SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
Download to read offline
ศิลปะกับศาสนา
พุทธ
อิทธิพลของศาสนาที่มีต่อศิลปะ
- ความเชื่อความศรัทธาทําให้เกิด การสร้างศิลปะ
- ปรัชญาความเชื่อทางศาสนา มีส่วนกําหนดแบบแผนศิลปะ
บทบาทของศิลปะที่มีต่อศาสนา
- ทําให้คําสอน ธรรมะ ปรากฏเป็น รูปธรรม
- มีส่วนในการเผยแพร่ศาสนา
- การสื่อสารด้วยภาพ
- ส่งเสริมให้เกิดความศรัทธา
- ศิลปะเป็นบันไดขั้นต้นของศาสนา
- ความเชื่อความ ศรัทธาทําให้เกิด การสร้าง
ศิลปะ
- คติการสร้างวัด ในพุทธศาสนา
- ฯลฯ
ถ้ําอชันตะ อินเดีย
ความเชื่อความศรัทธาทําให้เกิดการสร้างศิลปะ
ภูเขาที่สถิตย์ของวิญญาณศักดิ์สิทธิ์ (NAT) ที่ชาวพม่านับถือ
นัตซึ่งเป็นผี 36 ตนที่พม่านับถือควบคู่กับพุทศาสน
เจดีย์เป็นที่บรรจุพระธาตุ ชาวพุทธเชื่อว่าแฝงความหมายทางศาสนา เช่น
ตัวเจดีย์หรือองค์ระฆังหมายถึงบาตรของพระพุทธเจ้า บัลลังก์คือเก้าอี้ของกษัตริย์ ฉัตร
หรือร่มคือเครื่องสูงศักดิ์ เจดีย์ที่กษัตริย์สร้างไว้ในเมืองสําคัญจะมีขนาดสูงใหญ่ เพื่อ
แสดงบารมี ถ้าเป็นเมืองเล็กมีกําลังไม่พอก็จะใช้วิธีสร้างส่วนฐานให้สูง
ช้างล้อม ศรีสัชนาลัย แช่แห้ง น่าน ธาตุบัวบก อุดรฯ
ความเชื่อเรื่องจักรวาลที่กําหนดแบบแผนสถาปัตยกรรม เขาพระสุเมรุคือศูนย์กลางได้แก่
เจดีย์หรือปรางค์ประธาน ล้อมรอบด้วยภูเขาบริวารคือเจดีย์รายหรือปรางค์บริวาร มีมหาสมุทรคั่น
ระหว่างภูเขาได้แก่สระน้ําหรือลานทรายในวัด ขอบจักรวาลล้อมรอบด้วยกําแพงได้แก่กําแพงแก้วที่
ล้อม สถาปัตยกรรม แต่ละชั้นของปรางค์หรือเจดีย์คือสวรรค์ชั้นต่างๆ บันไดนาคคือสะพานเชื่อม
ระหว่างโลกมนุษย์กับสวรรค์
เจดีย์ฉิ่นปหยู่ - มยี เมืองสกายน์ พม่า
คติเขาพระสุเมรุในสถาปัตยกรรมพุทธ
คติเขาพระสุเมรุในสถาปัตยกรรมพุทธ
คติเขาพระสุเมรุในงานพระบรมศพ เปรียบเทียบนครวัดกับพระเมรุมาศของไทย
คติเขาพระสุเมรุในงานพระบรมศพ
ธรรมจักร สัญลักษณ์แทน องค์พระพุทธเจ้า เมื่อปฐมเทศนา
บัลลังก์ที่ว่างเปล่าสัญลักษณ์แทนองค์พระพุทธเจ้า
รอยพระบาท สัญลักษณ์แทน องค์พระพุทธเจ้า
ประติมากรรมกรีก ต้นเค้าแห่งการเกิด พระพุทธรูป
แผนที่จักรวรรดิ์กรีกสมัยอเล็กซานเดอร์มหาราช
ดอกบัวในงาน พุทธประติมากรรม
ดอกบัวในงาน จิตรกรรม ศาสนาพุทธ นิกายมหายาน (ลัทธิตันตระใน ทิเบต
ดอกบัวในงาน จิตรกรรม ศาสนาพุทธ นิกายมหายาน (ลัทธิตันตระใน ทิเบต)
จิตรกรรมโรมันที่เมือง ปอมเปอี วาดด้วยสีที่
มีเพียงไม่กี่สี โดยมี การใช้น้ําหนักอ่อนแก่
ของสีเพื่อสร้าง ปริมาตรแสงเงาให้ดู เป็น 3
มิติ แต่พื้นหลัง ของภาพยังดูแบน
จิตรกรรมของ Leonardo da Vinci ใช
น้ําหนักอ่อนแก่ของ สีหลายสีสร้างปริมาตร
แสงเงาและความตื้นลึก เป็นการใช้สีที่
พยายาม เลียนแบบให้เหมือนจริง ตามที่ตา
เห็น
จิตรกรรมสีน้ํามัน “โมนาลิ ซา” ของ
Leonardo da Vinci ใช้สีที่มีน้ําหนักอ่อน
แก่สร้างปริมาตรและความ ตื้นลึก ใช้สีไม่
มาก โดยรวมดูคล้ายสีเอกรงค์
(Monochromes)
ภาพเหมือนตัวเอง ของ Rembrandt จิตร
กรชาวดัตช์ สมัยเรอนาซองส์ ตอนปลาย ใช้
สี เหลืองออกน้ําตาล ทองเน้นแสงสว่าง
เฉพาะที่ รูปทรง บางส่วนกลืนหายไป กับ
ความมืดไม่เหมือนแสงตามธรรมชาติ แต่มี
บรรยากาศที่เกิด จากน้ําหนักอ่อนแก่ ของสี
จิตรกรรมของ La Tour สมัย Rococo ใน
ฝรั่งเศส (ตรงกับ Baroque ใน อิตาลี) เน้นการ
ใช้สีที่เกิด จากแสงไฟในเวลา กลางคืน สีมี
น้ําหนักที่ ค่อนข้างตัดกันระหว่าง มืด-สว่าง

Ep4