SlideShare a Scribd company logo
Submit Search
Upload
Login
Signup
วารสารออนไลน์ฉบับต้อนรับเปิดเทอม 2556
Report
สพป.นว.1
Follow
คอมพิวเตอร์ที่สุด at สพป.นว.1
Jun. 9, 2013
•
0 likes
•
1,853 views
1
of
27
วารสารออนไลน์ฉบับต้อนรับเปิดเทอม 2556
Jun. 9, 2013
•
0 likes
•
1,853 views
Report
Education
Health & Medicine
Technology
สพป.นว.1
Follow
คอมพิวเตอร์ที่สุด at สพป.นว.1
Recommended
4 ตอน4 sar55
Miss.Yupawan Triratwitcha
994 views
•
9 slides
เปรียบเทียบนโยบายของนายอภิสิทธิ์กับยิ่งลักษณ์
Krusupharat
15.6K views
•
7 slides
ความรู้ด้านเทคนิควิธีสอน
Monthon Sorakraikitikul
1.6K views
•
47 slides
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
Suppalak Lim
26.5K views
•
161 slides
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
thanaetch
17.2K views
•
102 slides
T2
nakarin42
41 views
•
10 slides
More Related Content
What's hot
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
somdetpittayakom school
847 views
•
217 slides
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003
charinruarn
22.2K views
•
19 slides
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
tanongsak
5.4K views
•
38 slides
กลยุทธ์ที่ 2 25.1.61
จุลี สร้อยญานะ
139 views
•
20 slides
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
โรงเรียนพานพร้าว สพม
203 views
•
128 slides
หลักสูตรส่วนที่ ๑
rampasri
3.8K views
•
22 slides
What's hot
(13)
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
somdetpittayakom school
•
847 views
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003
charinruarn
•
22.2K views
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
tanongsak
•
5.4K views
กลยุทธ์ที่ 2 25.1.61
จุลี สร้อยญานะ
•
139 views
แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 4 ปี 2562-2565
โรงเรียนพานพร้าว สพม
•
203 views
หลักสูตรส่วนที่ ๑
rampasri
•
3.8K views
บทความ สภาพปัญหาวิกฤตการณ์ การศึกษาไทย
ณรงค์ พร้อมบัวป่า
•
17.9K views
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
อลิศลา กันทาเดช
•
1.4K views
โครงการปี 56
krupornpana55
•
788 views
ถอดบทเรียนครูสอนดี
Pinmanas Kotcha
•
1.6K views
คู่มือสภา
โรงเรียนอรัญประเทศ
•
628 views
Swot1 ผลวิเคราะห์
nang_phy29
•
5.9K views
นำเสนออบรมผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็ก
sosoksg
•
513 views
Viewers also liked
S mbuyer 104
Apichat kon
1.4K views
•
75 slides
S mbuyer 115
Apichat kon
1.2K views
•
76 slides
SharePoint 2010 Business Intelligence
Quang Nguyễn Bá
628 views
•
30 slides
Day1
rasikanirosha
317 views
•
23 slides
Shyamkrishna
crajansingh
304 views
•
4 slides
【日本中の大学生へ】アドバイザ募集!
Takumi Goto
453 views
•
9 slides
Viewers also liked
(20)
S mbuyer 104
Apichat kon
•
1.4K views
S mbuyer 115
Apichat kon
•
1.2K views
SharePoint 2010 Business Intelligence
Quang Nguyễn Bá
•
628 views
Day1
rasikanirosha
•
317 views
Shyamkrishna
crajansingh
•
304 views
【日本中の大学生へ】アドバイザ募集!
Takumi Goto
•
453 views
Morrissey & The Smiths: Passions Just Like Mine
Vincent Van Malderen
•
1.2K views
WCAN 2013 Spring ライトニングトーク『学びのコツを掴んで変化が激しい時代を楽しもう』
takuo yamada
•
1.2K views
Polar
ssolanmo
•
132 views
Rbp ph
Leon Policarpio
•
299 views
1 phil lit intro
Marien Be
•
468 views
Concepciones sobre evolucion
German Chaves
•
1.4K views
Building a $100k and flexible design career
adambcarney
•
280 views
Armed forces parade
Robert Bell
•
276 views
The compass
Robert Bell
•
763 views
Wireless Sensor Network
Md Javedul Ferdous
•
655 views
Open innoveren in tijden van schaarste
Vincent Van Malderen
•
730 views
Loni Dubin resume 2016 with references
Loni Dubin-Smith
•
250 views
D rpbox completed
cshcamacho
•
385 views
Evidence-based HR: the Selor case
Vincent Van Malderen
•
1K views
Similar to วารสารออนไลน์ฉบับต้อนรับเปิดเทอม 2556
chapter 9
pompompam
135 views
•
12 slides
ภาวะผู้นำ
ruathai
83 views
•
9 slides
Kobbbbb
aukkra
181 views
•
4 slides
จุดเน้น
นายไพโรจน์ พันธุศิลป์
911 views
•
24 slides
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
Kittisak Amthow
13.8K views
•
51 slides
แผนปฎิบัติการ64
Watcharasak Chantong
72 views
•
158 slides
Similar to วารสารออนไลน์ฉบับต้อนรับเปิดเทอม 2556
(20)
chapter 9
pompompam
•
135 views
ภาวะผู้นำ
ruathai
•
83 views
Kobbbbb
aukkra
•
181 views
จุดเน้น
นายไพโรจน์ พันธุศิลป์
•
911 views
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
Kittisak Amthow
•
13.8K views
แผนปฎิบัติการ64
Watcharasak Chantong
•
72 views
O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่
Watcharasak Chantong
•
73 views
เรียนรวมบทที่ 3 [1 54]
CMRU
•
3.3K views
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
lalidawan
•
284 views
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC)
DuangdenSandee
•
429 views
คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์
pimkhwan
•
13.1K views
W 2
Miss.Yupawan Triratwitcha
•
395 views
2เอกสารประกอบการนำเสนอ
krupornpana55
•
1.6K views
ก.ค.ศ.3
Taweep Saechin
•
33.7K views
คู่มือครูและบุคลากร
Montree Jareeyanuwat
•
198 views
คู่มือครูและบุคลากร
Montree Jareeyanuwat
•
1.1K views
คู่มือครูและบุคลากร
Montree Jareeyanuwat
•
269 views
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
Aiphie Sonia Haji
•
2.2K views
Chonticha
katphone
•
14 views
Chonticha23
SarinyaKoonasit
•
30 views
More from สพป.นว.1
วารสาร
สพป.นว.1
245 views
•
24 slides
อัลบั้มรูป
สพป.นว.1
264 views
•
25 slides
Test
สพป.นว.1
129 views
•
1 slide
Xx
สพป.นว.1
190 views
•
1 slide
Nakhonsawan 1 e magazine
สพป.นว.1
99 views
•
1 slide
Nakhonsawan 1 e magazine
สพป.นว.1
124 views
•
1 slide
More from สพป.นว.1
(9)
วารสาร
สพป.นว.1
•
245 views
อัลบั้มรูป
สพป.นว.1
•
264 views
Test
สพป.นว.1
•
129 views
Xx
สพป.นว.1
•
190 views
Nakhonsawan 1 e magazine
สพป.นว.1
•
99 views
Nakhonsawan 1 e magazine
สพป.นว.1
•
124 views
วารสารออนไลน์
สพป.นว.1
•
849 views
งานเกษียณ
สพป.นว.1
•
1.4K views
Smedu
สพป.นว.1
•
233 views
วารสารออนไลน์ฉบับต้อนรับเปิดเทอม 2556
1.
NAKHONSAWAN 1 E
- MAGAZINE วารสารการศึกษาออนไลน์ สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 1 ฉบับพิเศษ ต้อนรับเปิดภาคเรียนใหม่ ปีการศึกษา 2556
2.
ผอ.เขตฯ พบเพื่อน ครู เริ่มแล้วครับ ปีการศึกษาใหม่ 2556
ณ วันนี้เรากำาลังอยู่ในโลกปัจจุบันที่ท้าทายความ สามารถของคนในวงการศึกษาทำาอย่างไร เราจึงจะนำาประสบการณ์ทั้งความสำาเร็จ และล้มเหลว ในการจัดการศึกษามาแก้ปัญหา และพัฒนาให้ไปสู่เป้าหมายในอนาคตที่ดีกว่าได้ ถ้าหากทุกฝ่ายมีความพร้อมโอกาสที่จะประสบผลสำาเร็จมีสูง ฉะนั้นบทบาทหน้าที่ของทุกคน จึงเป็นเรื่องสำาคัญยิ่ง ปีการศึกษาใหม่นี้เราใช้รูปแบบ “การนิเทศภายในเพื่อ การเปลี่ยนแปลง อย่างยั่งยืน” องค์ประกอบที่จะนำาไปสู่คุณภาพได้นั้นก็จะอยู่ที่ความพร้อมของผู้เรียน ความพร้อม ของสิ่งแวดล้อม ความพร้อมของผู้บริหาร และครู และความพร้อมของหลักสูตร “สำานักงานเขตเพื่อนครู” ยังคงทำาหน้าที่ให้ดีที่สุดต่อไปภายใต้ความเปลี่ยนแปลง ความ ก้าวหน้าของครู และคุณภาพนักเรียนจะต้องมีมาตรฐานเดียวกัน ผลจากการสอบ O-Net เป็น ข้อมูลหนึ่งที่สามารถนำามาวิเคราะห์ได้ โครงการยกระดับคุณภาพครูทั้งระบบ Coaching and Mentoring ก็เป็นอีกความหวังหนึ่งที่จะเปลี่ยนแปลง ผมจะยืนเคียงข้าง และเป็นเพื่อนที่แสนดี เป็นกำาลังใจให้ทุกคน จับมือกันไปสู่ความสำาเร็จ ในการจัดการศึกษาแก่ลูกหลานของเราสืบไป ด้วยความรักและปรารถนาดี (ดร.สมเดช สีแสง) ผอ.สพป.นครสวรรค์ เขต 1
3.
บทบรรณาธิการ วารสารครูนครสวรรค์ เขต 1
ฉบับพิเศษต้อนรับเปิดภาคใหม่ปีการศึกษา 2556 ท่ามกลาง ความร้อนระอุขึ้นทุกวัน เพราะฝีมือมนุษย์ที่ได้ช่วยกันทำาลายสิ่งแวดล้อม โลกจึงต้องประสบภัย พิบัตินานาชนิด ตามที่เป็นข่าวทุกวันนี้ “การศึกษาเท่านั้นที่จะช่วยโลกได้” ในศตวรรษที่ 21 นี้ เราคงปฏิเสธไม่ได้ว่า คุณภาพการศึกษาไทยน่าเป็นห่วง รากเหง้าสังคมไทยกับเด็กไทย กำาลังสั่นคลอนความท้าทายโลก ในเรื่องประชาคมอาเซียน ทักษะในอนาคต ความขัดแย้งแตก ต่างสุดขั้วของคนในชาติ สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ จำาเป็นที่พวกเราทุกคนจะต้องสร้าง และพัฒนาเด็ก ไทย ให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม ด้วยสนองนโยบายรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ท่านพงศ์เทพ เทพกาญจนา ที่ว่า ต้องกำาหนดวิสัยทัศน์ การปฏิรูปหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน และออกแบบหลักสูตรใหม่ และตำาราเรียนแห่งชีวิต ผมและคณะเห็นด้วยเต็มประตูครับ (นายรณชัย ทัดช่อม่วง) รอง ผอ.สพป.นครสวรรค์ เขต 1 บรรณาธิการ
4.
สารบัญ • ผอ.เขตพบเพื่อนครู • บทบรรณาธิการ •
รมว.ศธ.มอบนโยบายก่อนเปิด ภาคเรียน • สพป.นครสวรรค์ เขต 1 เข้ม จัดสงกรานต์วิชาการ • นิเทศเพื่อยกระดับคุณภาพ การศึกษา สพป.นครสวรรค์ เขต 1 • Coaching and Metoring • เด็กพิเศษ “1 ปีที่รอคอย” • มุมอาเซียน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ด้านวิชาการ ข่าวสารความเคลื่อนไหว เกี่ยวกับการศึกษา 2. เพื่อเป็นสื่อกลางในการประสานงาน รายงาน ความก้าวหน้าของหน่วยงาน แก่ผู้เกี่ยวข้อง 3. เพื่อสร้างเครือข่ายการจัดการศึกษา ทุกระดับ
5.
รมว.ศธ.มอบนโยบายก่อนเปิดภาค เรียน โรงแรมรามาการ์เด้น - นายพงศ์เทพ
เทพกาญจนา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธานพิธีเปิดการประชุมสัมมนาผู้อำานวยการสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา (ผอ.สพท.) ทั่วประเทศ ครั้งที่ 2/2556 พร้อมมอบนโยบายการเตรียมการก่อนเปิดภาคเรียน ปีการศึกษา 2556 เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2556 รมว.ศธ.กล่าวว่า เป็นที่ทราบกันดีว่าการศึกษามีความสำาคัญ ต่อการพัฒนาบุคลากรไทย รัฐบาลซึ่งนำาโดยนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ก็ให้ ความสำาคัญกับการศึกษาเป็นอย่างมาก รวมทั้งยังใช้การศึกษาเป็นตัวนำาในการแก้ไขปัญหา ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ด้วย และในโอกาสทีได้มาพบกับ ผอ.สพท. ทั่วประเทศ จึง ขอฝากประเด็นต่างๆ ในการทำางานไว้ดังนี้ - รูปแบบการจัดการศึกษาที่ดี (Best Practices) ในฐานะ ผอ.สพท. ย่อมจะเห็นสิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นในโรงเรียน และเขตพื้นที่การศึกษาของตนเอง ทั้งตัวอย่างที่ดีและไม่ดี แต่ขอให้ นำาตัวอย่างการจัดการศึกษาที่ดีที่โรงเรียนอื่นสามารถนำาไปศึกษา มาปรับใช้ ประยุกต์ใช้ได้ โดยให้แต่ละเขตพื้นที่การศึกษาส่งข้อมูล Best Practices ในเขตของตนมายัง สพฐ. เพื่อจะได้ ช่วยกันพิจารณา ศึกษา นำาไปเผยแพร่ และขยายผลให้เป็นแบบอย่างของโรงเรียนอื่นๆ ในพื้นที่ เดียวกัน เพื่อช่วยยกระดับและพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศ
6.
- การปฏิรูปหลักสูตร ซึ่งคาดว่าจะแล้วเสร็จในอีก 5
เดือนข้างหน้า และจะมีความแตกต่าง จากหลักสูตรเดิม เพราะผลสัมฤทธิ์จะเกิดขึ้นกับนักเรียน คือ สามารถคิดและวิเคราะห์ได้ ศธ. ไม่ต้องการให้นักเรียนเสียเวลาเรียนกับเนื้อหาที่ไม่จำาเป็น ท่องจำาในเรื่องที่เปล่าประโยชน์ สิ่งที่ต้องการคือ ต้องการให้เด็กคิดเป็น ทำาเป็น มองเห็นเหตุการณ์ สามารถตอบโจทย์ และหาทางออกใน โจทย์ต่างๆ ได้ เนื่องจากโลกยุคปัจจุบัน การดำาเนินชีวิตไม่มีสูตรสำาเร็จตายตัว หากเราสอนให้เด็กคิด วิเคราะห์ได้ ไม่ว่าโจทย์จะเป็นอย่างไร สุดท้ายแล้วเด็กก็จะสามารถ หาทางออกไปได้ การสร้างความคิด สร้างความสามารถในการวิเคราะห์ จึงเป็นหัวใจสำาคัญ ของหลักสูตรใหม่ - การเชื่อมโยงการจัดการศึกษา ขอให้มีการเชื่อมโยงการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาล ประถม ศึกษา มัธยมศึกษา อาชีวศึกษา และอุดมศึกษา เพราะกระบวนการสร้างคนสายอาชีวะ และอุดมศึกษา จะต้อง มีการเตรียมความพร้อมตั้งแต่ระดับอนุบาล ประถมศึกษา มัธยมศึกษา ขึ้นมา กระบวนการใหม่ที่จะเกิดขึ้น สกอ.ต้องทำางานร่วมกับ สพฐ. และ สอศ. ด้วย และ ในปัจจุบันเรามีผู้เรียนในสายสามัญ 60% และในสายอาชีวะกว่า 30% ศธ.ต้องการเพิ่มผู้เรียนสายอาชีวะ เป็น 50% เพื่อให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ซึ่งผู้เรียนที่จะป้อนเข้าสู่สายอาชีวะกับสาย สามัญ เป็นผู้เรียนกลุ่มเดียวกัน หากมีนักเรียนสายอาชีวะเพิ่มขึ้น จำานวนนักเรียนสายสามัญก็จะต้องลดลง หากมองในส่วนของโรงเรียน เมื่อผู้เรียนสายสามัญลดลงเพราะต้องไปเรียนสายอาชีวะ โรงเรียนสายสามัญ จะต้องมีแผนรองรับ/จัดการกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพาะในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จะ ต้องคาดการณ์และวางแผนทั้งในเรื่องโครงสร้างของครู อาคารเรียน ห้องเรียน และบุคลากรทางการศึกษา ขอฝากให้ช่วยกันคิดไว้ล่วงหน้า อย่างไรก็ตาม การลดจำานวนนักเรียนสายสามัญเป็นโอกาสที่ดี ที่จะได้ยกระดับคุณภาพนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายมากขึ้น
7.
- คุณธรรม จริยธรรม การมีความรู้เพียงอย่างเดียวคงจะไม่ช่วยให้ประเทศเจริญก้าวหน้า
ประชาชนมี ความสุขหรือสงบได้ แต่การอยู่ร่วมกันนั้นคนในประเทศจะต้องมีความรู้ควบคู่ กับคุณธรรมจริยธรรม โดยเฉพาะสังคมในระบอบประชาธิปไตย จะต้องสร้างจิตสำานึกให้คน อยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข ซึ่งเป็นเรื่องที่จะต้องปลูกฝังกันตั้งแต่ระดับอนุบาลจนถึงระดับอุดมศึกษา โดยวิธีการ ปลูกฝังนั้นจะใช้เพียงการสอนจากหนังสือเรียน จากการเรียนในห้องเรียน คงไม่เพียงพอ แต่จะต้องมีกระบวนการปฏิบัติเพื่อให้เกิดการซึมซับจนติดเป็นนิสัย เป็นวิถีชีวิตประจำาวัน จึง ขอให้โรงเรียนสร้างระบบการฝึกอบรมในเรื่องเหล่านี้เป็นแนวทางปฏิบัติ ของโรงเรียนเอง เช่น การฝึกให้เด็กกล้าแสดงออก กล้าคิด กล้าทำา บรรยากาศในการเรียน ก็ต้องเปิดโอกาสให้เด็กได้พูด ได้แสดงความคิดเห็น ครูไม่ควรพูดอยู่คนเดียว ในขณะเดียวกัน ก็ต้องเปิดโอกาสให้เด็กคิด โต้แย้ง แสดงเหตุผล เพื่อฝึกให้กล้าแสดงออก กล้าพูดในสิ่ง ที่ตัวเองคิด ซึ่งสิ่งเหล่านี้ล้วนเกิดจากกระบวนการปฏิบัติจริงในโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง - โรงเรียนขนาดเล็ก ศธ.มีนโยบายจัดระบบรวมโรงเรียนขนาดเล็กเข้าด้วยกัน เพราะนอกจากจะมี นักเรียนจำานวนน้อยแล้ว คุณภาพการศึกษาก็ด้อยไปด้วย ซึ่งรัฐบาลไม่มีความสามารถ ในการพัฒนาทุกโรงเรียนได้ ในบางประเทศที่อยู่ในระดับแนวหน้าของโลก เช่น สหรัฐอเมริกา เมื่อมี จำานวนนักเรียนลดลงก็จะปิดโรงเรียนบ่อยครั้ง มีนักเรียนเพียง 200 คนก็ปิดโรงเรียนแล้ว ฉะนั้นการ ทำาความเข้าใจเพื่อให้ประชาชนรับรู้ว่า รัฐบาลไม่มีงบประมาณในการดูแลโรงเรียน ทุกโรงเรียนให้ดีเท่ากันได้ แต่หากรวมโรงเรียนก็จะสามารถร่วมกันพัฒนาให้โรงเรียนดีขึ้นได้ สำาหรับรถ รับส่งในกรณีที่จะต้องรวมโรงเรียน
8.
สพฐ.ได้จัดงบประมาณสำาหรับจัดซื้อรถจำานวนหนึ่ง ซึ่งจากการลงพื้นที่มีหลายโรงเรียนในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือได้ประสานรถเอกชนให้มารับส่งนักเรียน โดยคิดค่าใช้จ่าย
10-15 บาทต่อ คน ซึ่งเป็นประโยชน์มาก เพราะระบบการขนส่งของเอกชนจะคล่องตัวกว่าของรัฐ ช่วยประหยัด ค่าใช้จ่าย และมีราคาที่แน่นอน ซึ่งเป็นอีกทางเลือกหนึ่งสำาหรับการรับส่งนักเรียนไปเรียน แต่ หากไม่มีเอกชนบริการรถรับส่งในพื้นที่นั้นจริงๆ ก็สามารถใช้บริการรถที่ สพฐ.จัดสรรไว้ได้ หรือ หากมีนักเรียนจำานวนไม่มาก และโรงเรียนอยู่ไม่ไกลจนเกินไป การจัดหาจักรยานมาแจก นักเรียนเพื่อเดินทางไปโรงเรียนในละแวกใกล้เคียงก็สามารถทำาได้เช่นกัน - การสอบครูผู้ช่วย ขณะนี้คนทั้งประเทศและสื่อมวลชนกำาลังจับตามองการจัดสอบครูผู้ช่วย ของ ศธ. ว่าจะสามารถจัดระบบการสอบครูผู้ช่วยครั้งใหม่ที่มีความโปร่งใส เป็นธรรม และไม่เกิด ปัญหาขึ้นได้หรือไม่ แม้เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจะไม่ใช้เหตุการณ์ปกติ เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เป็นครั้งคราว แต่หาก ศธ.สามารถดำาเนินการสอบครั้งนี้ได้ดี ก็จะเรียกความน่าเชื่อถือจากสังคม กลับคืนมาได้ เพราะ ศธ.เป็นผู้ให้การศึกษากับลูกหลานของประชาชน จึงต้องเป็นคนที่มี คุณธรรม มีความรับผิดชอบ และมีความน่าเชื่อถือ ผู้ปกครองคงจะไม่สบายใจ หากได้คนที่ไม่ดีมา เป็นคนสั่งสอนลูกหลานของเขา เพราะคนไม่ดีก็จะสอนในเรื่องไม่ดี และประพฤติปฏิบัติตน ไปในทางที่ไม่ดีด้วย ขอให้ ผอ.สพท.ช่วยสอดส่องดูแลให้การสอบมีความโปร่งใสเป็นธรรม หากพบเห็นความไม่ชอบมาพากล ไม่ถูกต้อง ขอให้แจ้งมายัง สพฐ. และ รมว.ศธ.เพื่อพิจารณา ดำาเนินการตรวจสอบและยับยั้งการกระทำาผิดต่อไป
9.
สพป.นครสวรรค์ เขต 1 เข้มจัดสงกรานต์วิชาการ ดร.สมเดช
สีแสง ผอ.สพป.นครสวรรค์ เขต 1 นำาคณะ ประธานเครือข่ายทุกอำาเภอในสังกัดจัดงาน "สงกรานต์ วิชาการสืบสานประเพณีไทย" วันที่ 18-20 เมษายน 2556 เพื่อเป็นเวทีในการแสดงนิทรรศการ ผลงานความก้าวหน้า ของครู - นักเรียน และพัฒนาผลงานทางวิชาการให้แก่ครู ภาคเหนือ 17 จังหวัด ในบริเวณมีประชุมผู้บริหารภายใต้ ยุทธศาสตร์ "การศึกษาเท่านั้นที่จะช่วยบ้านเมืองได้" มีการ ทำาบุญเลี้ยงพระ รดนำ้าขอพรผู้มีอุปการคุณต่อการศึกษา โดยมีรองผู้ว่าราชการจังหวัดนครสวรรค์ นายอำานวย ตั้งเจริญชัย ให้เกียรติเป็นประธานในพิธีเปิดงาน มีผู้ร่วม งานเป็นจำานวนมาก
10.
นิเทศเพื่อยกระดับคุณภาพการ ศึกษา สพป.นครสวรรค์ เขต 1 กรอบแนวคิดสำาคัญ นิเทศและพัฒนาระบบการนิเทศภายใน
เพื่อการเปลี่ยนแปลงอย่างยั่งยืน คณะกรรมการนิเทศของแต่ละกลุ่มเครือข่าย 1. รอง ผอ.สพป.นครสวรรค์ เขต 1 2. ศึกษานิเทศก์ 3. ประธานกลุ่มเครือข่าย 4. ผู้บริหารโรงเรียนในกลุ่มเครือข่าย 5. ผู้บริหารที่ทำาหน้าที่ส่งเสริมการนิเทศภายใน เครื่องมือนิเทศ (สร้างวิสัยทัศน์ร่วมในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน ตามองค์ประกอบการนิเทศ 4 ด้าน) 1. ด้านอาคารสถานที่ 5 รายการ 2. ด้านระบบบริหารจัดการ 5 รายการ 3. ด้านการจัดการเรียนการสอน 6 รายการ 4. ด้านจุดเน้น 10 รายการ (เพิ่มการจัดการศึกษาตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง)
11.
ขอบข่ายภารกิจของคณะกรรมการนิเทศ 1. ร่วมกับโรงเรียนในกลุ่มเครือข่าย วิเคราะห์ผลการพัฒนา
คุณภาพการศึกษา ของปี การศึกษา 2555 และวางแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2556 ทั้งในระดับกลุ่ม เครือข่าย และระดับโรงเรียน 2. นิเทศช่วยเหลือดูแล ส่งเสริมสนับสนุน ติดตามกำากับ การพัฒนาคุณภาพการศึกษา ของกลุ่มเครือข่าย และระดับโรงเรียน 3. พัฒนาระบบและส่งเสริมการนิเทศภายในกลุ่มเครือข่าย และโรงเรียน 4. สรุปและรายงานผลการนิเทศในด้านวิธีการ ผลที่ปรากฏ กับผู้บริหารโรงเรียน ครู นักเรียน และผู้เกี่ยวข้อง ปัญหา อุปสรรค การแก้ไข และความรู้ข้อค้นพบ ฯลฯ 5. ระยะเวลาการนิเทศ และรายงานผลการนิเทศ แบ่งเป็น 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ระยะต้นปีการศึกษา ระหว่าง 15 พฤษภาคม – 30 มิถุนายน 2556 ระยะที่ 2 ระยะภาคเรียนที่ 1 ระหว่าง 1 กรกฎาคม – 30 กันยายน 2556 ระยะที่ 3 ระยะภาคเรียนที่ 2 ระหว่าง 1 พฤศจิกายน 2556 – 30 มีนาคม 2557
13.
โครงการพัฒนาครูโดยใช้กระบวนการสร้างระบบพี่เลี้ยง Coaching and Mentoring สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์
เขต 1 รัฐบาลได้กำาหนดนโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต โดยให้มีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการ ศึกษาทั้งระบบเพื่อพัฒนาครูตามสมรรถนะให้เป็นครูดี ครูเก่ง มีคุณภาพ คุณธรรม ในปีงบประมาณ 2556 สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงได้จัดโครงการพัฒนาครู ที่เน้นการสร้าง ความ เข้มแข็งของสมรรถนะ ด้านการจัดการเรียนการสอนในบริบทที่หลากหลายของลักษณะ และขนาด ของโรงเรียนโดยใช้กระบวนการสร้างระบบพี่เลี้ยง Coaching และให้เป็นไปตามความต้องการ จำาเป็น ของสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาโดยให้สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ประสานสถาบันอุดมศึกษาเพื่อร่วมเป็นคู่พัฒนา การจัดพัฒนาให้เน้นรูปแบบการพัฒนาฐานโรงเรียน ในขณะปฏิบัติการสอน (On the job training) และให้มีระบบสนับสนุนในรูปแบบการ Coaching และ Mentoring โดยให้เน้นการพัฒนาเพื่อเสริมสร้างจิตวิญญาณและ อุดมการณ์ของความเป็นครู การพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ความสามารถด้าน Literacy, Numeracy และ Reasoning Ability ตามระดับชั้น และจุดเน้นตามนโยบายของสำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ควบรวมกับ กระบวนการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ตามแนวทางของการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ด้วย เพื่อพัฒนาครูตามสมรรถนะให้เป็นครูดี ครูเก่ง มีคุณภาพ คุณธรรม สอดคล้องกับการจัดการ เรียนการสอนตามระดับชั้น บริบท และขนาดที่หลากหลายของโรงเรียน และความต้องการจำาเป็น
14.
และความต้องการจำาเป็นของสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ดำาเนินการ พัฒนาครู ศึกษานิเทศก์
ผู้บริหาร และบุคลากรทางการศึกษา รวมทั้งสิ้น 125 คน ดังนี้ 1. พัฒนาครูกลุ่มสาระ จำานวน 104 คน 2. ผู้บริหารสถานศึกษา จำานวน 17 คน 3. ศึกษานิเทศก์ จำานวน 4 คน 4. รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์ของการพัฒนาครู คุณสมบัติของผู้ดำาเนินการ 1) เป็นหน่วยงานราชการ มหาวิทยาลัยของรัฐ มหาวิทยาลัยในกำากับของรัฐ หรือ องค์กรของรัฐที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญในด้านการจัดการเรียนการสอน การให้การฝึก อบรม ครู ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ และช่วงชั้นตามเป้าหมายของการพัฒนาดังกล่าวข้าง ต้น 2) มีผลงานอ้างอิงด้านการจัดการเรียนการสอน การให้การฝึกอบรมด้านความรู้เนื้อหา และสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนของครู 3) มีผลงานการดำาเนินงานด้านการออกแบบการจัดการเรียนการสอน การให้การฝึก อบรมครู รวมทั้งการจัดทำาสื่อการเรียนการสอน 4) มีบุคลากร ผู้เชี่ยวชาญ ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญ ด้านการออกแบบการจัดการเรียน การสอน การให้การฝึกอบรม ความรู้เนื้อหา สมรรถนะการจัดการเรียนรู้ กิจกรรมพัฒนา ผู้เรียนของครูทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ทุกช่วงชั้น
15.
ขอบเขตการดำาเนินงาน ที่ปรึกษาต้องดำาเนินการพัฒนาหรือฝึกอบรมครูตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ตามเป้าหมาย โดยใช้ กระบวนการสร้างระบบพี่เลี้ยง Coaching
and Mentoring ภายใต้การดูแลของสำานักงาน เขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 1 ซึ่งสามารถดำาเนินการติดตามผลได้อย่างต่อเนื่อง โดยกำาหนดขอบเขตการดำาเนินงานของที่ปรึกษา ดังนี้ 1) ศึกษา วิเคราะห์การสร้างหรือพัฒนาหลักสูตรการพัฒนา สมรรถนะความรู้ตามเนื้อหารายกลุ่ม สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการพัฒนาครู ให้ครอบคลุมตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 2) ออกแบบ จัดทำา และพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาสมรรถนะความรู้ตามเนื้อหารายกลุ่มสาระ การเรียนรู้ 5 กลุ่มสาระ กิจกรรมการพัฒนาครู โดยใช้กระบวนการสร้างระบบพี่เลี้ยง Coaching and Mentoring ออกแบบสื่อในการฝึกอบรม วิธีการและกิจกรรมการฝึกอบรมของครูรายกลุ่ม สาระ การเรียนรู้ ให้ครอบคลุม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และ มีทักษะพื้นฐานด้าน Literacy, Numeracy และ Reasoning Ability พร้อมกับจัดการเรียนรู้กับ ผู้เรียนคือ Learning to Question Learning to Search Learning to Construct Learning to Communicate
16.
3) ศึกษา วิเคราะห์
การจัดทำาหรือพัฒนาสื่อการพัฒนาของครูรายกลุ่มสำาระการเรียนรู้ที่ทัน สมัย ประสิทธิภาพสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 4) ออกแบบ จัดทำาและพัฒนาสื่อการพัฒนาของครูรายกลุ่มสำาระการเรียนรู้ที่ทันสมัยมี ประสิทธิภาพสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และตรงกับ ความต้องการในการจัดการเรียนรู้ตำามกลุ่มสาระการเรียนรู้ให้กับครูที่เข้ารับการฝึกอบรมหรือ พัฒนาทุกคน 5) จัดทำาคู่มือ องค์ประกอบ โครงสร้าง วิธีการใช้สื่อการเรียนการสอนครูตามกลุ่มสาระการ เรียนรู้ให้กับสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และครูที่เข้ารับการพัฒนาทุกคน 6) ดำาเนินการพัฒนาครูโดยใช้กระบวนการสร้างระบบพี่เลี้ยง Coaching and Mentoring ตามหลักสูตรโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และคณาจารย์ ที่มีความเชี่ยวชาญด้านการจัดการ เรียนการสอน การให้การฝึกอบรมหรือพัฒนา ให้ครอบคลุมความรู้เนื้อหา และสมรรถนะทางด้าน การจัดการเรียนรู้ของครูตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ และมีทักษะพื้นฐานด้าน Literacy, Numeracy และ Reasoning Ability พร้อมกับจัดการเรียนรู้กับผู้เรียนคือ Learning to Question Learning to Search Learning to Construct Learning to Communicate Learning to Serve
17.
โดยจัดให้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และจัดให้มีคู่มือการฝึกอบรม สื่อในการฝึกอบรม
เอกสาร ประกอบการฝึกอบรมที่สามารถนำาใช้อ้างอิง ในการนำาผลการฝึกอบรมสู่การปฏิบัติในการจัดการ เรียน การสอนในชั้นเรียนให้มีประสิทธิภาพ ให้กับผู้เข้ารับการฝึกอบรม 6.1) จัดให้มีการพัฒนาศึกษานิเทศก์ รองผู้อำานวยการสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ให้มี ความรู้ และทักษะในกระบวนการพี่เลี้ยง เป็นเวลา 1 วัน จำานวน 30 คน 6.2) กิจกรรม Classroom เน้นด้านเนื้อหาและกระบวนการรวมทั้งการฝึกปฏิบัติ 2 วัน โดยใช้วันหยุดซึ่งอาจจัดติดต่อกันหรือไม่ติดต่อกันก็ได้ 6.3) กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ พร้อมฝึกให้ครูทำา Action Research (วิจัยในชั้นเรียน) 7) จัดให้มีกระบวนการนิเทศ ติดตามประเมินผล และติดตามผลการดำาเนินงาน Action Research (วิจัยในชั้นเรียน) ณ สถานศึกษา จำานวน 125 คน จำานวน 17 โรงเรียน ไม่น้อยกว่า 3 ครั้ง โดยความร่วมมือกันระหว่างสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 1 กับ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ 8) จัดทำาวุฒิบัตร และมอบวุฒิบัตรให้ครู ที่ผ่านการฝึกอบรมหรือพัฒนา ตามขอบเขตของงาน (Term of Reference : TOR) ตามข้อ 6) และ ข้อ 7) โครงการพัฒนาครูโดยใช้กระบวนการสร้าง ระบบพี่เลี้ยง Coaching and Mentoring สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 1 9) ดำาเนินการประเมินผลสัมฤทธิ์การฝึกอบรมของครูและ จัดทำารายงานสรุปผลส่งให้สำานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 1
19.
เด็กพิเศษ "1 ปีที่รอคอย" ดร.สมเดช
สีแสง ผอ.สพป.นครสวรรค์ เขต 1 เป็นประธานในพิธีเปิดงาน "วันฟ้าใส" ปี 4 ให้แก่ เด็กพิการเข้าร่วมสังคมกับเด็กปกติ 3 มิถุนายน 2556 ณ โรงเรียนนครสวรรค์ปัญญานุกูล มีกิจกรรม ขึ้นทะเบียนคนพิการ มอบถุงยังชีพ ตรวจสุขภาพ กิจกรรมบันเทิง นิทรรศการ นับเป็นความภาคภูมิใจ ของเด็กด้อยโอกาส ที่ 1 ปี พวกเขาจะมาพบกัน 1 ครั้ง จังหวัดนครสวรรค์ ได้ให้ความสำาคัญกับเด็ก กลุ่มด้อยโอกาส ไม่ด้อยคุณภาพเป็นพิเศษ ปีหน้าพบกันใหม่ ขอขอบคุณทุกท่านที่มีส่วนร่วมช่วยให้ กิจกรรมสำาเร็จลุล่วงด้วยดี ดร.สมเดช สีแสง กล่าวอย่างภาคภูมิใจ
22.
มุมอาเซียน อาหารจานเด็ด 10 ประเทศอาเซียน ทุกวันนี้สถานศึกษาต่าง
ๆ ให้ความสำาคัญ และ เตรียมพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน เห็นได้จากการ จัดกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อให้ครูนักเรียนได้เรียนรู้ เรามา รู้จักกับอาหารประจำาชาติอาเซียนกัน 1.ประเทศไทย ต้มยำากุ้ง เป็นอาหารคาว ที่เหมาะสำาหรับรับประทานกับ ข้าวสวยร้อน ๆ กลิ่นหอม ของสมุนไพรที่เป็นส่วนประกอบ ในต้มยำากุ้ง นอกจากจะทำาให้รู้สึก สดชื่นแล้ว ยังช่วยกระตุ้นการ เจริญอาหารได้เป็นอย่างดี และ เนื่องจากต้มยำากุ้งเป็นอาหารที่มีรสเปรี้ยว และเผ็ด เป็นหลัก ทำาให้รับประทานแล้วไม่เลี่ยน จึงทำาให้ ต้มยำากุ้งเป็นอาหารที่ได้รับความนิยมในทั่วทุกภาคของ ประเทศไทย รวมถึงชาวต่างชาติเองก็ติดอกติดใจ ในความอร่อยของต้มยำากุ้งเช่นเดียวกัน 2.ประเทศกัมพูชา อาม็อก (Amok) เป็นอาหารคาวยอดนิยมของ กัมพูชา มีลักษณะคล้ายห่อหมกของไทย โดยเป็นการ นำาเนื้อปลาสด ๆ ลวกพริกเครื่องแกง และกะทิ แล้วทำา ให้สุกโดยการนำาไปนึ่ง ซึ่งนอกจากจะใช้เนื้อปลาแล้ว อาจเลือกใช้เนื้อไก่แทนก็ได้ ส่วนสาเหตุที่คนใน ประเทศกัมพูชานิยมรับประทานปลา เนื่องจากสภาพ ภูมิประเทศของกัมพูชา มีแหล่งนำ้าอุดมสมบูรณ์ ทำาให้ ปลาเป็นอาหารที่หารับประทานได้ง่ายนั่นเอง
23.
3.ประเทศบรูไน อัมบูยัต (Ambuyat) เป็นอาหารยอดนิยมของ บรูไน มีลักษณะเด่นอยู่ที่ตัวแป้งจะเหนียวข้นคล้าย ข้าวต้ม
หรือโจ๊ก โดยมีแป้งสาคูเป็นส่วนผสมหลัก ตัวแป้งอัมบูยัตเอง ไม่มีรสชาติ แต่ความอร่อยจะอยู่ที่ การจิ้มกับซอสผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว นอกจากนี้ยังมีเครื่อง เคียงอีก 2-3 ชนิด เช่น ผักสด เนื้อห่อใบตองย่าง หรือ เนื้อทอด ทั้งนี้ การรับประทานอัมบูยัตให้ได้รสชาติ ต้องรับประทานตอนร้อน ๆ จึงจะดีที่สุด 4.ประเทศพม่า หล่าเพ็ด (Lahpet) เป็นอาหารยอดนิยมของ พม่า โดยการนำาใบชาหมักมาทานกับเครื่องเคียง เช่น กระเทียมเจียว ถั่วชนิดต่าง ๆ งาคั่ว กุ้งแห้ง ขิง มะพร้าวคั่ว เรียกได้ว่า มีลักษณะคล้ายคลึงกับเมี่ยงคำา ของประเทศไทย ซึ่งหล่าเพ็ดนี้ จะเป็นเมนูอาหาร ที่ขาดไม่ได้ในโอกาสพิเศษหรือเทศกาลสำาคัญ ๆ ของ ประเทศพม่า โดยกล่าวกันว่า หากงานเลี้ยง หรืองาน เฉลิมฉลองใด ไม่มีหล่าเพ็ด จะถือว่าการนั้นเป็นงาน ที่ขาดความสมบูรณ์ไปเลยทีเดียว
24.
5.ประเทศฟิลิปปินส์ อโดโบ้ (Adobo) เป็นอาหารยอดนิยมของ ประเทศฟิลิปปินส์ ทำาจากเนื้อหมู
หรือเนื้อไก่ ที่ผ่าน การหมัก และปรุงรส โดยจะใส่นำ้าส้มสายชู ซีอิ๊วขาว กระเทียมสับ ใบกระวาน พริกไทยดำา นำาไปทำาให้สุก โดยอบในเตาอบ หรือทอด แล้วนำามารับประทาน กับข้าวสวยร้อน ๆ ในอดีตอาหารจานนี้เป็นที่นิยมใน หมู่ นักเดินทาง เนื่องจากส่วนผสมของอโดโบ้สามารถเก็บ รักษาไว้ได้นาน เหมาะสำาหรับพกไว้เป็นเสบียงอาหาร ระหว่างการเดินทาง ซึ่งปัจจุบันอโดโบ้ได้กลายเป็น อาหารยอดนิยมที่นำามารับประทานกันได้ทุกที่ทุกเวลา 6.ประเทศสิงคโปร์ ลักซา (Laksa) อาหารขึ้นชื่อของประเทศ สิงคโปร์ ลักซามีลักษณะคล้ายก๋วยเตี๋ยวต้มยำาใส่กะทิ ทำาให้รสชาติเข้มข้น คล้ายคลึงกับข้าวซอยของไทย โดยลักซาจะมีส่วนผสมของ กุ้งแห้ง พริก กุ้งต้ม และ หอยแครง เหมาะสำาหรับคนที่ชอบรับประทานอาหาร ทะเลเป็นอย่างยิ่ง อย่างไรก็ตาม ลักซามีทั้งแบบที่ใส่ กะทิ และไม่ใส่กะทิ ทว่า แบบที่ใส่กะทิจะเป็นที่นิยม มากกว่า
25.
7.ประเทศอินโดนีเซีย กาโด กาโด (Gado
Gado) อาหารยอดนิยม ของประเทศอินโดนีเซีย ประกอบไปด้วยผัก และ ธัญพืชหลากหลายชนิด ทั้งแครอท มันฝรั่ง กะหลำ่าปลี ถั่วงอก ถั่วเขียว นอกจากนี้ยังมีเต้าหู้ และไข่ต้มสุก ด้วย กาโด กาโดจะนำามารับประทานกับซอสถั่วที่คล้าย กับซอสสะเต๊ะ อย่างไรก็ตาม ด้วยเครื่องสมุนไพรใน ซอส อาทิ รากผักชี หอมแดง กระเทียม ตะไคร้ ทำาให้ เมื่อรับประทานแล้วจะไม่รู้สึกเลี่ยนกะทิมากจนเกินไป นั่นเอง 8. ประเทศลาว สลัดหลวงพระบาง (Luang Prabang Salad) เป็นอาหารขึ้นชื่ออีกชนิดหนึ่ง เนื่องจาก มีรสชาติกลาง ๆ ทำาให้รับประทานได้ทั้งชาวตะวันออก และตะวันตก โดยส่วนประกอบสำาคัญคือ ผักนำ้า ซึ่งเป็น ผักป่าที่ขึ้นตามริมธารนำ้าไหล และยังมีส่วนประกอบ อื่น ๆ เช่น มันแกว แตงกวา มะเขือเทศ ไข่ต้ม ผักกาดหอม และหมูสับลวกสุก ส่วนวิธีปรุงรสคือ ราดด้วยนำ้าสลัดชนิดใส คลุกส่วนผสมทั้งหมดเข้า ด้วยกัน แล้วโรยหน้าด้วยกระเทียมเจียว และถั่วลิสงคั่ว
26.
9.ประเทศมาเลเซีย นาซิ เลอมัก (Nasi
Lemak) อาหารยอดนิยม ของประเทศมาเลเซีย โดยนาซิ เลอมัก จะเป็นข้าวหุง กับกะทิ และใบเตย ทานพร้อมเครื่องเคียง 4 อย่าง ได้แก่ ปลากะตักทอดกรอบ แตงกวาหั่น ไข่ต้มสุก และถั่วอบ ซึ่งนาซิ เลอมักแบบดั้งเดิมจะห่อด้วยใบตอง และมักทานเป็นอาหารเช้า แต่ในปัจจุบัน กลายเป็น อาหารยอดนิยมที่ทานได้ทุกมื้อ และแพร่หลายใน ประเทศเพื่อนบ้านอีกหลายแห่ง เช่น สิงคโปร์ และ ภาคใต้ของไทยด้วย 10.ประเทศเวียดนาม เปาะเปี๊ยะเวียดนาม (Vietnamese Spring Rolls) ถือเป็นหนึ่งในอาหารพื้นเมืองที่โด่งดังที่สุด ของประเทศเวียดนาม ความอร่อยของเปาะเปี๊ยะ เวียดนาม อยู่ที่การนำาแผ่นแป้งซึ่งทำาจากข้าวจ้าวมาห่อ ไส้ ซึ่งอาจจะเป็นไก่ หมู กุ้ง หรือหมูยอ โดยนำามารวม กับผักสมุนไพรอีกหลายชนิด เช่น สะระแหน่ ผักกาดหอม และนำามารับประทานคู่กับนำ้าจิ้มหวาน โดย จะมีถั่วคั่ว แครอทซอย ไชเท้าซอย ให้เติมตามใจชอบ และบางครั้งอาจมีเครื่องเคียงอย่างอื่นเพิ่มด้วย
27.
คณะผู้จัด ทำา ดร.สมเดช สีแสง ผอ.สพป.นครสวรรค์ เขต
1 ที่ปรึกษา รอง ผอ.สพป.นครสวรรค์ เขต 1 ทุกท่าน ผู้อำานวยการกลุ่มทุกกลุ่ม กลุ่มงานประชาสัมพันธ์