรียนอย่างได้ผลในระยะเวลาอันรวดเร็ว…

           วัตถุประสงค์
                 เพือแก้ปญหานักเรียนไม่สนใจการเรียนในชันเรียน
                    ่    ั                             ้

           เป้าหมาย
                 นักเรียนทีไม่สนใจการเรียน มีความสนใจการเรียนเพิมขึนทุกคน
                          ่                                     ่ ้
วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 14 ฉบับที่ 2 เดือน พฤศจิกายน 2545-มีนาคม 2546                  หน้า 39

            กิจกรรมการปฏิบติ และ ระยะเวลา
                          ั

    สัปดาหที่                           กิจกรรมการปฏิบัติ                        ระยะเวลา
        1           - ทําความตกลงกับนักเรียนทั้งชันวาจะมีโครงการเสริมแรง
                                                  ้
                      ดวย เบี้ยอัตถกร โดยมีหลักการวา ใครมาเรียนสม่ําเสมอ ตั้ง
                      ใจเรียน ทํางานที่ไดรับมอบหมายจนสําเร็จ ฯลฯ จะไดรบ ั
                      เบี้ยอัตถกร เพื่อสะสมไวแลกของรางวัลได
                    - ใหนักเรียนอภิปรายแสดงความคิดเห็นและรวมกันกําหนด
                      หลักเกณฑการไดรบเบี้ยอัตรถกร
                                         ั

       1-4          - แจกเบี้ยอัตถกร ใหกับผูท่ทําตามหลักเกณฑ
                                                ี
                    - ประกาศราชื่อผูไดรบเบี้ยอัตรถกร และจะนวนที่ไดรบใหนัก
                                     ั                              ั
                      เรียนทราบโดยทั่วกันทุกวัน

       5-6          - ปรับลดการเสริมแรงดวยเบี้ยอัตถกร ลงทีละนอย ๆ ใชการ
                      เสริมแรงดวยวาจาแทน

        7           - หยุดการใหเบี้ยอัตรถกร
                    - -สรุปผลที่เกิดขึ้น

            บุคลากรทีตองการ
                     ่ ้
                  ไม่ตองการบุคลากรเพิม
                       ้             ่

            สือ วัสดุ อุปกรณ์ ทีตองใช้
             ่                  ่ ้
                   เหรียญพลาสติกกลมคล้ายเหรียญบาท

            แนวทางการวัดและประเมินผล
                1. สังเกตพฤติกรรมการเรียน
                2. สนทนากับนักเรียนอย่างไม่เป็นทางการ
หน้า 40                  วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 14 ฉบับที่ 2 เดือน พฤศจิกายน 2545-มีนาคม 2546


         4. ปฏิบตตามแผน
                  ั ิ                                     เรียน การสนทนาอย่างไม่เป็นทางการถึงความ
         เป็นการปฏิบตตามแผนทีกำหนดไว้ใน
                      ัิ        ่                         รูสกความสนใจของนักเรียน เป็นต้น
                                                            ้ ึ
ชั้นเรียนจริง นักเรียนจริง สภาพแวดล้อมจริง
ทำได้โดยครูผสอนยังคงดำเนินการจัดกิจกรรมการ
               ู้                                                  6. สรุปผล
เรียนการสอนตามปกติ เพียงแต่ว่าปรับเปลี่ยน                          เป็นการนำข้อมูลที่ได้จากการสังเกต
พฤติกรรมการสอนของตนเองจากเดิมที่ไม่ค่อย                   ผลมาพิจารณาเปรียบเทียบกับประเด็นปัญหาทีกำหนด
                                                                                                  ่
สนใจนักเรียนเท่าใดนัก มาเป็นการให้ความ                    เพือตัดสินใจว่าปัญหาได้รบการแก้ไขแล้วหรือไม่
                                                             ่                    ั
สนใจเอาใจใส่ดูแล และเสริมแรงตามแผนที่                     สมบูณณ์เพียงใด ยังมีปัญหาอะไรบ้างที่ต้อง
กำหนดไว้ จากตัวอย่างแผนจะเห็นได้วา วิธการ
                                    ่ ี                   แก้ไขต่อไป จากตัวอย่าง หากเวลาผ่านไป 1 เดือน
หลักที่จะนำไปใช้คือ เทคนิคการเสริมแรง                     ความสนใจในการเรียนมากขึน แสดงว่าปัญหา
                                                                                     ้
ด้วยการใช้เบียอัตถกร โดยคาดว่าเทคนิคดังกล่าว
             ้                                            ได้รบการแก้ไขแล้ว แต่หากผลทีเ่ กิดขึนยังไม่
                                                               ั                                ้
ร่วมกับการสอนตามปกติอยู่แล้วนั้น จะส่งผล                  ชัดเจน อาจต้องเพิ่มเวลาการปฏิบัติในแผน
ให้นกเรียนมีความสนใจในการเรียน ขจัดความ
     ั                                                    ให้มากขึน ทังนีขนอยูกบผลการสังเกตทีทำเป็น
                                                                   ้ ้ ้ ้ึ ่ ั                     ่
เบือหน่ายการเรียนของนักเรียน
   ่                                                      ระยะ ว่าสรุปผลได้หรือไม่

           5. สังเกตผล                                               7. สะท้อนผล
           เป็ น การสั ง เกตผลที ่ เ กิ ด ขึ ้ น จากการ                  เป็นการนำข้อสรุปและข้อสังเกตต่าง ๆ
ปฏิบตตามแผน (การประเมินผล) โดยครูผปฏิบติ
       ัิ                                          ู้ ั   ไปใช้สำหรับปรับปรุงแก้ไขแผนต่อไป กรณี
เป็นผู้สังเกตเอง ขั้นตอนนี้ดำเนินการช่วงเดียว             ทีสรุปว่าปัญหายังไม่ได้รบการแก้ไข หรือประเด็น
                                                            ่                             ั
กับการปฏิบตตามแผน คือ ปฏิบตไปสังเกตผลไป
               ัิ                  ัิ                     ที ่ ต ้ อ งการพั ฒ นายั ง ไม่ เ กิ ด ขึ ้ น ให้ ป รั บ ปรุ ง
ใช้วธการต่าง ๆ ทีเ่ หมาะสม เช่น สังเกต สอบถาม
      ิี                                                  แผนใหม่โดยใช้ข้อมูลที่ได้รับ จากนั้นนำแผน
สัมภาษณ์ ตรวจผลงาน (วิธการเชิงคุณภาพมักใช้
                             ี                            ไปปฏิบติ สังเกตผล และสะท้อนผล ทำเช่นนีไป
                                                                       ั                                           ้
ได้ผลดี) เน้นการสังเกตผลทีเ่ กิดขึนตามสภาพจริง
                                     ้                    เรือย ๆ จนกว่าจะสำเร็จผล จึงเริมกระบวนใหม่
                                                              ่                                       ่
ครอบคลุ ม ทุ ก ประเด็ น ทั ้ ง ผลที ่ เ กิ ด ขึ ้ น และ   แก้ปญหาใหม่ พัฒนาประเด็นใหม่ จากตัวอย่าง
                                                                   ั
กระบวนการปฏิบัติของตนเอง พยายามบันทึก                     เรืองปัญหานักเรียนไม่สนใจการเรียน หลังจาก
                                                                ่
เหตุการณ์ สภาพแวดล้อม บรรยากาศ ผลทีเ่ กิดขึน          ้   สรุปผลแล้ว หากแก้ปญหาได้กคงมีประเด็นที่
                                                                                        ั               ็
และข้อสังเกตต่าง ๆ ให้มากทีสด จากนันสรุปผล
                               ่ ุ              ้         น่าสนใจอื่น ๆ เกิดขึ้นมากมายที่จะต้องนำมา
ที่เกิดขึ้นว่าแก้ปัญหาได้หรือไม่ จากตัวอย่างที่           อภิปรายกัน เช่น แก้ปัญหาได้ถาวรหรือไม่
กล่าวมานั้น จะห็นได้ว่าวิธีการสังเกตที่น่าจะ              วิธการนีกอให้เกิดปัญอืนๆ ตามหรือไม่ หรือถ้า
                                                                  ี ้่                ่
ใช้ได้ผล คือ การสังเกตพฤติกรรมในระหว่าง                   แก้ไขไม่ได้ อาจต้องมีการทบทวนและปรับการ
วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 14 ฉบับที่ 2 เดือน พฤศจิกายน 2545-มีนาคม 2546                               หน้า 41

วิจยทังหมดถ้าพบว่าการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาผิด
   ั ้                                                            - ผลการศึกษาข้อเท็จจริง
ต้องวิเคราะห์ใหม่และวางแผนใหม่ ปฏิบตใหม่  ัิ                   บทที่ 3 การวางแผนแก้ปญหา ั
หรืออาจปรับเพียงเล็กน้อย                                          - วิธการกำหนดแผน
                                                                       ี
           โดยสรุป จะเห็นได้ว่า การวิจัยในชั้น                    - รายละเอียดของแผนทีกำหนด
                                                                                          ่
เรียนก็คอ การแก้ปญหาและปรับปรุงพัฒนาการ
         ื         ั                                           บทที่ 4 การปฏิบัติตามแผนและการ
เรียนการสอนในชั้นเรียนนั่นเอง และมีความ                สังเกตผล
ยืดหยุนสูงมาก
       ่                                                          - วิธปฏิบตตามแผนและการสังเกต
                                                                         ี ัิ
                                                       ผล
การเขียนรายงานการวิจย
                    ั                                             - ตารางการปฏิบัติงานและสังเกต
         ตามปกติไม่มการกำหนดหัวข้อไว้อย่าง
                        ี                              ผล
ชัดเจนว่าต้องเขียนอย่างไร แต่ควรเขียนให้                          - ผลการสังเกต
เข้าใจง่าย สั้น กะทัดรัด ข้อพึงเข้าใจไว้ก็คือ                  บทที่ 5 สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอ
เขียนเพื่อบันทึกเหตุการณ์เรื่องราวของการแก้            แนะ
ปัญหาทีเ่ กิดขึนในชันเรียน เพือเป็นหลักฐานไว้
               ้      ้                 ่                         - สรุปผลการแก้ปญหาั
ศึกษา ไม่ใช่เขียนเพื่อส่งไปเผยแพร่หรือให้ใคร                      - ข้อสังเกตต่าง ๆ ทีพบ
                                                                                      ่
อ้างอิงผลไปใช้เพราะการวิจยในลักษณะนีไม่ยนยันว่า
                            ั                 ้ ื                 - ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงแผน
จะเอาไปใช้กับกลุ่มอื่นได้ผลหรือไม่อย่างไร              ต่อไป
มีลักษณะเช่นเดียวกับกรณีศึกษา(case study)                      บทที่ 6 ภาคผนวก
อย่างไรก็ตามขอเสนอแนะว่าควรเขียนรายงาน                            - ผลงานของครู
เรียงตามขันตอนการทำวิจย ดังนี้
           ้                    ั                                 - ผลงานนักเรียน
         บทที่ 1 ปัญหาทีเ่ กิดขึน     ้                           - หลักฐานอืน ๆ
                                                                              ่
              - สภาพปัจจุบันของโรงเรียน ชั้น
เรียน นักเรียน การจัดการเรียนการสอน ฯลฯ
                                                       สรุป
              - ปัญหาทีเ่ กิดขึน (ปัญหา)
                                    ้
                                                                การวิ จ ั ย เชิ ง ปฏิ บ ั ต ิ เ ป็ น การวิ จ ั ย ที ่
              - สิ่งที่ต้องแก้ไข ปรับปรุงหรือ
                                                       เหมาะสมกับการพัฒนาการเรียนการสอนของครู
พัฒนา (วัตถุประสงค์)
                                                       ในทุกระดับ ครูผสอนสามารถดำเนินการวิจยได้
                                                                          ู้                                ั
         บทที่ 2 การศึกษาข้อมูลเบืองต้น     ้
                                                       พร้อมๆ กับการปฏิบตหน้าทีในชันเรียน ไม่ตอง
                                                                               ัิ      ่ ้                      ้
              - ข้อเท็จจริงเกียวกับปัญหาทีตองการ
                                  ่             ่้
                                                       ใช้เงินงบประมาณมากมาย ไม่ตองเสียเวลามาก  ้
ทราบ
                                                       นัก แต่ประโยชน์ทได้คมค่า เป็นการพัฒนาครูไป
                                                                             ่ี ุ้
              - วิธศกษาเพือให้ได้ขอเท็จจริงเกียว
                   ีึ         ่           ้        ่
                                                       สูครูวชาชีพชันสูงอย่างแท้จริง
                                                         ่ ิ        ้
กับปัญหา
หน้า 42             วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 14 ฉบับที่ 2 เดือน พฤศจิกายน 2545-มีนาคม 2546


                                        เอกสารอ้างอิง

ศึกษาธิการ, กระทรวง. (2542). พระราชบัญญัตการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ :
                                             ิ
           คุรสภาลาดพร้าว.
              ุ
Kemmis, S and , McTagart. (1990). The Action Research Planner. Geelong : Deakin University
           Press.
Elliot, John. (1997). Action Research for Education Change. Philladelphia : Prentice Hall .
Zuber-Skerrit, O. (1992). Action Research in Higher Education. London : Kogan Page,

More Related Content

What's hot

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตรความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตรtanongsak
 
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางNampeung Kero
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
Is1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม2
Is1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม2Is1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม2
Is1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม2พัน พัน
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานkruthai40
 
รายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
รายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองรายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
รายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองChamoi Buarabutthong
 
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการ
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการ
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการkhamnueng_1
 
กำหนดการจัดการเรียนรู้
กำหนดการจัดการเรียนรู้กำหนดการจัดการเรียนรู้
กำหนดการจัดการเรียนรู้guest9fcc72
 
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยาMko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยาNanzzy Sutthanont
 
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรJiraprapa Suwannajak
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารKetsarin Prommajun
 
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์tuiye
 
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ศน. โมเมจ้า
 
ทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรTawatchai Bunchuay
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1suranon Chaimuangchuan
 

What's hot (20)

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตรความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
 
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
Is1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม2
Is1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม2Is1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม2
Is1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม2
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 
รายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
รายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองรายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
รายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
 
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการ
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการ
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการ
 
กำหนดการจัดการเรียนรู้
กำหนดการจัดการเรียนรู้กำหนดการจัดการเรียนรู้
กำหนดการจัดการเรียนรู้
 
Lessonplanbio5
Lessonplanbio5Lessonplanbio5
Lessonplanbio5
 
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยาMko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
 
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร
 
Standard7
Standard7Standard7
Standard7
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
 
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
 
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
 
ทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตร
 
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการนโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
 

Similar to การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน

จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนวyutict
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3bussayamas1618
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54Jiraporn
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2powe1234
 
เอกสารการกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาตามแผนการจัดการความรู้ 54
เอกสารการกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาตามแผนการจัดการความรู้ 54เอกสารการกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาตามแผนการจัดการความรู้ 54
เอกสารการกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาตามแผนการจัดการความรู้ 54นู๋หนึ่ง nooneung
 
การวิจัยสถาบัน
การวิจัยสถาบันการวิจัยสถาบัน
การวิจัยสถาบันNU
 
การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)
การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)
การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)Khon Kaen University
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2Jiramet Ponyiam
 
Word qd
Word qdWord qd
Word qdMUQD
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2nang_phy29
 
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333Chirinee Deeraksa
 
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อJeeraJaree Srithai
 
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...Weerachat Martluplao
 

Similar to การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน (20)

Commm
CommmCommm
Commm
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนว
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
Utq 2128 1-pdf
Utq 2128 1-pdfUtq 2128 1-pdf
Utq 2128 1-pdf
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
PPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัยPPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัย
 
เอกสารการกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาตามแผนการจัดการความรู้ 54
เอกสารการกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาตามแผนการจัดการความรู้ 54เอกสารการกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาตามแผนการจัดการความรู้ 54
เอกสารการกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาตามแผนการจัดการความรู้ 54
 
การวิจัยสถาบัน
การวิจัยสถาบันการวิจัยสถาบัน
การวิจัยสถาบัน
 
การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)
การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)
การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
 
Word qd
Word qdWord qd
Word qd
 
Com 1
Com 1Com 1
Com 1
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
 
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
 
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
 

การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน

  • 1. วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 14 ฉบับที่ 2 เดือน พฤศจิกายน 2545-มีนาคม 2546 หน้า 31 การวิจยเพือพัฒนาการเรียนการสอน ั ่ ดร. วิชต สุรตน์เรืองชัย* ิ ั บทนำ มีหนังสือเกียวกับการวิจยในชันเรียนพิมพ์จำหน่าย ่ ั ้ จากการทีพระราชบัญญัตการศึกษาแห่ง ่ ิ ทั ่ ว ไปมี ป ริ ม าณเพิ ่ ม ขึ ้ น เท่ า ที ่ ไ ด้ ศ ึ ก ษาจาก ชาติ พ.ศ. 2542 มาตราที่ 30 ได้กำหนดให้ เอกสารต่างๆเหล่านั้น พบว่ามีสาระสำคัญและ สถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนทีมี ่ กระบวนการวิจยทีแตกต่างกันไป แล้วแต่จดเน้น ั ่ ุ ประสิทธิภาพ รวมทังส่งเสริมให้ผสอนสามารถ ้ ู้ และมุมมองของนักวิชาการแต่ละท่าน ผู้เขียน วิจยเพือพัฒนากระบวนการเรียนรูทเ่ี หมาะสมกับ ั ่ ้ คิดว่าการวิจัยในชั้นเรียน หรืออาจเรียกชื่ออื่นๆ ผูเ้ รียนในแต่ละระดับการศึกษา (กระทรวงศึกษา เช่น การวิจยของครู การวิจยเพือพัฒนาการเรียนรู้ ั ั ่ ธิการ, 2542 หน้า 23) การวิจยในชันเรียนจึงได้ ั ้ เป็นต้น ล้วนแล้วแต่ มีความหมายไปในทำนอง รับความสนใจและให้ความสำคัญอย่างจริงจังอีก เดียวกัน คือการวิจัยที่ครูผู้สอนเป็นผู้ทำวิจัย ครั้งหนึ่ง มีการจัดอบรมเกี่ยวกับการวิจัย และนำมาใช้เพื่อปรับปรุงและพัฒนาการเรียน ในชันเรียนจากบุคคล กลุมบุคคล และองค์กรต่างๆ ้ ่ การสอนในชันเรียนของตนเอง ส่วนวิธการและ ้ ี * รองศาสตราจารย์ ประจำภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
  • 2. หน้า 32 วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 14 ฉบับที่ 2 เดือน พฤศจิกายน 2545-มีนาคม 2546 ขันตอนอาจแตกต่างกันได้ ผูเ้ ขียนจึงขอเสนอ ้ ไปใช้ได้ผลเป็นทีนาพอใจในเรืองของการพัฒนา ่ ่ ่ รูปแบบการวิจยประเภทหนึง ทีเ่ รียกว่า การวิจย ั ่ ั หลักสูตรท้องถิน การพัฒนาวิชาชีพครู การพัฒนา ่ เชิงปฏิบติ (action research) ซึงมีความเหมาะสม ั ่ และเสริมสร้างคุณลักษณะทีพงประสงค์ของนักเรียน ่ ึ กับการนำไปใช้พัฒนาการเรียนการสอน ใน และครู ระดับชันเรียน มีขนตอนและวิธดำเนินการวิจย ้ ้ั ี ั ลักษณะสำคัญของการวิจยเชิงปฏิบติ ั ั ไม่ยงยากสลับซับซ้อนมากนัก ครูผสอนสามารถ ุ่ ู้ การวิ จ ั ย เชิ ง ปฏิ บ ั ต ิ ม ี ล ั ก ษณะเฉพาะ ดำเนินการวิจัยได้ด้วยตนเอง โดยใช้เวลาการ ที่ควรทราบตามที่ เคมมิสและแมคแทกการ์ท ปฏิบัติงานตามปกติไม่ต้องเดินทางไปศึกษา (Kemmis and McTagart, 1990) ได้สรุปไว้ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องที่อื่น ไม่ต้อง ดังต่อไปนี้ เดินทางไปทดลองหรือเก็บรวบรวมข้อมูลทีใด ่ 1.เป็นวิธีสำหรับปรับปรุงการปฏิบัติ ความหมายและความเป็นมาของการวิจยเชิงปฏิบติ ั ั งาน การวิจยเชิงปฏิบติ หมายถึง กระบวนการ ั ั โดยทำให้ เ กิ ด การเปลี ่ ย นแปลงและเรี ย นรู ้ ศึกษาค้นคว้าเพือแก้ปญหาทีเ่ กิดขึนจากการปฏิบติ ่ ั ้ ั จากการเปลียนแปลงนัน ่ ้ งานหรือเพือปรับปรุงและพัฒนาการปฏิบตงาน ่ ั ิ 2.เป็นการดำเนินงานของผู้ปฏิบัติงาน ให้บรรลุผลตามที่ต้องการ โดยผู้ปฏิบัติงาน เอง เพื่อพัฒนางานของตนเองและกลุ่มอาชีพ เป็นผูดำเนินการวิจยในสถานทีทตนเองปฏิบตอยู่ ้ ั ่ ่ี ัิ ของตนเอง ภายใต้สภาพแวดล้อมและบรรยากาศที่แท้จริง 3.เป็นกระบวนการอย่างเป็นระบบและ เมือนำการวิจยเชิงปฏิบตมาใช้กบการเรียนการสอน ่ ั ัิ ั ต่อเนืองเป็นวงจร โดยเริมจากการวางแผนการ ่ ่ จึงเรียกการวิจยเชิงปฏิบตวา การวิจยเพือพัฒนา ั ัิ่ ั ่ ปฏิบตตามแผน การสังเกตและการสะท้อนผล ัิ การเรียนการสอน หรือการวิจยในชันเรียน ซึง ั ้ ่ เป็นวงจรเช่นนีไปเรือย ๆ จนกว่างานนัน จะได้รบ ้ ่ ้ ั เป็นการศึกษาค้นคว้าเพือแก้ปญหาทีเ่ กิดขึนจาก ่ ั ้ การปรับปรุงตามทีตองการ ่้ การปฏิบตการสอนของครูหรือเพือปรับปรุงและ ัิ ่ 4. ต้องอาศัยความร่วมมือจากฝ่ายต่าง ๆ พัฒนาการปฏิบตการสอนให้บรรลุผลตามทีตอง ัิ ่้ ทีเ่ กียวข้อง เน้นกระบวนการกลุม ่ ่ การ โดยครูผู้สอนเป็นผู้ดำเนินการวิจัยในชั้น 5. เกิดจากความเต็มใจและเห็นความ เรียนทีตนเองปฏิบตการสอนอยู่ ่ ัิ สำคัญของการปรับปรุงและพัฒนางานของตนเอง การวิจยเชิงปฏิบตเิ กิดขึนตามแนวคิด ั ั ้ 6.การอธิบายปรากฏการณ์ตาง ๆ ทีเ่ กิด ่ ของ Kurt Lewin นักจิตวิทยาสังคม ชาวอเมริกน ั ขึน ใช้ความรูและประสบการณ์ของผูปฏิบตงาน ้ ้ ้ ัิ เมือประมาณปี ค.ศ. 1946 ได้รบการยอมรับและ ่ ั หรือกลุ่มวิชาชีพของผู้ปฏิบัติงานเอง ภายใต้ นำไปใช้อย่างกว้างขวางในการพัฒนาและปรับปรุง เงือนไขและสภาพแวดล้อมทีเ่ ป็นอยูจริงมากกว่า ่ ่ การปฏิบัติงานในองค์กรและชุมชนต่าง ๆ โดย ทีจะเชือตามหรืออ้างอิงทฤษฎีจากภายนอกเพียง ่ ่ เฉพาะในวงการศึกษาได้มการนำการวิจยเชิงปฏิบติ ี ั ั อย่างเดียว
  • 3. วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 14 ฉบับที่ 2 เดือน พฤศจิกายน 2545-มีนาคม 2546 หน้า 33 7. เป็นกระบวนการทีมความยืดหยุนสูง ่ ี ่ ไปใช้ปรับ ปรุงการปฏิบตงานในวงจรต่อไป ัิ มีการปรับปรุงเปลียนแปลงการปฏิบตได้ตลอดเวลา ่ ัิ 15. การวิจยเชิงปฏิบตไม่ใช่กระบวนการ ั ัิ ขึนอยูกบข้อมูลและสถานการณ์ในขณะนัน ้ ่ั ้ แก้ปัญหาง่าย ๆ ที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน แต่เป็น 8.เน้นการสังเกตและบันทึกข้อมูลทีเ่ กิด กระบวนการเรียนรู้ทำความเข้าใจปัญหาและแก้ ขึนจริงในแต่ละช่วงเวลาเพือวิเคราะห์และสรุปผล ้ ่ ปัญหาเพือปรับปรุงเปลียนแปลงการปฏิบตให้ดขน ่ ่ ั ิ ี ้ึ ทีถกต้อง ู่ 16. การวิจัยเชิงปฏิบัติไม่ใช่การวิจัยที่ 9.เน้นทั้งผลที่เกิดขึ้นและกระบวนการ นักวิชาการหรือนักวิจัยภายนอกที่อ้างตนว่าเป็น ปฏิบตงานัิ ผูเ้ ชียวชาญเข้ามาศึกษาวิจยในชันเรียน แล้วสรุป ่ ั ้ 10. เน้นวิธีการเชิงคุณภาพมากกว่าเชิง เป็นองค์ความรูเ้ พือให้ครูนำไปปฏิบติ ่ ั ปริมาณ 17. การวิจัยเชิงปฏิบัติไม่ใช่วิธีการทาง 11. บริบท (context) เป็นสิ่งสำคัญที่ วิทยาศาสตร์ ไม่ใช่การทดสอบสมมุตฐานด้วยวิธี ิ นักวิจยในชันเรียนต้องคำนึงถึงทุกขันตอน โดย ั ้ ้ การทางสถิตจากการเก็บรวบรวมข้อมูลเพือหาข้อสรุป ิ ่ เฉพาะในการสรุ ป ผลการวิ จ ั ย ต้ อ งคำนึ ง ถึ ง ไม่อางผลจากกลุมตัวอย่างไปสูประชากรเหมือนการ ้ ่ ่ บริบทเสมอ วิจัยอื่น ๆ แต่การวิจัยเชิงปฏิบัติเน้นวิธีการทาง 12. เริมวิจยจากจุดเล็ก ๆ โดยการเปลียน ่ ั ่ สังคมศาสตร์หลาย ๆ วิธรวมกันเพือก่อให้เกิดการ ี่ ่ แปลงตนเองก่อน จากนันจึงเปลียนแปลงชันเรียน ้ ่ ้ ปรับปรุงเปลียนแปลงของสถานการณ์มากกว่าการ ่ และโรงเรียนได้ อธิบายหรือตีความสถานการณ์ 13. เป็นการปฏิบตของตนเองหรือกลุม ั ิ ่ ขันตอนทัวไปของการวิจยเชิงปฏิบติ ้ ่ ั ั เล็ก ๆ แต่เปิดโอกาสให้กลุมใหญ่ชวยเหลือ ่ ่ การวิจัยเชิงปฏิบัติมีขั้นตอนสำคัญ 4 14. เป็นวงจรเดียวกับการปฏิบัติงาน ขันตอน ได้แก่ ขันวางแผน (plan) ขันปฏิบตตาม ้ ้ ้ ัิ ตามปกติ เพียงแต่เพิ่มการสังเกตการปฏิบัติงาน แผน (act) ขั้นสังเกตผล (observe) และขั้น และสะท้อนผลทีเ่ กิดขึนทุกขันตอนและนำผลนัน ้ ้ ้ สะท้อนผล (reflect) (Zuber-Skerrit, 1992 : 11) วางแผน วางแผน สะทอนผล ปฏิบัติตามแผน สะทอนผล ปฏิบัติตามแผน สังเกตผล สังเกตผล แผนภาพที่ 1 ขันตอนทัวไปของการวิจยเชิงปฏิบติ ้ ่ ั ั
  • 4. หน้า 34 วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 14 ฉบับที่ 2 เดือน พฤศจิกายน 2545-มีนาคม 2546 ขันตอนเฉพาะของการวิจยเพือพัฒนาการเรียนการสอน (ขันปฏิบติ จริงทีปรับจากขันตอนทัวไป) ้ ั ่ ้ ั ่ ้ ่ เพื่อให้กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติมี ความเหมาะสมและสอดคล้องกับลักษณะการปฏิบัติ การสอนของครูไทย และง่ายต่อการทำความ เข้าใจ ผูเ้ ขียนจึงปรับขันตอนการวิจย เป็น 7 ขัน ดังนี้ ้ ั ้ กำหนดปัญหา -ประเด็นปัญหา -สิงทีตองการแก้ไข ปรับปรุง พัฒนา ่ ่ ้ ศึกษาข้อมูลเบืองต้น ้ -บรรยายข้อเท็จจริงเกียวกับปัญหา ่ -อธิบายสาเหตุของปัญหา วางแผนปฏิบติ ั -กำหนดทางเลือกหลากหลาย -ตัดสินใจเลือกวิธีที่เหมาะสมที่สุด -กำหนดรายละเอียดการปฏิบตตามวิธนนๆ ั ิ ี ้ั ปฏิบตตามแผน ั ิ สังเกตผล สรุปผล สะท้อนผล แผนภาพที่ 2 แผนภูมขนตอนการทำวิจยเชิงปฏิบตหรือการวิจยเพือพัฒนาการเรียนการสอน ิ ้ั ั ัิ ั ่
  • 5. วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 14 ฉบับที่ 2 เดือน พฤศจิกายน 2545-มีนาคม 2546 หน้า 35 1. กำหนดปัญหา จากตัวอย่าง จะเห็นได้วา เป็นปัญหา ่ จุ ด เริ ่ ม ของการวิ จ ั ย เชิ ง ปฏิ บ ั ต ิ คื อ ในเชิงแก้ไขทั้งสิ้น กล่าวคือมีปัญหาและข้อ กำหนดแนวคิดให้ได้ว่ามีปัญหาอะไรที่ต้องการ ขั ด ข้ อ งเกิ ด ขึ ้ น แล้ ว และส่ ง ผลต่ อ คุ ณ ภาพ แก้ไข หรือประเด็นใดทีตองการพัฒนา โดยเริม ่้ ่ ของการจัดการเรียนการสอนแล้ว ต้องรีบแก้ไข จากการสำรวจสภาพทั่วไปของการเรียนการ แต่ในบางกรณีปัญหายังไม่เกิดขึ้น เพียงแต่มี สอนทีเ่ กิดขึนในชันเรียนว่ามีปญหาเกิดขึนหรือไม่ ้ ้ ั ้ แนวโน้มว่ากำลังจะเกิดขึ้น ผู้วิจัยก็สามารถ กำหนดประเด็นปัญหาที่ต้องการแก้ไขกว้าง ๆ กำหนดปัญหานั้นเป็นประเด็นปัญหาเช่นกัน จากนันพิจารณาให้ชดเจนว่าปัญหาทีแท้จริงคืออะไร ้ ั ่ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาขึ้น เรียกว่าปัญหา เป็นปัญหาสำคัญหรือไม่ แก้ไขได้หรือไม่ ปัญหา เชิงป้องกัน หรือในบางกรณี ไม่มแนวโน้มว่าจะมี ี ที่กำหนดนั้นอาจเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นกับตนเอง ปัญหาเกิดขึ้น ผู้วิจัยหรือครูผู้สอนก็สามารถ เพียงคนเดียว หรือเป็นปัญหาร่วมของกลุ่มก็ได้ กำหนดประเด็นหรือจุดที่ต้องการพัฒนาให้มี เทคนิคในการกำหนดปัญหาทีชดเจนคือ พยายาม ่ั คุณภาพยิ่งๆขึ้นไปได้ เพื่อหางทางพัฒนาให้ กำหนดแยกเป็น 2 ประเด็น สิ่งนั้นเกิดขึ้น เรียกว่า ปัญหาเชิงพัฒนา ดังนั้น 1.1 ประเด็นปัญหา ได้แก่ ประเด็น จะเห็นได้วาประเด็นปัญหาทีกำหนด ในขันตอน ่ ่ ้ ปัญหาทีเ่ กิดขึนจริงในชันเรียน ตัวอย่างเช่น ้ ้ แรกของการวิจัยนั้น อาจเป็นไปได้ทั้งปัญหา - ปัญหานักเรียนขาดเรียนบ่อย เชิงป้องกัน ปัญหาเชิงแก้ไข และปัญหาเชิง - ปัญหานักเรียนไม่สงการบ้าน ่ พัฒนา ที่สำคัญคือต้องเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นจริง - ปัญหานักเรียนคิดไตร่ตรองไม่เป็น หรื อ คาดว่ า จะเกิ ด ขึ ้ น หรื อ เป็ น ปั ญ หาที ่ จ ะ - ปัญหานักเรียนไม่สนใจการเรียน ก่ อ ให้ เ กิ ด การพั ฒ นาขึ ้ น ได้ ใ นชั ้ น เรี ย นจริ ง -ปัญหานักเรียนมีพฤติกรรมก้าวร้าว เป็นปัญหาสำคัญ ไม่ใช่ปญหา ทีกำหนดขึนมาเอง ั ่ ้ -ปัญหานักเรียนซึมเศร้าโดดเดียว ่ เพือเป็นหัวข้อทำวิจย ปัญหานันอาจเป็นปัญหา ่ ั ้ ตนเอง ใหญ่ ปัญหาเล็ก ปัญหารายบุคคล หรือปัญหา -ปัญหานักเรียนไม่ชอบวิชาคณิต- ของกลุมก็ได้ ่ ศาสตร์ 1.2 ประเด็นทีตองการแก้ไข ปรับปรุง ่ ้ - ปัญหานักเรียนมีผลสัมฤทธิ์การ พัฒนา ได้แก่ สิ่งที่ต้องการแก้ไขปรับปรุงหรือ เรียนวิชาภาษาไทยต่ำ พัฒนาให้เกิดขึน โดยคาดว่าเมือสิงนันเกิดขึนแล้ว ้ ่ ่ ้ ้ - ปัญหานักเรียนใช้เวลาว่างไม่เป็น จะแก้ปัญหาได้ ตัวอย่างเช่น ประเด็นปัญหา ประโยชน์ ทังหมดตาม ข้อ 1.1 สามารถกำหนดเป็นประเด็น ้ - ฯลฯ ทีตองแก้ไข / ปรับปรุงได้ดงนี้ ่้ ั
  • 6. หน้า 36 วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 14 ฉบับที่ 2 เดือน พฤศจิกายน 2545-มีนาคม 2546 - ปัญหานักเรียนขาดเรียนบ่อย ทำ ทุกแง่ทุกมุม โดยใช้วิธีการต่าง ๆ เพื่อบรรยาย อย่างไรนักเรียนจึงจะขาดเรียนน้อยลง ข้อเท็จจริงของปัญหาให้ได้มากที่สุด และเพื่อ - ปัญหานักเรียนไม่สงการบ้าน ทำ ่ อธิบายว่าปัญหานั้นเกิดจากสาเหตุใด ในขั้นนี้ อย่างไรนักเรียนจึงจะส่งการบ้านตรงเวลา ต้องมีการตรวจสอบสาเหตุที่แท้จริงของปัญหา - ปัญหานักเรียนคิดไตร่ตรองไม่เป็น โดยมีการคาดเดาสาเหตุของปัญหาอย่างมีเหตุผล ทำอย่างไรนักเรียนจึงจะคิดเป็น และมีการตรวจสอบสาเหตุที่คาดเดาด้วยวิธีการ - ปัญหานักเรียนไม่สนใจการเรียน หลากหลาย โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ใน ทำอย่างไรนักเรียนจึงจะสนใจการเรียน การสอนของตนเองและเพื่อนครูที่สั่งสมมาเป็น - ปัญหานักเรียนมีพฤติกรรมก้าวร้าว เวลานานรวมทั ้ ง ขอคำแนะนำจากผู ้ ร ู ้ ผู ้ ม ี ทำอย่างไรนักเรียนจึงจะมีพฤติกรรมไม่กาวร้าว ้ ประสบการณ์ และศึกษาข้อมูลอืน ๆ ประกอบ ่ - ปัญหานักเรียนซึมเศร้าโดดเดี่ยว รายละเอียดของขันตอนที่ 2 มี ดังนี้ ้ ตนเอง ทำอย่างไรนักเรียนจึงจะร่าเริง เข้าสังคม 2.1 บรรยายข้อเท็จจริง โดยครูผสอน ู้ ปกติ เป็นผูเ้ ก็บรวบรวมข้อมูลทีเ่ กียวข้องกับปัญหา ่ - ปัญหานักเรียนไม่ชอบวิชาคณิต ทังหมดอย่างละเอียด โดยใช้วธสงเกต สอบถาม ้ ิี ั ศาสตร์ ทำอย่างไรนักเรียนจึงจะชอบเรียนวิชา สั ม ภาษณ์ ศึ ก ษาเอกสาร อั ต ชี ว ประวั ต ิ คณิตศาสตร์ ทะเบียนประวัติ ฯลฯ จากนั้นจดบันทึกข้อมูล - ปัญหานักเรียนมีผลสัมฤทธิ์การ ทั้งหมด เช่น ตัวอย่างปัญหานักเรียนไม่สนใจ เรียนวิชาภาษาไทยต่ำ ทำอย่างไรนักเรียนจึงจะมี การเรี ย น ครู ต ้ อ งศึ ก ษาและบรรยายข้ อ เท็ จ ผลสัมฤทธิการเรียนวิชาภาษาไทยสูงขึน ์ ้ จริงให้ได้วา ่ - ปัญหานักเรียนใช้เวลาว่างไม่เป็น -มีผไม่สนใจการเรียนกีคนใครบ้าง ู้ ่ ประโยชน์ ทำอย่างไรนักเรียนจึงจะใช้เวลาว่าง ให้เป็นประโยชน์ -ไม่สนใจการเรียนวันใดบ้าง ช่วง จะเห็นได้ว่าการกำหนดประเด็นที่ เวลาใด ต้องการปรับปรุงหรือพัฒนานี้ จะช่วยให้ครู มอง -ไม่สนใจการเรียนวิชาอะไร ใคร เห็นเป้าหมายที่ชัดเจนว่าการวิจัยในชั้นเรียน เป็นผูสอนในวิชานัน ้ ้ ครั ้ ง นี ้ ท ำเพื ่ อ อะไร ผลที ่ จ ะเกิ ด ขึ ้ น คื อ อะไร -นักเรียนแต่ละคนที่ไม่สนใจการ แนวทางดำเนินการเป็นอย่างไร เรียนมีประวัตและข้อมูลส่วนตัวอย่างไร มีปญหา ิ ั 2. ศึกษาข้อมูลเบืองต้นเกียวกับประเด็น ้ ่ ส่วนตัว ปัญหาสุขภาพ ปัญหาอืน ๆ หรือไม่ ่ ปั ญ หา เป็ น การคิ ด พิ จ ารณาทบทวนค้ น หา ฯลฯ ข้อเท็จจริงเพือทำความเข้าใจปัญหานันอย่างชัดเจน ่ ้
  • 7. วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 14 ฉบับที่ 2 เดือน พฤศจิกายน 2545-มีนาคม 2546 หน้า 37 2.2 อธิบายสาเหตุของปัญหา เมือครู ่ หลังจากพิสจน์สมมุตฐานแล้วสรุปได้วา สาเหตุ ู ิ ่ เก็บข้อมูลข้อเท็จจริงได้มากพอสมควรแล้วต้อง สำคัญที่ทำให้นักเรียนไม่สนใจการเรียน คือ พยายามหาสาเหตุให้ได้ว่าปัญหานั้นๆ เกิดจาก พฤติกรรมการสอนของครูไม่นาสนใจ บรรยากาศ ่ สาเหตุใด ทั้งนี้ครูต้องใช้ความรู้ความ สามารถ การเรียนเฉือยชา ซึงเป็นไปตามสมมุตฐานทีตง ่ ่ ิ ่ ้ั และความช่วยเหลือจากกลุ่มเพื่อนครู ศึกษา ไว้ นิเทศก์หรือผู้เชี่ยวชาญ เพื่อช่วยกันวิเคราะห์ 3. วางแผนปฏิบติ ั สาเหตุทแท้จริงของปัญหา มีขนตอนย่อย ๆ ดังนี้ ่ี ้ั เป็นการกำหนดวิธีการหรือกิจกรรม 2.2.1 พิจารณาข้อเท็จจริงทุกแง่มม ุ การปฏิบตทจะนำไปใช้แก้ปญหาตามสาเหตุของ ั ิ ่ี ั ได้แก่ ข้อมูลของนักเรียนรายบุคคลทีเ่ ก็บรวบรวม ปัญหาที่พบในขั้นตอนก่อน วิธีการในขั้นนี้ มาได้ในขันตอนก่อน ้ ส่ ว นมากจะเริ ่ ม จาก การคิ ด พิ จ ารณาหาทาง 2.2.2 ตังสมมุตฐาน (คาดเดาสาเหตุ ้ ิ เลือกในการแก้ปญหาทีนาจะเป็นไปได้ให้มากทีสด ั ่ ่ ุ่ ของปัญหาอย่างมีเหตุผล) วิธีพิจารณาอาจต้อง จากนั้นพิจารณาเปรียบเทียบแต่วิธี จนในที่สุด ใช้กลุ่มเพื่อนครูหรือผู้มีความรู้ช่วยกันพิจารณา ตัดสินใจเลือกวิธใดวิธหนึงหรือหลายวิธผสมกัน ี ี ่ ี และคาดเดาถึงสาเหตุ จากตัวอย่างอาจคาดเดาว่า จากนั้นจึงกำหนดรายละเอียดของวิธีนั้นให้เป็น สาเหตุสำคัญของการไม่สนใจการเรียน เนืองมา ่ กิจกรรมทีชดเจนเป็นลำดับสามารถนำไปปฏิบติ ่ั ั จากพฤติ ก รรมการสอนของครู ไ ม่ น ่ า สนใจ จริงได้ ควรกำหนดระยะเวลาไว้ดวย จัดทำหรือ ้ บรรยากาศการเรียนเฉื่อยชา ทำให้นักเรียน เขียนเป็นแผนปฏิบัติการ รายละเอียดของการ เบือหน่าย ไม่มแรงจูงใจในการเรียน เป็นต้น ่ ี วางแผนปฏิบตมดงนี้ ัิ ีั 2.2.3 พิสจน์สมมุตฐานนัน โดยใช้ ู ิ ้ 3.1 กำหนดทางเลือกในการแก้ปญหา ั วิธการต่าง ๆ ส่วนใหญ่จะใช้การสังเกต สอบถาม ี หลายวิธี สัมภาษณ์ในชั้นเรียนจริง จากตัวอย่างปัญหา 3.2 พิจารณาเลือกวิธทเ่ี หมาะสมทีสด ี ่ ุ นักเรียนไม่สนใจการเรียน ครูผสอนต้องคอยู้ เพียง 1 วิธี หรือหลายวิธผสมกัน ี สั ง เกตพฤติ ก รรมนั ก เรี ย นในระหว่ า งเรี ย น 3.3 จัดทำแผนปฏิบตการประกอบด้วย ัิ มอบหมายงานให้นกเรียนเขียนเรียงความเกียวกับ ั ่ 3.3.1 หลักการและแนวคิด ตนเอง สนทนากับนักเรียนในเวลาว่าง สอบถาม 3.3.2 วัตถุประสงค์ (สิงทีตองปรับ ่ ่้ จาก เพือน เยียมเยียนและสนทนากับผูปกครอง ่ ่ ้ ปรุงหรือพัฒนา) 2.2.4 สรุปสาเหตุของปัญหา เมือถึง ่ 3.3.3 เป้าหมาย (เชิงปริมาณและ ขั้นตอนนี้แล้วครูน่าจะรู้สาเหตุที่แท้จริงของ คุณภาพ) ปัญหาว่าคืออะไร ซึ่งสาเหตุของปัญหาของ 3.3.4 กิจกรรมการปฏิบติ ั นักเรียนแต่ละรายอาจไม่เหมือนกันหรือเหมือนกันก็ได้ 3.3.5 ระยะเวลาทีดำเนินการ ่ ตัวอย่าง ปัญหานักเรียนไม่สนใจการเรียนนี้
  • 8. หน้า 38 วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 14 ฉบับที่ 2 เดือน พฤศจิกายน 2545-มีนาคม 2546 3.3.6 บุคลากรทีตองการ ่้ 4 เปลียนวิธสอนเป็นแบบเพือนสอน ่ ี ่ 3.3.7 สือ วัสดุ อุปกรณ์ งบประมาณ ่ เพื่อน ทีตองใช้ ่้ 5 ใช้สอการสอนทีทนสมัย น่าสนใจ ่ื ่ ั 3.3.8 แนวทางการวัดและประเมิน เช่น คอมพิวเตอร์ ผล 6 ใช้การเสริมแรงในห้องเรียนด้วย จากตัวอย่างปัญหานักเรียนไม่สนใจ การให้เบียอัตถกร (token) ้ การเรี ย นเนื ่ อ งจากพฤติ ก รรมการสอนของ 7 กำหนดบทลงโทษผูทชอบขาดเรียน ้ ่ี ครูไม่นาสนใจ บรรยากาศการเรียนเฉือยชา อาจ ่ ่ เกินกำหนดอย่างเด็ดขาด สามารถกำหนดวิธีการแก้ปัญหาไว้หลากหลาย ดังนี้ จากนันตัดสินใจเลือกวิธทเ่ี ห็นว่าเหมาะ สมทีสด ้ ี ่ ุ 1 ปรับกิจกรรมการเรียนการสอนโดย จากตั ว อย่ า งเลื อ กสมมุ ต ิ ว ่ า เลื อ กใช้ ก าร ยึดผูเ้ รียนเป็นสำคัญมากขึน ้ เสริมแรงในห้องเรียนด้วยวการให้เบี้ยอัตถกร 2 จัดทำบทเรียนสำเร็จรูปให้นกเรียน ั เพื่อจูงใจให้นักเรียนสนใจและเรียนรู้อย่างมี นำไปเรียนด้วยตนเอง ความสุข โดยใช้วธนกบนักเรียนทังชัน แต่สงเกต ิ ี ้ี ั ้ ้ ั 3 จั ด กิ จ กรรมเสริ ม หลั ก สู ต รให้ ผลที ่ เ กิ ด ขึ ้ น กั บ นั ก เรี ย นที ่ ม ี ป ั ญ หาเท่ า นั ้ น นักเรียนเข้าร่วม จากนันจัดทำแผนปฏิบตการเพือแก้ไขปัญหาตาม ้ ัิ ่ สาเหตุ ตัวอย่างรายละเอียดของแผน มีดงนี้ ั แผนการวิจยเชิงปฏิบตเิ พือแก้ปญหานักเรียนไม่สนใจการเรียน ั ั ่ ั หลักการและแนวคิด การเสริมแรงด้วยการใช้เบี้ยอัตถกร (token ) เป็นวิธีการทางจิตวิทยาที่ช่วยโน้มน้าว ความสนใจและปรับพฤติกรรม ของนักเรียนอย่างได้ผลในระยะเวลาอันรวดเร็ว… วัตถุประสงค์ เพือแก้ปญหานักเรียนไม่สนใจการเรียนในชันเรียน ่ ั ้ เป้าหมาย นักเรียนทีไม่สนใจการเรียน มีความสนใจการเรียนเพิมขึนทุกคน ่ ่ ้
  • 9. วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 14 ฉบับที่ 2 เดือน พฤศจิกายน 2545-มีนาคม 2546 หน้า 39 กิจกรรมการปฏิบติ และ ระยะเวลา ั สัปดาหที่ กิจกรรมการปฏิบัติ ระยะเวลา 1 - ทําความตกลงกับนักเรียนทั้งชันวาจะมีโครงการเสริมแรง ้ ดวย เบี้ยอัตถกร โดยมีหลักการวา ใครมาเรียนสม่ําเสมอ ตั้ง ใจเรียน ทํางานที่ไดรับมอบหมายจนสําเร็จ ฯลฯ จะไดรบ ั เบี้ยอัตถกร เพื่อสะสมไวแลกของรางวัลได - ใหนักเรียนอภิปรายแสดงความคิดเห็นและรวมกันกําหนด หลักเกณฑการไดรบเบี้ยอัตรถกร ั 1-4 - แจกเบี้ยอัตถกร ใหกับผูท่ทําตามหลักเกณฑ ี - ประกาศราชื่อผูไดรบเบี้ยอัตรถกร และจะนวนที่ไดรบใหนัก  ั ั เรียนทราบโดยทั่วกันทุกวัน 5-6 - ปรับลดการเสริมแรงดวยเบี้ยอัตถกร ลงทีละนอย ๆ ใชการ เสริมแรงดวยวาจาแทน 7 - หยุดการใหเบี้ยอัตรถกร - -สรุปผลที่เกิดขึ้น บุคลากรทีตองการ ่ ้ ไม่ตองการบุคลากรเพิม ้ ่ สือ วัสดุ อุปกรณ์ ทีตองใช้ ่ ่ ้ เหรียญพลาสติกกลมคล้ายเหรียญบาท แนวทางการวัดและประเมินผล 1. สังเกตพฤติกรรมการเรียน 2. สนทนากับนักเรียนอย่างไม่เป็นทางการ
  • 10. หน้า 40 วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 14 ฉบับที่ 2 เดือน พฤศจิกายน 2545-มีนาคม 2546 4. ปฏิบตตามแผน ั ิ เรียน การสนทนาอย่างไม่เป็นทางการถึงความ เป็นการปฏิบตตามแผนทีกำหนดไว้ใน ัิ ่ รูสกความสนใจของนักเรียน เป็นต้น ้ ึ ชั้นเรียนจริง นักเรียนจริง สภาพแวดล้อมจริง ทำได้โดยครูผสอนยังคงดำเนินการจัดกิจกรรมการ ู้ 6. สรุปผล เรียนการสอนตามปกติ เพียงแต่ว่าปรับเปลี่ยน เป็นการนำข้อมูลที่ได้จากการสังเกต พฤติกรรมการสอนของตนเองจากเดิมที่ไม่ค่อย ผลมาพิจารณาเปรียบเทียบกับประเด็นปัญหาทีกำหนด ่ สนใจนักเรียนเท่าใดนัก มาเป็นการให้ความ เพือตัดสินใจว่าปัญหาได้รบการแก้ไขแล้วหรือไม่ ่ ั สนใจเอาใจใส่ดูแล และเสริมแรงตามแผนที่ สมบูณณ์เพียงใด ยังมีปัญหาอะไรบ้างที่ต้อง กำหนดไว้ จากตัวอย่างแผนจะเห็นได้วา วิธการ ่ ี แก้ไขต่อไป จากตัวอย่าง หากเวลาผ่านไป 1 เดือน หลักที่จะนำไปใช้คือ เทคนิคการเสริมแรง ความสนใจในการเรียนมากขึน แสดงว่าปัญหา ้ ด้วยการใช้เบียอัตถกร โดยคาดว่าเทคนิคดังกล่าว ้ ได้รบการแก้ไขแล้ว แต่หากผลทีเ่ กิดขึนยังไม่ ั ้ ร่วมกับการสอนตามปกติอยู่แล้วนั้น จะส่งผล ชัดเจน อาจต้องเพิ่มเวลาการปฏิบัติในแผน ให้นกเรียนมีความสนใจในการเรียน ขจัดความ ั ให้มากขึน ทังนีขนอยูกบผลการสังเกตทีทำเป็น ้ ้ ้ ้ึ ่ ั ่ เบือหน่ายการเรียนของนักเรียน ่ ระยะ ว่าสรุปผลได้หรือไม่ 5. สังเกตผล 7. สะท้อนผล เป็ น การสั ง เกตผลที ่ เ กิ ด ขึ ้ น จากการ เป็นการนำข้อสรุปและข้อสังเกตต่าง ๆ ปฏิบตตามแผน (การประเมินผล) โดยครูผปฏิบติ ัิ ู้ ั ไปใช้สำหรับปรับปรุงแก้ไขแผนต่อไป กรณี เป็นผู้สังเกตเอง ขั้นตอนนี้ดำเนินการช่วงเดียว ทีสรุปว่าปัญหายังไม่ได้รบการแก้ไข หรือประเด็น ่ ั กับการปฏิบตตามแผน คือ ปฏิบตไปสังเกตผลไป ัิ ัิ ที ่ ต ้ อ งการพั ฒ นายั ง ไม่ เ กิ ด ขึ ้ น ให้ ป รั บ ปรุ ง ใช้วธการต่าง ๆ ทีเ่ หมาะสม เช่น สังเกต สอบถาม ิี แผนใหม่โดยใช้ข้อมูลที่ได้รับ จากนั้นนำแผน สัมภาษณ์ ตรวจผลงาน (วิธการเชิงคุณภาพมักใช้ ี ไปปฏิบติ สังเกตผล และสะท้อนผล ทำเช่นนีไป ั ้ ได้ผลดี) เน้นการสังเกตผลทีเ่ กิดขึนตามสภาพจริง ้ เรือย ๆ จนกว่าจะสำเร็จผล จึงเริมกระบวนใหม่ ่ ่ ครอบคลุ ม ทุ ก ประเด็ น ทั ้ ง ผลที ่ เ กิ ด ขึ ้ น และ แก้ปญหาใหม่ พัฒนาประเด็นใหม่ จากตัวอย่าง ั กระบวนการปฏิบัติของตนเอง พยายามบันทึก เรืองปัญหานักเรียนไม่สนใจการเรียน หลังจาก ่ เหตุการณ์ สภาพแวดล้อม บรรยากาศ ผลทีเ่ กิดขึน ้ สรุปผลแล้ว หากแก้ปญหาได้กคงมีประเด็นที่ ั ็ และข้อสังเกตต่าง ๆ ให้มากทีสด จากนันสรุปผล ่ ุ ้ น่าสนใจอื่น ๆ เกิดขึ้นมากมายที่จะต้องนำมา ที่เกิดขึ้นว่าแก้ปัญหาได้หรือไม่ จากตัวอย่างที่ อภิปรายกัน เช่น แก้ปัญหาได้ถาวรหรือไม่ กล่าวมานั้น จะห็นได้ว่าวิธีการสังเกตที่น่าจะ วิธการนีกอให้เกิดปัญอืนๆ ตามหรือไม่ หรือถ้า ี ้่ ่ ใช้ได้ผล คือ การสังเกตพฤติกรรมในระหว่าง แก้ไขไม่ได้ อาจต้องมีการทบทวนและปรับการ
  • 11. วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 14 ฉบับที่ 2 เดือน พฤศจิกายน 2545-มีนาคม 2546 หน้า 41 วิจยทังหมดถ้าพบว่าการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาผิด ั ้ - ผลการศึกษาข้อเท็จจริง ต้องวิเคราะห์ใหม่และวางแผนใหม่ ปฏิบตใหม่ ัิ บทที่ 3 การวางแผนแก้ปญหา ั หรืออาจปรับเพียงเล็กน้อย - วิธการกำหนดแผน ี โดยสรุป จะเห็นได้ว่า การวิจัยในชั้น - รายละเอียดของแผนทีกำหนด ่ เรียนก็คอ การแก้ปญหาและปรับปรุงพัฒนาการ ื ั บทที่ 4 การปฏิบัติตามแผนและการ เรียนการสอนในชั้นเรียนนั่นเอง และมีความ สังเกตผล ยืดหยุนสูงมาก ่ - วิธปฏิบตตามแผนและการสังเกต ี ัิ ผล การเขียนรายงานการวิจย ั - ตารางการปฏิบัติงานและสังเกต ตามปกติไม่มการกำหนดหัวข้อไว้อย่าง ี ผล ชัดเจนว่าต้องเขียนอย่างไร แต่ควรเขียนให้ - ผลการสังเกต เข้าใจง่าย สั้น กะทัดรัด ข้อพึงเข้าใจไว้ก็คือ บทที่ 5 สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอ เขียนเพื่อบันทึกเหตุการณ์เรื่องราวของการแก้ แนะ ปัญหาทีเ่ กิดขึนในชันเรียน เพือเป็นหลักฐานไว้ ้ ้ ่ - สรุปผลการแก้ปญหาั ศึกษา ไม่ใช่เขียนเพื่อส่งไปเผยแพร่หรือให้ใคร - ข้อสังเกตต่าง ๆ ทีพบ ่ อ้างอิงผลไปใช้เพราะการวิจยในลักษณะนีไม่ยนยันว่า ั ้ ื - ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงแผน จะเอาไปใช้กับกลุ่มอื่นได้ผลหรือไม่อย่างไร ต่อไป มีลักษณะเช่นเดียวกับกรณีศึกษา(case study) บทที่ 6 ภาคผนวก อย่างไรก็ตามขอเสนอแนะว่าควรเขียนรายงาน - ผลงานของครู เรียงตามขันตอนการทำวิจย ดังนี้ ้ ั - ผลงานนักเรียน บทที่ 1 ปัญหาทีเ่ กิดขึน ้ - หลักฐานอืน ๆ ่ - สภาพปัจจุบันของโรงเรียน ชั้น เรียน นักเรียน การจัดการเรียนการสอน ฯลฯ สรุป - ปัญหาทีเ่ กิดขึน (ปัญหา) ้ การวิ จ ั ย เชิ ง ปฏิ บ ั ต ิ เ ป็ น การวิ จ ั ย ที ่ - สิ่งที่ต้องแก้ไข ปรับปรุงหรือ เหมาะสมกับการพัฒนาการเรียนการสอนของครู พัฒนา (วัตถุประสงค์) ในทุกระดับ ครูผสอนสามารถดำเนินการวิจยได้ ู้ ั บทที่ 2 การศึกษาข้อมูลเบืองต้น ้ พร้อมๆ กับการปฏิบตหน้าทีในชันเรียน ไม่ตอง ัิ ่ ้ ้ - ข้อเท็จจริงเกียวกับปัญหาทีตองการ ่ ่้ ใช้เงินงบประมาณมากมาย ไม่ตองเสียเวลามาก ้ ทราบ นัก แต่ประโยชน์ทได้คมค่า เป็นการพัฒนาครูไป ่ี ุ้ - วิธศกษาเพือให้ได้ขอเท็จจริงเกียว ีึ ่ ้ ่ สูครูวชาชีพชันสูงอย่างแท้จริง ่ ิ ้ กับปัญหา
  • 12. หน้า 42 วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 14 ฉบับที่ 2 เดือน พฤศจิกายน 2545-มีนาคม 2546 เอกสารอ้างอิง ศึกษาธิการ, กระทรวง. (2542). พระราชบัญญัตการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ : ิ คุรสภาลาดพร้าว. ุ Kemmis, S and , McTagart. (1990). The Action Research Planner. Geelong : Deakin University Press. Elliot, John. (1997). Action Research for Education Change. Philladelphia : Prentice Hall . Zuber-Skerrit, O. (1992). Action Research in Higher Education. London : Kogan Page,