SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
Download to read offline
บทที่ 1 การจาแนกสาร
รายวิชาวิทยาศาสตร์ 3 (ว22101)
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558
สาร และ สมบัติของสาร
 สสาร ( Matter ) หมายถึงสิ่งที่มีมวล ต้องการที่อยู่ และ สามารถสัมผัสได้โดยประสาทสัมผัสทั้ง 5 เช่น ดิน น้า
อากาศ ฯลฯ ภายใน สสารเป็นเนื้อของสสาร เรียกว่า สาร ( Substance )
 สาร ( Substance ) คือ สสารที่ทราบสมบัติ หรือ สสารที่จะศึกษา ดังนั้นจึงเป็นสสารที่เฉพาะเจาะจง ซึ่งจะมี
สมบัติของสาร 2 ประเภท คือ
- สมบัติกายภาพ ( Physical Property ) หมายถึง สมบัติที่สังเกตได้จากลักษณะภายนอก และ เกี่ยวกับวิธีการ
ทางฟิสิกส์ เช่น ความหนาแน่น , จุดเดือด , จุดหลอมเหลว
- สมบัติทางเคมี ( Chemistry Property ) หมายถึง สมบัติที่เกิดขึ้นจากการทาปฏิกิริยาเคมี เช่น การติดไฟ ,
การเป็นสนิม , ความเป็น กรด - เบส ของสาร
 การเปลี่ยนแปลงสาร แบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ คือ
- การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ( Physical Change ) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงของสารที่เกี่ยวกับสมบัติ
กายภาพ โดยไม่มีผลต่อ องค์ประกอบภายใน และ ไม่เกิดสารใหม่ เช่น การเปลี่ยนสถานะ , การละลายน้า
- การเปลี่ยนแปลงทางทางเคมี ( Chemistry Change ) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงของสารที่เกี่ยวข้องกับสมบัติ
ทางเคมีซึ่งมีผลต่อองค์ประกอบภายใน และจะมีสมบัติต่างไปจากเดิม นั่นคือ การเกิดสารใหม่ เช่น กรดเกลือ (
HCl ) ทาปฏิกิริยากับลวด แมกนีเซียม ( Mg ) แล้วเกิดสารใหม่ คือ ก๊าซไฮโดรเจน ( H2 )
การจัดจาแนกสาร
 จะสามารถจาแนกออกเป็น 4 กรณี ได้แก่
1. การใช้สถานะเป็นเกณฑ์ แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ
- สถานะที่เป็นของแข็ง ( Solid ) จะมีรูปร่าง และ ปริมาตรคงที่ ซึ่งอนุภาคภายในจะอยู่ชิดติดกัน
เช่น ด่างทับทิม ( KMnO4 ) , ทองแดง ( Cu )
- สถานะที่เป็นของเหลว ( Liquid ) จะมีรูปร่างตามภาชนะที่บรรจุ และ มีปริมาตรที่คงที่ ซึ่งอนุภาค
ภายในจะอยู่ชิดกันน้อยกว่าของแข็ง และ มีสมบัติเป็นของไหล เช่น น้ามัน , แอลกอฮอล์ , ปรอท ( Hg )
ฯลฯ
- สถานะที่เป็นก๊าซ ( Gas ) จะมีรูปร่าง และ ปริมาตรที่ไม่คงที่ โดยรูปร่าง จะเปลี่ยนไปตามภาชนะที่
บรรจุ อนุภาคภายในจะอยู่ ห่างกันมากที่สุด และ มีสมบัติเป็นของไหลได้ เช่น ก๊าซหุงต้ม , อากาศ
การจัดจาแนกสาร
2. การใช้เนื้อสารเป็นเกณฑ์ จะมีสมบัติทางกายภาพของสารที่ได้จากการสังเกตลักษณะความแตกต่างของ
เนื้อสาร ซึ่งจะจาแนกได้ออกเป็น 2 กลุ่ม คือ
- สารเนื้อเดียว ( Homogeneous Substance ) หมายถึง สารที่มีเนื้อสารเหมือนกันทุกส่วน ทาให้
สารมีสมบัติเหมือนกันตลอดทุกส่วน เช่น แอลกอฮอล์ , ทองคา ( Au ) , โลหะบัดกรี
- สารเนื้อผสม ( Heterogeneous Substance ) หมายถึง สารที่มีเนื้อสารแตกต่างกันในแต่ละส่วน
จะทาให้สารนั้นมีสมบัติ ไม่เหมือนกันตลอดทุกส่วน เช่น น้าอบไทย , น้าคลอง ฯลฯ
การจัดจาแนกสาร
3. การละลายน้าเป็นเกณฑ์ จะจาแนกได้ออกเป็น 3 กลุ่ม คือ
- สารที่ละลายน้าได้ เช่น เกลือแกง ( NaCl ) , ด่างทับทิม ( KMnO4 ) ฯลฯ
- สารที่ละลายน้าได้บ้าง เช่น ก๊าซคลอรีน ( Cl2 ) , ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ( CO2 ) ฯลฯ
- สารที่ไม่สามารถละลายน้าได้ เช่น กามะถัน ( S8 ) , เหล็ก ( Fe ) ฯลฯ
4. การนาไฟฟ้ าเป็นเกณฑ์ จะจาแนกได้ออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่
- สารที่นาไฟฟ้ าได้ เช่น ทองแดง ( Cu ) , น้าเกลือ ฯลฯ
- สารที่ไม่นาไฟฟ้ า เช่น หินปูน ( CaCO3 ) , ก๊าซออกซิเจน ( O2 )
1. สารบริสุทธิ์ ( PURE SUBSTANCE ) คือ สารเนื้อเดียวที่มีจุดเดือด และ จุดหลอมเหลวคงที่
2. ธาตุ ( ELEMENT ) คือ สารบริสุทธิ์ที่ประกอบด้วยอะตอมเพียงชนิดเดียวกัน เช่น
คาร์บอน ( C ) , กามะถัน ( S8 )
3. สารประกอบ ( COMPOUND SUBSTANCE ) เกิดจากธาตุตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมารวมกัน
โดยมีอัตราส่วนในการร่วมกันคงที่แน่นอนได้แก่ กรดน้าส้ม ( CH3COOH ) , กรดไฮโดรคลอริก
( HCL ) ฯลฯ
4. ของผสม ( MIXTURE ) หมายถึง สารที่เกิดจากการนาสารตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมาผสมกัน
โดยไม่จากัดส่วนผสม และ ในการผสมกันนั้นไม่มีปฏิกิริยาเกิดขึ้นระหว่างสารองค์ประกอบที่
นามาผสมกัน
>>ความหมายที่ควรรู้<<
ซึ่งมี 3 ประเภท ได้แก่
1. สารละลาย ( SOLUTION SUBSTANCE ) เป็นสารเนื้อเดียวที่มีสัดส่วนในการรวมกันของธาตุ หรือ
สารประกอบไม่คงที่ไม่สามารถเขียนสูตรได้อย่างแน่นอน และ มีขนาดอนุภาคที่เล็กกว่า 10-7 เซนติเมตร ซึ่ง
มี 3 สถานะ เช่น อากาศ , น้าอัดลม , นาก , และ โลหะผสม ทุกชนิด ฯลฯ ซึ่งสารละลายจะแบ่งออกเป็น 2
ส่วน ได้แก่ ตัวทาละลาย ( SOLVENT ) และ ตัวถูกละลาย ( SOLUTE )
2. สารแขวนลอย ( SUSPENSION SUBSTANCE ) คือ สารที่เกิดจากอนุภาคขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางที่
มากกว่า 10-4 เซนติเมตร ซึ่งจะลอยกระจายอยู่ในตัวกลางโดยอนุภาคที่มีอยู่ในของผสมนั้นมีขนาดใหญ่ จึง
สามารถมองเห็นอนุภาคในของผสมได้อย่างชัดเจน เมื่อตั้งทิ้งไว้ อนุภาคจะตกตะกอนลงมา ซึ่งสาร
แขวนลอยนั้นจะไม่สามารถผ่านได้ทั้งกระดาษกรอง และ กระดาษเซลโลเฟน เช่น โคลน , น้าอบไทย
3. คอลลอยด์ ( COLLIOD ) จะประกอบด้วยอนุภาคขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางระหว่าง 10-4 และ
10-7 เซนติเมตร ซึ่งจะไม่มีการตกตะกอน สามารถกระเจิงแสงได้ ซึ่งเรียกปรากฏการณ์นี้ว่า " ปรากฏการณ์
ทินดอลล์ " และ ภายในอนุภาคก็มีการเคลื่อนที่แบบบราวน์เนียน( BROWNIAN MOVEMENT ) ซึ่ง
คอลลอยด์จะสามารถผ่านกระดาษกรองได้ แต่ไม่สามารถผ่านกระดาษเซลโลเฟนได้ เช่น กาว , นมสด
ของผสม ( Mixture )
ของผสม ( Mixture )
การแยกสารผสม
 ใช้ในการแยกสารให้บริสุทธิ์ซึ่งมี 7 วิธี ได้แก่
1. การกลั่น เหมาะสาหรับแยกของเหลวที่ปนเป็นเนื้อเดียวกัน โดยทาให้ของเหลวกลายเป็นไอ แล้ว
ทาให้ควบแน่นเป็นของเหลวอีก แบ่งออก เป็น 2 ประเภท คือ
- การกลั่นธรรมดา เหมาะสาหรับสารที่มีจุดเดือดต่างกันประมาณ 80 องศาเซลเซียส ขึ้นไป แต่
อุณหภูมิตั้งแต่ 40 องศาเซลเซียส ก็จะเกิดกระบวนการแล้ว
- การกลั่นลาดับส่วน เหมาะสาหรับสารที่มีจุดเดือดต่างกันเพียงเล็กน้อย ซึ่งจะมีข้อเสีย คือ จะ
ใช้พลังงานเป็นจานวนมาก และมีความสลับซับซ้อน การกลั่นลาดับส่วนบางครั้งไม่ได้แยกสารให้
บริสุทธิ์ แต่แยกเพื่อประโยชน์ในการนาไปใช้ เช่น การแยกน้ามันดิบ โดยจะแยกพวกที่มีจุดเดือด
ใกล้เคียงไว้ด้วยกัน แต่ถ้าสารที่มีจุดเดือดใกล้เคียงกันมาก แต่ไม่มีเครื่องกลั่นลาดับส่วนก็สามารถ
กลั่นได้ด้วยเครื่องกลั่นธรรมดา แต่จะต้องกลั่นหลาย ๆ ครั้ง จนกระทั่งจุดเดือด และจุดหลอมเหลว
คงที่
การแยกสารผสม
2. การใช้กรวยแยก เหมาะสมกับสารที่เป็นของเหลว และ จะต้องเป็นสารที่ไม่ละลายต่อกัน
หรือ จะต้องมีขั้วต่างกัน เช่น น้า และ น้ามัน
การแยกสารผสม
3. การกรอง เหมาะสาหรับของแข็งที่ไม่ละลายน้า หรือ ของแข็งที่ละลายน้า และ ไม่ละลาย
น้าปนอยู่ด้วยกัน เช่น หินปูน และ น้า
การแยกสารผสม
4. การตกผลึก เหมาะสาหรับสารที่สามารถละลายได้เป็นปรากฏการณ์ที่ตัวถูกละลายที่เป็น
ของแข็ง แยกตัวออกจากสารละลายได้เป็นของแข็งที่มีรูปทรงเรขาคณิต โดยสารใด ๆ ที่
ละลายในน้าอยู่ในจุดอิ่มตัวจะตกเป็นผลึก ถ้ามากเกินพอจะเป็นการตกตะกอนของสาร
การแยกสารผสม
 5. การสกัดด้วยไอน้า เหมาะสมสาหรับการสกัดพวกน้ามันหอมระเหยจากพืช และ การ
ทาน้าหอม ( CH3COOH2O ) โดยมีหลักสาคัญ ดังนี้
- จุดเดือดต่าจะระเหยง่าย ถ้าเป็นสารที่มีจุดเดือดสูง จะต้องการกลั่นโดยอาศัยการ
เปลี่ยนแปลงความดันในระบบ
- สารส่วนใหญ่ไม่ละลายน้า
การแยกสารผสม
6. การสกัดด้วยตัวทาละลาย เหมาะสมกับสารที่ระเหยง่าย โดยมีหลักสาคัญดังนี้
- ถ้าสารมีความสามารถในการละลายในตัวทาละลายต่างชนิดกันสามารถแยกสารออกจากกันได้
- หลักการเลือกตัวทาละลายที่ดี คือ ต้องเลือกตัวทาละลายที่ดี คือ ต้องเลือกตัวทาละลายที่ละลาย
สารที่ต่างกัน การสกัดออกมามากที่สุด และสิ่งเจือปนนั้นจะต้องติดมาน้อยที่สุด
การแยกสารผสม
7. การโครมาโทรกราฟี เหมาะสมสาหรับการแยกสารที่มความสามารถในการละลาย และ ดูดซับไม่เท่ากัน ,
สารที่มีปริมาณน้อย และ ไม่มีสี โดยหลักสาคัญ มีดังนี้
- ในการทดลองทุกครั้งจะต้องปิดฝา เพื่อป้ องกันตัวทาละลายแห้ง ในขณะที่เคลื่อนที่บนตัวดูดซับ
- ถ้าสารเคลื่อนทีใกล้เคียงกันมาก แสดงว่าสารมีความสามารถในการละลาย และ ดูดซับได้ใกล้เคียง
และ จะแก้ไขได้โดย การเปลี่ยนตัวทาละลาย หรือ เพิ่มความยาวของดูดซับได้ แต่สารที่เคลื่อนที่ได้
ระยะทางเท่ากันในตัวทาละลาย และ ตัวดูดซับใกล้เคียงกัน มักจะสรุปได้ว่าสารนั้นเป็นสารเดียวกัน
โดยวิธีนี้สามารถทาให้สารบริสุทธิ์ได้ โดยตัดแบ่งสารที่ต้องการละลายในตัวทาละลายที่เหมาะสม แล้ว
ระเหยตัวทาละลายนั้นทิ้งไป แล้วนาสารนั้นมาทาการโครมาโทรกราฟีใหม่ จนได้สารบริสุทธิ์
ตัวอย่างข้อสอบเกี่ยวกับค่า RF
วิธีการแยกสารอย่างง่าย
 1. การระเหย
 2. การระเหิด
 3. วิธีหยิบออก
 4. ใช้แม่เหล็กดูด
 5. วิธีการร่อน
1.2.
3.
4.
5.
ธาตุและสารประกอบ
1. ธาตุ (Element) หมายถึง สารบริสุทธิ์เนื้อเดียวที่มีองค์ประกอบอย่างเดียว ธาตุไม่สามารถจะนามา
แยกสลายให้กลายเป็นสารอื่นโดยวิธีการทางเคมี ธาตุมีทั้งสถานะที่เป็นของแข็ง เช่น ธาตุสังกะสี
(Zn) ตะกั่ว(Pb) เงิน (Ag) และดีบุก (Sn) , เป็นของเหลว เช่น ปรอท (Hg) เป็น
ก๊าซ เช่น ไนโตรเจน (N2) ฮีเลียม (He) ออกซิเจน (O2) ไฮโดรเจน (H2) เป็นต้น ธาตุยังแบ่ง
ออกเป็น โลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ ตามสมบัติที่แตกต่างกันออกไป
2. สารประกอบ (compound) หมายถึง "สารบริสุทธิ์เนื้อเดียวที่เกิดจากธาตุตั้งแต่สองชนิดขึ้นไปเป็น
องค์ประกอบ" สารประกอบเกิดจากการรวมตัวของธาตุโดยวิธีการทางเคมี สามารถแยกสลายให้เกิด
เป็นสารใหม่หรือกลับคืนเป็นธาตุเดิมได้ สารประกอบจะมีสมบัติเฉพาะตัวที่แตกต่างจากธาตุเดิม
เช่น น้า มีสูตรเคมีเป็น H2O น้าเป็นสารประกอบที่เกิดจากธาตุไฮโดรเจน(H) และออกซิเจน
(O) แต่มีสมบัติแตกต่างจากไฮโดรเจนและออกซิเจน น้าตาลทรายประกอบด้วยธาตุคาร์บอน ( C ),
ไฮโดรเจน (H) ,และออกซิเจน (O) เป็นต้น
การแยกน้าด้วยไฟฟ้ า
เปรียบเทียบสมบัติของธาตุ และสารประกอบ
ธาตุ 1. ประกอบด้วยอะตอมชนิดเดียว 2. แยกออกโดยวิธีเคมีไม่ได้ 3. อาจแยกออกโดยวิธีนิวเคลียร์
4. เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์
สารประกอบ 1. ประกอบด้วยอะตอมตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป 2. แยกออกโดยวิธีเคมีได้ 3. แยกง่ายกว่าธาตุ
4. เขียนแทนด้วยสูตร
สัญลักษณ์ธาตุแรกเริ่ม
สัญลักษณ์ธาตุปั จจุบัน
สัญลักษณ์ธาตุปั จจุบันทั้งหมด
Au S
I C
Ag
Cu
สมบัติบางประการของธาตุ
ธาตุกัมมันตรังสีที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวัน
ธาตุกัมมันตรังสีที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวัน
ตัวอย่างสารประกอบบางชนิด
“THE END”
THANK YOU FOR YOUR ATTENTION!

More Related Content

What's hot

บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2Wichai Likitponrak
 
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่ายThepsatri Rajabhat University
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมีThanyamon Chat.
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...Prachoom Rangkasikorn
 
สารรอบตัว
สารรอบตัวสารรอบตัว
สารรอบตัวNetiie Thanaporn
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่npapak74
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะkrupornpana55
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีwebsite22556
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกTa Lattapol
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชลธิกาญจน์ จินาจันทร์
 
บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีWichai Likitponrak
 
ส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกพัน พัน
 
เคมีอินทรีย์เบื้องต้น
เคมีอินทรีย์เบื้องต้นเคมีอินทรีย์เบื้องต้น
เคมีอินทรีย์เบื้องต้นDr.Woravith Chansuvarn
 

What's hot (20)

บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2
 
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
 
สารรอบตัว
สารรอบตัวสารรอบตัว
สารรอบตัว
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
 
ดิน
ดินดิน
ดิน
 
บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมี
 
ส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลก
 
เคมีอินทรีย์เบื้องต้น
เคมีอินทรีย์เบื้องต้นเคมีอินทรีย์เบื้องต้น
เคมีอินทรีย์เบื้องต้น
 

Viewers also liked

บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2Wichai Likitponrak
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2Wichai Likitponrak
 
บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2Wichai Likitponrak
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2Wichai Likitponrak
 
บทที่ 1 สารอาหารม.2
บทที่ 1 สารอาหารม.2บทที่ 1 สารอาหารม.2
บทที่ 1 สารอาหารม.2Wichai Likitponrak
 
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2Wichai Likitponrak
 
การจำแนกสาร
การจำแนกสารการจำแนกสาร
การจำแนกสารพัน พัน
 
การแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียวการแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียวmedfai
 
การแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมการแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมmedfai
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี54
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี54ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี54
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี54Wichai Likitponrak
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี51
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี51ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี51
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี51Wichai Likitponrak
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50Wichai Likitponrak
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี52
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี52ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี52
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี52Wichai Likitponrak
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี53
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี53ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี53
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี53Wichai Likitponrak
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี49
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี49ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี49
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี49Wichai Likitponrak
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2teerachon
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 

Viewers also liked (20)

บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
 
บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
บทที่ 1 สารอาหารม.2
บทที่ 1 สารอาหารม.2บทที่ 1 สารอาหารม.2
บทที่ 1 สารอาหารม.2
 
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
 
การจำแนกสาร
การจำแนกสารการจำแนกสาร
การจำแนกสาร
 
การแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียวการแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียว
 
การแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมการแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสม
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี54
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี54ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี54
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี54
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี51
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี51ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี51
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี51
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี52
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี52ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี52
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี52
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี53
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี53ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี53
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี53
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี49
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี49ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี49
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี49
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
 
Pptติวonetม3
Pptติวonetม3Pptติวonetม3
Pptติวonetม3
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 

Similar to บทที่1จำแนกสารม 2

ใบความรู้ สสาร
ใบความรู้ สสารใบความรู้ สสาร
ใบความรู้ สสารSumalee Panpeng
 
3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว
3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว
3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลวWichai Likitponrak
 
เคมีพื้นบท1ธาคุและสารประกอบ
เคมีพื้นบท1ธาคุและสารประกอบเคมีพื้นบท1ธาคุและสารประกอบ
เคมีพื้นบท1ธาคุและสารประกอบWichai Likitponrak
 
สารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสารสารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสารZee Gopgap
 
สารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสารสารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสารZee Gopgap
 
ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9Sumarin Sanguanwong
 
ความรู้พื้นฐานทางเคมี
 ความรู้พื้นฐานทางเคมี ความรู้พื้นฐานทางเคมี
ความรู้พื้นฐานทางเคมีnn ning
 
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซพัน พัน
 

Similar to บทที่1จำแนกสารม 2 (13)

ใบความรู้ สสาร
ใบความรู้ สสารใบความรู้ สสาร
ใบความรู้ สสาร
 
3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว
3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว
3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว
 
เคมีพื้นบท1ธาคุและสารประกอบ
เคมีพื้นบท1ธาคุและสารประกอบเคมีพื้นบท1ธาคุและสารประกอบ
เคมีพื้นบท1ธาคุและสารประกอบ
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำ
 
สารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสารสารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสาร
 
สารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสารสารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสาร
 
San
SanSan
San
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำ
 
ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9
 
สาร
สารสาร
สาร
 
ความรู้พื้นฐานทางเคมี
 ความรู้พื้นฐานทางเคมี ความรู้พื้นฐานทางเคมี
ความรู้พื้นฐานทางเคมี
 
ธาตุ
ธาตุธาตุ
ธาตุ
 
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

บทที่1จำแนกสารม 2

  • 1. บทที่ 1 การจาแนกสาร รายวิชาวิทยาศาสตร์ 3 (ว22101) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558
  • 2. สาร และ สมบัติของสาร  สสาร ( Matter ) หมายถึงสิ่งที่มีมวล ต้องการที่อยู่ และ สามารถสัมผัสได้โดยประสาทสัมผัสทั้ง 5 เช่น ดิน น้า อากาศ ฯลฯ ภายใน สสารเป็นเนื้อของสสาร เรียกว่า สาร ( Substance )  สาร ( Substance ) คือ สสารที่ทราบสมบัติ หรือ สสารที่จะศึกษา ดังนั้นจึงเป็นสสารที่เฉพาะเจาะจง ซึ่งจะมี สมบัติของสาร 2 ประเภท คือ - สมบัติกายภาพ ( Physical Property ) หมายถึง สมบัติที่สังเกตได้จากลักษณะภายนอก และ เกี่ยวกับวิธีการ ทางฟิสิกส์ เช่น ความหนาแน่น , จุดเดือด , จุดหลอมเหลว - สมบัติทางเคมี ( Chemistry Property ) หมายถึง สมบัติที่เกิดขึ้นจากการทาปฏิกิริยาเคมี เช่น การติดไฟ , การเป็นสนิม , ความเป็น กรด - เบส ของสาร  การเปลี่ยนแปลงสาร แบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ คือ - การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ( Physical Change ) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงของสารที่เกี่ยวกับสมบัติ กายภาพ โดยไม่มีผลต่อ องค์ประกอบภายใน และ ไม่เกิดสารใหม่ เช่น การเปลี่ยนสถานะ , การละลายน้า - การเปลี่ยนแปลงทางทางเคมี ( Chemistry Change ) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงของสารที่เกี่ยวข้องกับสมบัติ ทางเคมีซึ่งมีผลต่อองค์ประกอบภายใน และจะมีสมบัติต่างไปจากเดิม นั่นคือ การเกิดสารใหม่ เช่น กรดเกลือ ( HCl ) ทาปฏิกิริยากับลวด แมกนีเซียม ( Mg ) แล้วเกิดสารใหม่ คือ ก๊าซไฮโดรเจน ( H2 )
  • 3. การจัดจาแนกสาร  จะสามารถจาแนกออกเป็น 4 กรณี ได้แก่ 1. การใช้สถานะเป็นเกณฑ์ แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ - สถานะที่เป็นของแข็ง ( Solid ) จะมีรูปร่าง และ ปริมาตรคงที่ ซึ่งอนุภาคภายในจะอยู่ชิดติดกัน เช่น ด่างทับทิม ( KMnO4 ) , ทองแดง ( Cu ) - สถานะที่เป็นของเหลว ( Liquid ) จะมีรูปร่างตามภาชนะที่บรรจุ และ มีปริมาตรที่คงที่ ซึ่งอนุภาค ภายในจะอยู่ชิดกันน้อยกว่าของแข็ง และ มีสมบัติเป็นของไหล เช่น น้ามัน , แอลกอฮอล์ , ปรอท ( Hg ) ฯลฯ - สถานะที่เป็นก๊าซ ( Gas ) จะมีรูปร่าง และ ปริมาตรที่ไม่คงที่ โดยรูปร่าง จะเปลี่ยนไปตามภาชนะที่ บรรจุ อนุภาคภายในจะอยู่ ห่างกันมากที่สุด และ มีสมบัติเป็นของไหลได้ เช่น ก๊าซหุงต้ม , อากาศ
  • 4. การจัดจาแนกสาร 2. การใช้เนื้อสารเป็นเกณฑ์ จะมีสมบัติทางกายภาพของสารที่ได้จากการสังเกตลักษณะความแตกต่างของ เนื้อสาร ซึ่งจะจาแนกได้ออกเป็น 2 กลุ่ม คือ - สารเนื้อเดียว ( Homogeneous Substance ) หมายถึง สารที่มีเนื้อสารเหมือนกันทุกส่วน ทาให้ สารมีสมบัติเหมือนกันตลอดทุกส่วน เช่น แอลกอฮอล์ , ทองคา ( Au ) , โลหะบัดกรี - สารเนื้อผสม ( Heterogeneous Substance ) หมายถึง สารที่มีเนื้อสารแตกต่างกันในแต่ละส่วน จะทาให้สารนั้นมีสมบัติ ไม่เหมือนกันตลอดทุกส่วน เช่น น้าอบไทย , น้าคลอง ฯลฯ
  • 5. การจัดจาแนกสาร 3. การละลายน้าเป็นเกณฑ์ จะจาแนกได้ออกเป็น 3 กลุ่ม คือ - สารที่ละลายน้าได้ เช่น เกลือแกง ( NaCl ) , ด่างทับทิม ( KMnO4 ) ฯลฯ - สารที่ละลายน้าได้บ้าง เช่น ก๊าซคลอรีน ( Cl2 ) , ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ( CO2 ) ฯลฯ - สารที่ไม่สามารถละลายน้าได้ เช่น กามะถัน ( S8 ) , เหล็ก ( Fe ) ฯลฯ 4. การนาไฟฟ้ าเป็นเกณฑ์ จะจาแนกได้ออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ - สารที่นาไฟฟ้ าได้ เช่น ทองแดง ( Cu ) , น้าเกลือ ฯลฯ - สารที่ไม่นาไฟฟ้ า เช่น หินปูน ( CaCO3 ) , ก๊าซออกซิเจน ( O2 )
  • 6. 1. สารบริสุทธิ์ ( PURE SUBSTANCE ) คือ สารเนื้อเดียวที่มีจุดเดือด และ จุดหลอมเหลวคงที่ 2. ธาตุ ( ELEMENT ) คือ สารบริสุทธิ์ที่ประกอบด้วยอะตอมเพียงชนิดเดียวกัน เช่น คาร์บอน ( C ) , กามะถัน ( S8 ) 3. สารประกอบ ( COMPOUND SUBSTANCE ) เกิดจากธาตุตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมารวมกัน โดยมีอัตราส่วนในการร่วมกันคงที่แน่นอนได้แก่ กรดน้าส้ม ( CH3COOH ) , กรดไฮโดรคลอริก ( HCL ) ฯลฯ 4. ของผสม ( MIXTURE ) หมายถึง สารที่เกิดจากการนาสารตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมาผสมกัน โดยไม่จากัดส่วนผสม และ ในการผสมกันนั้นไม่มีปฏิกิริยาเกิดขึ้นระหว่างสารองค์ประกอบที่ นามาผสมกัน >>ความหมายที่ควรรู้<<
  • 7. ซึ่งมี 3 ประเภท ได้แก่ 1. สารละลาย ( SOLUTION SUBSTANCE ) เป็นสารเนื้อเดียวที่มีสัดส่วนในการรวมกันของธาตุ หรือ สารประกอบไม่คงที่ไม่สามารถเขียนสูตรได้อย่างแน่นอน และ มีขนาดอนุภาคที่เล็กกว่า 10-7 เซนติเมตร ซึ่ง มี 3 สถานะ เช่น อากาศ , น้าอัดลม , นาก , และ โลหะผสม ทุกชนิด ฯลฯ ซึ่งสารละลายจะแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ตัวทาละลาย ( SOLVENT ) และ ตัวถูกละลาย ( SOLUTE ) 2. สารแขวนลอย ( SUSPENSION SUBSTANCE ) คือ สารที่เกิดจากอนุภาคขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางที่ มากกว่า 10-4 เซนติเมตร ซึ่งจะลอยกระจายอยู่ในตัวกลางโดยอนุภาคที่มีอยู่ในของผสมนั้นมีขนาดใหญ่ จึง สามารถมองเห็นอนุภาคในของผสมได้อย่างชัดเจน เมื่อตั้งทิ้งไว้ อนุภาคจะตกตะกอนลงมา ซึ่งสาร แขวนลอยนั้นจะไม่สามารถผ่านได้ทั้งกระดาษกรอง และ กระดาษเซลโลเฟน เช่น โคลน , น้าอบไทย 3. คอลลอยด์ ( COLLIOD ) จะประกอบด้วยอนุภาคขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางระหว่าง 10-4 และ 10-7 เซนติเมตร ซึ่งจะไม่มีการตกตะกอน สามารถกระเจิงแสงได้ ซึ่งเรียกปรากฏการณ์นี้ว่า " ปรากฏการณ์ ทินดอลล์ " และ ภายในอนุภาคก็มีการเคลื่อนที่แบบบราวน์เนียน( BROWNIAN MOVEMENT ) ซึ่ง คอลลอยด์จะสามารถผ่านกระดาษกรองได้ แต่ไม่สามารถผ่านกระดาษเซลโลเฟนได้ เช่น กาว , นมสด ของผสม ( Mixture )
  • 9. การแยกสารผสม  ใช้ในการแยกสารให้บริสุทธิ์ซึ่งมี 7 วิธี ได้แก่ 1. การกลั่น เหมาะสาหรับแยกของเหลวที่ปนเป็นเนื้อเดียวกัน โดยทาให้ของเหลวกลายเป็นไอ แล้ว ทาให้ควบแน่นเป็นของเหลวอีก แบ่งออก เป็น 2 ประเภท คือ - การกลั่นธรรมดา เหมาะสาหรับสารที่มีจุดเดือดต่างกันประมาณ 80 องศาเซลเซียส ขึ้นไป แต่ อุณหภูมิตั้งแต่ 40 องศาเซลเซียส ก็จะเกิดกระบวนการแล้ว - การกลั่นลาดับส่วน เหมาะสาหรับสารที่มีจุดเดือดต่างกันเพียงเล็กน้อย ซึ่งจะมีข้อเสีย คือ จะ ใช้พลังงานเป็นจานวนมาก และมีความสลับซับซ้อน การกลั่นลาดับส่วนบางครั้งไม่ได้แยกสารให้ บริสุทธิ์ แต่แยกเพื่อประโยชน์ในการนาไปใช้ เช่น การแยกน้ามันดิบ โดยจะแยกพวกที่มีจุดเดือด ใกล้เคียงไว้ด้วยกัน แต่ถ้าสารที่มีจุดเดือดใกล้เคียงกันมาก แต่ไม่มีเครื่องกลั่นลาดับส่วนก็สามารถ กลั่นได้ด้วยเครื่องกลั่นธรรมดา แต่จะต้องกลั่นหลาย ๆ ครั้ง จนกระทั่งจุดเดือด และจุดหลอมเหลว คงที่
  • 10.
  • 11. การแยกสารผสม 2. การใช้กรวยแยก เหมาะสมกับสารที่เป็นของเหลว และ จะต้องเป็นสารที่ไม่ละลายต่อกัน หรือ จะต้องมีขั้วต่างกัน เช่น น้า และ น้ามัน
  • 12. การแยกสารผสม 3. การกรอง เหมาะสาหรับของแข็งที่ไม่ละลายน้า หรือ ของแข็งที่ละลายน้า และ ไม่ละลาย น้าปนอยู่ด้วยกัน เช่น หินปูน และ น้า
  • 13. การแยกสารผสม 4. การตกผลึก เหมาะสาหรับสารที่สามารถละลายได้เป็นปรากฏการณ์ที่ตัวถูกละลายที่เป็น ของแข็ง แยกตัวออกจากสารละลายได้เป็นของแข็งที่มีรูปทรงเรขาคณิต โดยสารใด ๆ ที่ ละลายในน้าอยู่ในจุดอิ่มตัวจะตกเป็นผลึก ถ้ามากเกินพอจะเป็นการตกตะกอนของสาร
  • 14. การแยกสารผสม  5. การสกัดด้วยไอน้า เหมาะสมสาหรับการสกัดพวกน้ามันหอมระเหยจากพืช และ การ ทาน้าหอม ( CH3COOH2O ) โดยมีหลักสาคัญ ดังนี้ - จุดเดือดต่าจะระเหยง่าย ถ้าเป็นสารที่มีจุดเดือดสูง จะต้องการกลั่นโดยอาศัยการ เปลี่ยนแปลงความดันในระบบ - สารส่วนใหญ่ไม่ละลายน้า
  • 15. การแยกสารผสม 6. การสกัดด้วยตัวทาละลาย เหมาะสมกับสารที่ระเหยง่าย โดยมีหลักสาคัญดังนี้ - ถ้าสารมีความสามารถในการละลายในตัวทาละลายต่างชนิดกันสามารถแยกสารออกจากกันได้ - หลักการเลือกตัวทาละลายที่ดี คือ ต้องเลือกตัวทาละลายที่ดี คือ ต้องเลือกตัวทาละลายที่ละลาย สารที่ต่างกัน การสกัดออกมามากที่สุด และสิ่งเจือปนนั้นจะต้องติดมาน้อยที่สุด
  • 16. การแยกสารผสม 7. การโครมาโทรกราฟี เหมาะสมสาหรับการแยกสารที่มความสามารถในการละลาย และ ดูดซับไม่เท่ากัน , สารที่มีปริมาณน้อย และ ไม่มีสี โดยหลักสาคัญ มีดังนี้ - ในการทดลองทุกครั้งจะต้องปิดฝา เพื่อป้ องกันตัวทาละลายแห้ง ในขณะที่เคลื่อนที่บนตัวดูดซับ - ถ้าสารเคลื่อนทีใกล้เคียงกันมาก แสดงว่าสารมีความสามารถในการละลาย และ ดูดซับได้ใกล้เคียง และ จะแก้ไขได้โดย การเปลี่ยนตัวทาละลาย หรือ เพิ่มความยาวของดูดซับได้ แต่สารที่เคลื่อนที่ได้ ระยะทางเท่ากันในตัวทาละลาย และ ตัวดูดซับใกล้เคียงกัน มักจะสรุปได้ว่าสารนั้นเป็นสารเดียวกัน โดยวิธีนี้สามารถทาให้สารบริสุทธิ์ได้ โดยตัดแบ่งสารที่ต้องการละลายในตัวทาละลายที่เหมาะสม แล้ว ระเหยตัวทาละลายนั้นทิ้งไป แล้วนาสารนั้นมาทาการโครมาโทรกราฟีใหม่ จนได้สารบริสุทธิ์
  • 17.
  • 18.
  • 20. วิธีการแยกสารอย่างง่าย  1. การระเหย  2. การระเหิด  3. วิธีหยิบออก  4. ใช้แม่เหล็กดูด  5. วิธีการร่อน 1.2. 3. 4. 5.
  • 21.
  • 22. ธาตุและสารประกอบ 1. ธาตุ (Element) หมายถึง สารบริสุทธิ์เนื้อเดียวที่มีองค์ประกอบอย่างเดียว ธาตุไม่สามารถจะนามา แยกสลายให้กลายเป็นสารอื่นโดยวิธีการทางเคมี ธาตุมีทั้งสถานะที่เป็นของแข็ง เช่น ธาตุสังกะสี (Zn) ตะกั่ว(Pb) เงิน (Ag) และดีบุก (Sn) , เป็นของเหลว เช่น ปรอท (Hg) เป็น ก๊าซ เช่น ไนโตรเจน (N2) ฮีเลียม (He) ออกซิเจน (O2) ไฮโดรเจน (H2) เป็นต้น ธาตุยังแบ่ง ออกเป็น โลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ ตามสมบัติที่แตกต่างกันออกไป 2. สารประกอบ (compound) หมายถึง "สารบริสุทธิ์เนื้อเดียวที่เกิดจากธาตุตั้งแต่สองชนิดขึ้นไปเป็น องค์ประกอบ" สารประกอบเกิดจากการรวมตัวของธาตุโดยวิธีการทางเคมี สามารถแยกสลายให้เกิด เป็นสารใหม่หรือกลับคืนเป็นธาตุเดิมได้ สารประกอบจะมีสมบัติเฉพาะตัวที่แตกต่างจากธาตุเดิม เช่น น้า มีสูตรเคมีเป็น H2O น้าเป็นสารประกอบที่เกิดจากธาตุไฮโดรเจน(H) และออกซิเจน (O) แต่มีสมบัติแตกต่างจากไฮโดรเจนและออกซิเจน น้าตาลทรายประกอบด้วยธาตุคาร์บอน ( C ), ไฮโดรเจน (H) ,และออกซิเจน (O) เป็นต้น
  • 23.
  • 24. การแยกน้าด้วยไฟฟ้ า เปรียบเทียบสมบัติของธาตุ และสารประกอบ ธาตุ 1. ประกอบด้วยอะตอมชนิดเดียว 2. แยกออกโดยวิธีเคมีไม่ได้ 3. อาจแยกออกโดยวิธีนิวเคลียร์ 4. เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ สารประกอบ 1. ประกอบด้วยอะตอมตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป 2. แยกออกโดยวิธีเคมีได้ 3. แยกง่ายกว่าธาตุ 4. เขียนแทนด้วยสูตร
  • 33.
  • 34.
  • 35. “THE END” THANK YOU FOR YOUR ATTENTION!