SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
ใบความรู้ที่ 3.8
เมื่อฉันเป็นพิธีกร
ความหมาย
ผู้คนส่วนใหญ่มักจะเรียกผู้ที่ทา หน้าที่พูดหรือกากับรายการในพิธีการต่างๆ ว่า “โฆษก” จึงทา
ให้เกิดความเข้าใจผิดกันมาตลอด เพราะในการจัดพิธีการนั้นเราจะเรียกผู้ดาเนินรายการว่า “พิธีกร” ซึ่ง
ทั้ง 2 คา นี้มีความหมายแตกต่างกัน ดังนี้
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ได้ให้ความหมายไว้ว่า โฆษก คือ ผู้ประกาศ ผู้
โฆษณา เช่น โฆษกสถานีวิทยุ หรือ ผู้แถลงข่าวแทน เช่น โฆษกรัฐบาล พิธีกร คือ ผู้ดาเนินการในพิธี หรือ
ผู้ดาเนินรายการ พิธีกร คือ บุคคลที่รับผิดชอบด้านพิธีการ มีหน้าที่ดาเนินรายการให้เป็นไปตามขั้นตอนที่
เตรียมไว้แล้ว คาว่า “พิธีกร” เริ่มใช้ทางสถานีไทยทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม คา ว่า “ผู้ดาเนินรายการ”
เริ่มใช้ทางสถานีโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 7 เมื่อสมัยที่ยังเป็นช่อง 5 สี นับตั้งแต่นั่นมาประชาชนเริ่มเห็น
ความแตกต่างระหว่าง “พิธีกร” กับ “โฆษก” มากขึ้นในภาษา อังกฤษ คือ Master of ceremonies ซึ่ง
มักใช้คา ว่า MC ใน dictionary มีความหมายว่า“person who superintends the forms to be
observed on various social occasion”
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของพิธีกร
เนื่องจากในงานพิธีการต่างๆนั้น ผู้มาร่วมประกอบพิธีทุกคนจะมุ่งความสนใจไปที่จุดเดียวกัน คือ
พิธีกร เพราะ ต้องการพิธีกรจะเริ่มอย่างไร จะดาเนินการอย่างเป็นขั้นตอนอย่างไร จะจบอย่างไร ดังนั้น
พิธีกรจึงเป็น
จุดเด่นของพิธีการนั้นๆ จึงต้องมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ดังต่อไปนี้
1. ด้านบุคลิกภาพ
บุคลิกภาพ
เบิกบานแจ่มใส แต่งกายเรียบร้อยสุภาพ ถูกกาลเทศะ ถ้าแต่งเครื่องแบบต้องแต่งให้ได้ครบและ
ถูกต้องตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีทุกประการ เช่น ป้ายชื่อไม่มีเครื่องหมายสังกัด อากัปกิริยา
กระตือรือร้น แต่ไม่ลุกลี้ลุกลน ใบหน้าเบิกบานแจ่มใส มองผู้อื่นอย่างเป็นมิตร มีท่าทีโอภาปราศรัยและ
ต้อนรับขับสู้ มีความทรงจาดี
2. ด้านการพูด
การพูด
- มีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการพูด เช่น การทักที่ประชุม การพูดให้สละสลวย
- การพูดเชื่อมโยง ไม่พูดห้วนๆสั้นๆ เกินไปหรือไม่มีขยะถ้อยคา มากเกินไป
- ไม่พูดมากเกินไป น้อยเกินไป ไม่พูดวกวน
- ไม่พูดด้วยท่าทีเคร่งเครียดเป็นทางการเกินไป
- บางโอกาส บางงาน อาจมีลูกเล่นหรือมุขตลกประกอบ
- ไม่พูดพล่าม หรือเพ้อเจ้อเกินไป
- ไม่มีลักษณะเป็นการอ่านข้อความมากกว่าการพูด
ด้านปฏิภาณไหวพริบและจิตใจ
- มีปฏิภาณไหวพริบ และแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ดี
- ปรับตัวได้ตามสถานการณ์
- จิตใจสุขุมเยือเย็น
- ควบคุมอารมณ์ได้ดี หรือมีสมาธิดี
3. ด้านความรู้ความสามารถ
มีความรู้ในเรื่องพิธีการที่ตนดาเนินการอยู่อย่างครบวงจร จึงจะเกิดความมั่นใจ หรือเชื่อมั่นไม่
ประหม่า เก่งการบริหารหรือการจัดการ เช่น การวางแผนงาน การเตรียมงานในระยะสั้น ระยะยาว การ
เตรียมงานในระยะกระชั้นชิด การมอบหมายงานให้ผู้อื่นช่วย การประสานงานในจุดต่างๆ เพื่อให้เกิด
ความมั่นใจในการปฏิบัติหน้าที่ ความรู้ ความสามารถเหล่านี้จะเกิดขึ้นได้ ก็ต้องอาศัยการศึกษา การ
แสวงหาความรู้ และสังเกตจากการจัดงานที่แท้จริง แล้วนามาสรุปเป็นองค์ความรู้ของตน สร้างความ
เชื่อมั่นให้แก่ตนเอง และจะเกิดผลดีแก่ตนเอง และการจัดงานนั้นๆ
บทบาทหน้าที่ของพิธีกร
1. เป็นผู้ให้ข้อมูลแก่ผู้ฟัง / ผู้ชม / ผู้เข้าร่วมพิธี โดยอย่างน้อยจะต้องมี ขบวนการดังต่อไปนี้
เช่น ตามลาดับ ในแต่ละกิจกรรม
1.1 แจ้งกาหนดการ
1.2 แจ้งรายละเอียดของรายการ
1.3แนะนา ผู้พูด ผู้แสดง
1.4 ผู้ดาเนินการอภิปรายและอื่น ๆ
2. เป็นผู้เริ่มกิจกรรม / งาน / พิธี / รายการ เช่น
2.1 กล่าวทักทาย ต้อนรับเชิญเข้าสู่งาน
2.2 เชิญเข้าสู่พิธี ดาเนินรายการต่าง ๆ แล้วแต่กิจกรรม
2.3 เชิญ เปิดงาน – ปิดงาน
3. เป็นผู้เชื่อมโยงกิจกรรม / งาน / พิธี / รายการต่าง ๆ เช่น
3.1 กล่าวเชื่อมโยงเหตุการณ์ตามลาดับ
3.2 แจ้งให้ทราบเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงกาหนดการ
3.3 แจ้งขอความร่วมมือ
3.4 กล่าวเชื่อมโยงรายการให้ชวนติดตาม
4. เป็นผู้ที่สร้างสีสัน บรรยากาศของงาน / พิธี / รายการ เช่น
4.1ให้ข้อมูลที่น่าสนใจเพิ่มเติมเป็นระยะ
4.2 มีมุขขา ขึ้นเป็นระยะ ๆ
เทคนิคการใช้ไมโครโฟน (Microphone)
ไมโครโฟน (Microphone) ถือเป็นอุปกรณ์ที่จา เป็นสาหรับผู้ที่ทา หน้าที่พิธีกรเป็นอย่างมาก
การเป็นพิธีกรจะประสบความสา เร็จ หรือพบกับความล้มเหลวนั้น ไมโครโฟนนับเป็นตัวแปรสาคัญ งาน
พิธีหลายแห่งมีปัญหาที่เครื่องเสียงหรือไมโครโฟน นอกจากจะตรวจความพร้อมก่อนเวลาเล็กน้อย
เพราะฉะนั้นเทคนิคการใช้ไมโครโฟน จึงเป็นทักษะพื้นฐานที่พิธีกรควรทราบ
1. พิธีกรควรทา การทดสอบไมโครโฟนก่อนการใช้งานทุกครั้ง เสียงเป็นอย่างไร ชัดเจนแค่ไหน
และทิ้งระยะห่างระหว่างไมโครโฟน กับปากประมาณ 4-6 นิ้ว จะเหมาะที่สุด อย่าถือหรือเลื่อน
ไมโครโฟนเข้าไปจนชิดปาก ถ้าเป็นไมโครโฟนที่มีความไว อาจพูดห่างได้ โดยฟังหรือสังเกตจากคนที่พูด
ก่อนเรา
2. สังเกตตาแหน่งสวิชท์เปิดปิดไมโครโฟน ก่อนพูดต้องเปิดให้เรียบร้อยและพูดจบต้องปิดให้
เรียบร้อยเพื่อป้ องกันเสียงอื่นๆแทรกขณะไม่ได้ใช้ไมโครโฟน นอกจากนี้ขาตั้งไมโครโฟนก็มีความสาคัญ
เช่นกัน
3. ไม่ควรทดลองเสียงพูดด้วย คา ว่า”ฮัลโหล...ฮัลโหล” หรือเคาะ หรือเป่าลมใส่ไมโครโฟนเป็น
อันขาดควรใช้คาว่า“สวัสดีค่ะ(ครับ)”
4. การพูดโดยการใช้ไมโครโฟน ไม่ควรหลุกหลิก และหันหน้าไปอธิบายที่แผ่นป้ายหรือกระดาน
ดาหรือลุกไปมาจนห่างไมโครโฟนจะทาให้เสียงที่พูดขาดตอนไม่สม่าเสมอ
5. เมื่อพูดจบแต่ละช่วงหากท่านจาเป็นต้องยืนอยู่บนเวที และต้องถือไมโครโฟนไว้ ควรถือไว้
ระดับเอวอย่ายืนถือแบบตามสบายโดยขนาบข้างลา ตัว เพราะจะทาให้เสียบุคลิกภาพและนี่คือเรื่องราว
ของเทคนิคเล็ก ๆ น้อย ๆ เที่ยวกับการใช้ไมโครโฟน ซึ่งพิธีกรทุกคนควรจะทราบเพราะสิ่งเล็กๆ น้อย ๆ
เหล่านี้อาจจะสร้างความสาเร็จและความล้มเหลวให้พิธีกรได้เช่นนั้น
สาหรับในส่วนของภาษาท่าทาง ซึ่งรวมการยืน การเดิน การนั่ง การทรงตัว การใช้สีหน้า การใช้
สายตาการใช้ท่าทางประกอบการพูด พิธีกรต้องตระหนักเสมอว่า พิธีกร คือ จุดเด่นของงานเพราะฉะนั้น
ทุกสายตาจะจ้องมาที่ตัวท่าน การเคลื่อนไหวของท่านทุกๆ อิริยาบถจะมีผลต่อความสาเร็จในการพูดของ
ท่าน การวางท่าทางกิริยา บุคลิกลักษณะต่างๆ ต้องมีความมั่นใจ การยืนต้องสง่างาม การเดินต้องมีมาด
ภาพพจน์โดยรวมต้องดูดี และเป็นไปในทางเดียวกันกับเรื่องราวที่พูดถึง หรือนาเสนออยู่ ใช้ลีลาประกอบ
ให้เหมาะสม ควรฝึกหน้ากระจกเพื่อดูว่าตัวเราเป็นอย่างไร สิ่งเหล่านี้ควรฝึกฝนให้เป็นนิสัย มีบุคลิกที่ดี
น่าสนใจอยู่เสมอ การใช้สายตา เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่ต้องหมั่นฝึกให้มั่นคง เพราะเวลาพูดต้องมีสมาธิ แยกแยะ
ให้ถูก ควรส่งสายตาไปยังผู้ฟัง ณ จุดใดจุดหนึ่ง อย่ากวาดสายตาไปมา แต่ควรใช้วิธีหันหน้าแทนเพื่อ
เปลี่ยนมุมมอง ไม่ควรทา ตาหลุกหลิก หรือมองสิ่งอื่นที่ทา ให้ไขว้เขว สบตากับผู้ฟังเป็นระยะระยะ และ
ประสานสายตากับทีมงานบ้างเพื่อความเรียบร้อยของกาหนดการต่างๆ ว่าเป็นไปตามที่วางไว้หรือไม่
หรือหากต้องมีการเปลี่ยนแปลงสิ่งใดกะทันหันจะได้เตรียมตัวได้ทัน
การเตรียมตัวหน้าที่พิธีกร
การเตรียมตัวทาหน้าที่พิธีกร ควรจะต้องมีการเตรียมตัวในการทาหน้าที่ ดังนี้
1.ศึกษาข้อมูล/วิเคราะห์สถานการณ์ ผู้นา ผู้ชม โอกาส วัตถุประสงค์ของงานพิธีรายการที่
กาหนดไว้ เพื่อทราบความมุ่งหมายของการทาหน้าที่
2.เตรียมเนื้อหาและคาพูด เริ่มต้นอย่างไร ? มุขตลก ขา ขัน แทรกอย่างไร คาคม ลูกเล่น จุดเด่น
ที่ควรกล่าวถึง ต้องเตรียมค้นคว้าศึกษาจากศูนย์ข้อมูลมาให้พร้อม
3ตรวจสอบความเหมาะสม ของบทความที่เตรียมมาว่าเหมาะสมกับเวลาหรือไม่
4.ต้องมีการฝึกซ้อมไม่ว่าจะซ้อมหลอกหรือซ้อมจริง ต้องมีการฝึกซ้อม
5.ศึกษาสถานที่จัดงานหรือพิธีที่กาหนดไว้ล่วงหน้า
6. เตรียมเสื้อผ้าและชุดการแต่งกาย อย่างเหมาะสมกับกิจกรรม พร้อมดูแลตั้งแต่หัวจรดเท้า
เทคนิคการเป็นพิธีกร
1. ศึกษาจุดเด่น จุดด้อย ของพิธีกรที่ชื่นชอบ อะไรคือสิ่งที่ทา ให้พิธีกรคนนั้นเป็นที่ชื่นชมของ
บุคคลทั่วไปแล้วลองหา เอาสิ่งที่คิดว่าดี มาประยุกต์ให้เหมาะกับตัวเอง
2. ติดตามเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสังคมอย่างใกล้ชิด เพื่อทา ตนเองให้มีความทันสมัยอยู่เสมอ
3. เรียนรู้การใช้เทคนิคการสร้างอารมณ์ขัน หรือเล่นมุข ด้วยการดัดแปลงเหตุการณ์เฉพาะหน้า
มาเติมเสน่ห์ให้กับการดา เนินรายการ
4. จัดทาคลังความรู้ด้านต่าง ๆ เช่น การใช้คาพูด สานวน สุภาษิต คา พังเพย คาคมต่างๆ เก็บ
สะสมความรู้เหล่านี้ไว้เพื่อนามาใช้ประกอบการดาเนินรายการ
5. ฝึกใช้ความคิดสร้างสรรค์ด้วยการมองเหตุการณ์ต่าง ๆ ในมุมที่คนอื่นมองข้าม แล้วสร้างให้
เกิดเสียงหัวเราะและรอยยิ้ม
6. อ่านหนังสือให้มาก
7. เข้ารับการอบรมเกี่ยวกับเรื่องการเป็นพิธีกรอย่างสม่าเสมอ เพราะเป็นการพัฒนาความรู้
ให้กับตนเอง
เทคนิคการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า
เทคนิคในการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าสาหรับพิธีกร ในการทาหน้าที่พิธีกรบ่อยครั้งที่ต้องพบกับ
เหตุการณ์ที่ไม่คาดคิด และต้องแก้ไขเหตุการณ์เหล่านี้ให้ลุล่วงไปได้ด้วยดี เทคนิคในการแก้ปัญหาเฉพาะ
หน้าสาหรับผู้ทาหน้าที่พิธีกร มีดังนี้
เมื่อถึงเวลาแล้วประธานหรือผู้พูดยังมาไม่ถึง
หน้าที่ของพิธีกรจะต้องไม่ให้เกิดความเงียบบนเวที ถ้าเลยเวลาไม่ไม่นากนัก พิธีกรก็อาจจะพูด
ชี้แจงรายละเอียดต่างๆรวมทั้งอาจจะมีเรื่องราวสนุกสนานมาเล่าถ่วงเวลาไว้ก่อน(พิธีกรจึงต้องเป็นผู้มี
อารมณ์ขัน) แต่ถ้านานเสียจนผู้ฟังเริ่มกระสับกระส่าย อาจจะจัดกิจกรรมให้ผู้ฟังได้เคลื่อนไหวบ้าง เช่น
การปรบมือ การร้องเพลง ขณะเดียวกันต้องรีบให้ฝ่ายจัดงานเร่งแก้สถานการณ์ทันที
เมื่อเครื่องเสียงไม่เป็นใจ
เป็นเรื่องแปลกแต่จริงเครื่องเสียงโดยเฉพาะไมโครโฟน เวลาทดสอบก็ดูจะให้ความร่วมมือดี แต่
พอถึงเวลาเอาจริงก็มักจะมีเสียงหอน...พูดแล้วเสียงขาดหาย...พูดแล้วไม่มีเสียงออกพิธีกรต้องยิ้มเข้าไว้
และเมื่อทุกอย่างปกติก็อาจจะใช้ลีลาการพูดช่วยคลี่คลายบรรยากาศ เช่น เมื่อเป็นพิธีกรในการอบรม
สัมมนา ซึ่งมีวิทยากรพิเศษมาให้การบรรยาย พอถึงเวลาปรากฏว่าไมโครโฟนใช้ไม่ได้ เป็นอยู่พักใหญ่กว่า
จะแก้ไขได้เมื่อทุกอย่างเรียบร้อยผู้เขียนเลยพูดนา ร่องก่อนเชิญวิทยากรขึ้นพูดว่า “แหม วันนี้พวกเรารอ
คอยมานานกว่าจะได้คิวจากท่านวิทยากรเพราะเรื่องราวที่ท่านจะพูดคุยกับพวกเราเป็นเรื่องที่ Hot ที่สุด
ไม่นึกเลยว่าไมโครโฟนจะตกใจเพราะความ Hotจนสายไหม้ก่อนที่ท่านวิทยากรจะได้พูดเสียอีก (ฮา...)
ขณะนี้ไมโครโฟนก็ปรับตัวเรียบร้อยแล้ว ขอเรียนเชิญท่านวิทยากรในลาดับนี้เลยค่ะ
เมื่อพิธีกรอ่านข้อความผิด
"สี่เท้ารู้พลาดนักปราชญ์ยังรู้พลั้ง" เป็นความจริงเสมอถึงแม้จะเชี่ยวชาญเพียงใดโอกาสพลาด
ย่อมมีและเมื่อพลาดท่านจะต้องตั้งสติให้ดี หากอ่านผิดก็ให้เอ่ยคาว่า "ขออภัยค่ะ"ไม่ใช่"อุ๊ย ขอโทษ"หรือ
บ้างกรณีอาจต้องใช้ไหวพริบปฏิภาณแก้ปัญหาเฉพาะหน้า เพื่อให้ทุกอย่างผ่านไปได้ด้วยดี
เมื่อผู้ฟังออกอาการ...ไม่ฟัง...เบื่อ...หลับ
ในงานบางงานผู้ฟังหรือผู้ชมก็อาจจะไม่ให้ความร่วมมือ ควรใช้วิธีดึงความสนใจด้วยการ ร้อง
เพลง เล่าเรื่องขบขัน หรืออาจจะให้ผู้ฟังลุกขึ้นขยับแข้งขยับขาด้วยการออกกาลังกายดูบ้างก็ช่วยได้มาก
เมื่อต้องเป็นพิธีกรจาเป็น
บางท่านอาจจะคุ้นเคยกับการเป็นพิธีกรอยู่แล้ว แต่ในบางครั้งก็อาจจะต้องเจอสถานการณ์
“พิธีกรจาเป็น”คือ ในงานบางงานเราไปในฐานะผู้ร่วมงานแต่พอถึงเวลาเจ้าภาพจะเข้ามาบอกว่า “ช่วย
หน่อยนะ ช่วยเป็นพิธีกรให้พี่หน่อย” วิธีแก้ไขก็ต้องยิ้มเข้าไว้ การปฏิเสธคงเป็นไปได้ยาก แล้วรีบสอดส่าย
สายตาหาบุคคลที่สามซึ่งเป็นผู้ที่คุ้นเคยกับการพูดให้พูดแทน แต่ถ้าเลี่ยงไม่ได้จริงๆก็ต้องทา ใจ.....ช่วยกัน
หน่อยก็แล้วกัน คิดเสียว่า หากเขาไม่ไว้ใจเราเขาก็คงไม่ให้เราเป็นพิธีกร เพราะฉะนั้นก็ตั้งใจทา หน้าที่ให้
ดีที่สุดก็แล้วกันทั้งหมดที่เล่าสู่กันฟังนี้ เป็นเพียงปัญหาเฉพาะหน้าที่พิธีกรทุกคนมักจะต้องมีโอกาสพบ
บ่อยที่สุด ความจริงยังมีปัญหาปลีกย่อยอีกมากมาย แต่ตัดสินใจเลือกเฉพาะปัญหาที่ทุกท่านจะมีโอกาส
พบมากที่สุด
ข้อปฏิบัติที่น่าสนใจ
1.ข้อควรปฏิบัติในการทาหน้าที่พิธีกร หรือโฆษก
- ทาจิตใจให้แจ่มใส
- ไปถึงก่อนเวลา
- อุ่นเครื่องแก้ประหม่า
- ทาหน้าที่สุดฝีมือ
- เลื่องลือผลงาน
2. ข้อพึงระวัง สาหรับการทาหน้าที่เป็นพิธีกร
- ต้องดูดีมีบุคลิก
- ต้องรักษาเวลาอย่างเคร่งเครียด
- ต้องแสดงออกอย่างสุภาพและให้เกียรติ ร่าเริงแจ่มใส ให้ความเป็นกันเอง
- ต้องมีการประสานงานด้านข้อมูล และพร้อมเผชิญปัญหาโดยไม่หงุดหงิด
- ต้องใช้ภาษาให้ถูกต้องชัดเจนให้ชวนฟัง น่าติดตาม
- ต้องเสริมจุดเด่นของคนอื่นไม่ใช่ของตัวเอง
- สร้างความประทับใจ ด้านสุภาษิต หรือ คาคม
ที่มาข้อมูล http://nuttawootstory.wikispaces.com/

More Related Content

What's hot

การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการTwatchai Tangutairuang
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรSunisa199444
 
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินpupphawittayacom
 
รูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทรูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทKannika Kerdsiri
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศmaerimwittayakom school
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม Terapong Piriyapan
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013Kruthai Kidsdee
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยYanee Chaiwongsa
 
รายงาน การพัฒนาตนเอง
รายงาน การพัฒนาตนเองรายงาน การพัฒนาตนเอง
รายงาน การพัฒนาตนเองChainarong Maharak
 
การสร้างข้อสอบอัตนัย
การสร้างข้อสอบอัตนัยการสร้างข้อสอบอัตนัย
การสร้างข้อสอบอัตนัยTupPee Zhouyongfang
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิดคำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิดkrisdika
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์โทโต๊ะ บินไกล
 
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสีสำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสีariga sara
 

What's hot (20)

การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้
เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้
เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้
 
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
 
รูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทรูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บท
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัย
 
รายงาน การพัฒนาตนเอง
รายงาน การพัฒนาตนเองรายงาน การพัฒนาตนเอง
รายงาน การพัฒนาตนเอง
 
การสร้างข้อสอบอัตนัย
การสร้างข้อสอบอัตนัยการสร้างข้อสอบอัตนัย
การสร้างข้อสอบอัตนัย
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิดคำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
 
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสีสำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 

Similar to 003 ใบความรู้ที่3.8-เมื่อฉันเป็นพิธีกร

อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกร
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกรอาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกร
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกรSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกร
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกรอาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกร
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกรSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกร
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกรอาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกร
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกรNing Rommanee
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานpoomstan
 
Work1m34 34-47
Work1m34 34-47Work1m34 34-47
Work1m34 34-47marootkwa
 

Similar to 003 ใบความรู้ที่3.8-เมื่อฉันเป็นพิธีกร (6)

อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกร
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกรอาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกร
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกร
 
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกร
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกรอาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกร
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกร
 
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกร
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกรอาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกร
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกร
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
 
Work1m33no10,12
Work1m33no10,12Work1m33no10,12
Work1m33no10,12
 
Work1m34 34-47
Work1m34 34-47Work1m34 34-47
Work1m34 34-47
 

More from Samorn Tara

003 ใบความรู้ที่3.11-คอมพิวเตอร์กราฟิกง่ายนิดเดียว
003 ใบความรู้ที่3.11-คอมพิวเตอร์กราฟิกง่ายนิดเดียว003 ใบความรู้ที่3.11-คอมพิวเตอร์กราฟิกง่ายนิดเดียว
003 ใบความรู้ที่3.11-คอมพิวเตอร์กราฟิกง่ายนิดเดียวSamorn Tara
 
003 ใบความรู้ที่3.9-มุมกล้องสุดสวย
003 ใบความรู้ที่3.9-มุมกล้องสุดสวย003 ใบความรู้ที่3.9-มุมกล้องสุดสวย
003 ใบความรู้ที่3.9-มุมกล้องสุดสวยSamorn Tara
 
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..Samorn Tara
 
ใบงานที่ 3.1 ความรู้เบื้องต้นวีดีโอ
ใบงานที่ 3.1 ความรู้เบื้องต้นวีดีโอใบงานที่ 3.1 ความรู้เบื้องต้นวีดีโอ
ใบงานที่ 3.1 ความรู้เบื้องต้นวีดีโอSamorn Tara
 
ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybord
ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybordใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybord
ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybordSamorn Tara
 
ใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอ
ใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอ
ใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอSamorn Tara
 
0111 คะแนนและการส่งงาน ม.5-1
0111 คะแนนและการส่งงาน ม.5-10111 คะแนนและการส่งงาน ม.5-1
0111 คะแนนและการส่งงาน ม.5-1Samorn Tara
 
0111 คะแนนและการส่งงาน ม.5-6
0111 คะแนนและการส่งงาน ม.5-60111 คะแนนและการส่งงาน ม.5-6
0111 คะแนนและการส่งงาน ม.5-6Samorn Tara
 
ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1Samorn Tara
 
ตัวอย่าง Bib
ตัวอย่าง Bibตัวอย่าง Bib
ตัวอย่าง BibSamorn Tara
 
Lesson5 55จัดเรียง
Lesson5 55จัดเรียงLesson5 55จัดเรียง
Lesson5 55จัดเรียงSamorn Tara
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานSamorn Tara
 
ตัวอย่างงานการแนะนำหนังสืออ้างอิง
ตัวอย่างงานการแนะนำหนังสืออ้างอิงตัวอย่างงานการแนะนำหนังสืออ้างอิง
ตัวอย่างงานการแนะนำหนังสืออ้างอิงSamorn Tara
 
ตัวอย่างการแนะนำหนังสืออ้างอิง
ตัวอย่างการแนะนำหนังสืออ้างอิงตัวอย่างการแนะนำหนังสืออ้างอิง
ตัวอย่างการแนะนำหนังสืออ้างอิงSamorn Tara
 
Lesson4 refer33 สรุป
Lesson4 refer33 สรุปLesson4 refer33 สรุป
Lesson4 refer33 สรุปSamorn Tara
 

More from Samorn Tara (20)

003 ใบความรู้ที่3.11-คอมพิวเตอร์กราฟิกง่ายนิดเดียว
003 ใบความรู้ที่3.11-คอมพิวเตอร์กราฟิกง่ายนิดเดียว003 ใบความรู้ที่3.11-คอมพิวเตอร์กราฟิกง่ายนิดเดียว
003 ใบความรู้ที่3.11-คอมพิวเตอร์กราฟิกง่ายนิดเดียว
 
003 ใบความรู้ที่3.9-มุมกล้องสุดสวย
003 ใบความรู้ที่3.9-มุมกล้องสุดสวย003 ใบความรู้ที่3.9-มุมกล้องสุดสวย
003 ใบความรู้ที่3.9-มุมกล้องสุดสวย
 
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
 
ใบงานที่ 3.1 ความรู้เบื้องต้นวีดีโอ
ใบงานที่ 3.1 ความรู้เบื้องต้นวีดีโอใบงานที่ 3.1 ความรู้เบื้องต้นวีดีโอ
ใบงานที่ 3.1 ความรู้เบื้องต้นวีดีโอ
 
ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybord
ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybordใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybord
ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybord
 
ใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอ
ใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอ
ใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอ
 
0111 คะแนนและการส่งงาน ม.5-1
0111 คะแนนและการส่งงาน ม.5-10111 คะแนนและการส่งงาน ม.5-1
0111 คะแนนและการส่งงาน ม.5-1
 
0111 คะแนนและการส่งงาน ม.5-6
0111 คะแนนและการส่งงาน ม.5-60111 คะแนนและการส่งงาน ม.5-6
0111 คะแนนและการส่งงาน ม.5-6
 
ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1
 
ตัวอย่าง Bib
ตัวอย่าง Bibตัวอย่าง Bib
ตัวอย่าง Bib
 
Lesson5 55จัดเรียง
Lesson5 55จัดเรียงLesson5 55จัดเรียง
Lesson5 55จัดเรียง
 
Lesson5 44 ref
Lesson5 44 refLesson5 44 ref
Lesson5 44 ref
 
Lesson5 33
Lesson5 33Lesson5 33
Lesson5 33
 
Lesson5 22
Lesson5 22Lesson5 22
Lesson5 22
 
Lesson5 11
Lesson5 11Lesson5 11
Lesson5 11
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
 
ตัวอย่างงานการแนะนำหนังสืออ้างอิง
ตัวอย่างงานการแนะนำหนังสืออ้างอิงตัวอย่างงานการแนะนำหนังสืออ้างอิง
ตัวอย่างงานการแนะนำหนังสืออ้างอิง
 
ตัวอย่างการแนะนำหนังสืออ้างอิง
ตัวอย่างการแนะนำหนังสืออ้างอิงตัวอย่างการแนะนำหนังสืออ้างอิง
ตัวอย่างการแนะนำหนังสืออ้างอิง
 
Work 4.1
Work 4.1Work 4.1
Work 4.1
 
Lesson4 refer33 สรุป
Lesson4 refer33 สรุปLesson4 refer33 สรุป
Lesson4 refer33 สรุป
 

003 ใบความรู้ที่3.8-เมื่อฉันเป็นพิธีกร

  • 1. ใบความรู้ที่ 3.8 เมื่อฉันเป็นพิธีกร ความหมาย ผู้คนส่วนใหญ่มักจะเรียกผู้ที่ทา หน้าที่พูดหรือกากับรายการในพิธีการต่างๆ ว่า “โฆษก” จึงทา ให้เกิดความเข้าใจผิดกันมาตลอด เพราะในการจัดพิธีการนั้นเราจะเรียกผู้ดาเนินรายการว่า “พิธีกร” ซึ่ง ทั้ง 2 คา นี้มีความหมายแตกต่างกัน ดังนี้ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ได้ให้ความหมายไว้ว่า โฆษก คือ ผู้ประกาศ ผู้ โฆษณา เช่น โฆษกสถานีวิทยุ หรือ ผู้แถลงข่าวแทน เช่น โฆษกรัฐบาล พิธีกร คือ ผู้ดาเนินการในพิธี หรือ ผู้ดาเนินรายการ พิธีกร คือ บุคคลที่รับผิดชอบด้านพิธีการ มีหน้าที่ดาเนินรายการให้เป็นไปตามขั้นตอนที่ เตรียมไว้แล้ว คาว่า “พิธีกร” เริ่มใช้ทางสถานีไทยทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม คา ว่า “ผู้ดาเนินรายการ” เริ่มใช้ทางสถานีโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 7 เมื่อสมัยที่ยังเป็นช่อง 5 สี นับตั้งแต่นั่นมาประชาชนเริ่มเห็น ความแตกต่างระหว่าง “พิธีกร” กับ “โฆษก” มากขึ้นในภาษา อังกฤษ คือ Master of ceremonies ซึ่ง มักใช้คา ว่า MC ใน dictionary มีความหมายว่า“person who superintends the forms to be observed on various social occasion” คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของพิธีกร เนื่องจากในงานพิธีการต่างๆนั้น ผู้มาร่วมประกอบพิธีทุกคนจะมุ่งความสนใจไปที่จุดเดียวกัน คือ พิธีกร เพราะ ต้องการพิธีกรจะเริ่มอย่างไร จะดาเนินการอย่างเป็นขั้นตอนอย่างไร จะจบอย่างไร ดังนั้น พิธีกรจึงเป็น จุดเด่นของพิธีการนั้นๆ จึงต้องมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ดังต่อไปนี้ 1. ด้านบุคลิกภาพ บุคลิกภาพ เบิกบานแจ่มใส แต่งกายเรียบร้อยสุภาพ ถูกกาลเทศะ ถ้าแต่งเครื่องแบบต้องแต่งให้ได้ครบและ ถูกต้องตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีทุกประการ เช่น ป้ายชื่อไม่มีเครื่องหมายสังกัด อากัปกิริยา กระตือรือร้น แต่ไม่ลุกลี้ลุกลน ใบหน้าเบิกบานแจ่มใส มองผู้อื่นอย่างเป็นมิตร มีท่าทีโอภาปราศรัยและ ต้อนรับขับสู้ มีความทรงจาดี
  • 2. 2. ด้านการพูด การพูด - มีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการพูด เช่น การทักที่ประชุม การพูดให้สละสลวย - การพูดเชื่อมโยง ไม่พูดห้วนๆสั้นๆ เกินไปหรือไม่มีขยะถ้อยคา มากเกินไป - ไม่พูดมากเกินไป น้อยเกินไป ไม่พูดวกวน - ไม่พูดด้วยท่าทีเคร่งเครียดเป็นทางการเกินไป - บางโอกาส บางงาน อาจมีลูกเล่นหรือมุขตลกประกอบ - ไม่พูดพล่าม หรือเพ้อเจ้อเกินไป - ไม่มีลักษณะเป็นการอ่านข้อความมากกว่าการพูด ด้านปฏิภาณไหวพริบและจิตใจ - มีปฏิภาณไหวพริบ และแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ดี - ปรับตัวได้ตามสถานการณ์ - จิตใจสุขุมเยือเย็น - ควบคุมอารมณ์ได้ดี หรือมีสมาธิดี 3. ด้านความรู้ความสามารถ มีความรู้ในเรื่องพิธีการที่ตนดาเนินการอยู่อย่างครบวงจร จึงจะเกิดความมั่นใจ หรือเชื่อมั่นไม่ ประหม่า เก่งการบริหารหรือการจัดการ เช่น การวางแผนงาน การเตรียมงานในระยะสั้น ระยะยาว การ เตรียมงานในระยะกระชั้นชิด การมอบหมายงานให้ผู้อื่นช่วย การประสานงานในจุดต่างๆ เพื่อให้เกิด ความมั่นใจในการปฏิบัติหน้าที่ ความรู้ ความสามารถเหล่านี้จะเกิดขึ้นได้ ก็ต้องอาศัยการศึกษา การ แสวงหาความรู้ และสังเกตจากการจัดงานที่แท้จริง แล้วนามาสรุปเป็นองค์ความรู้ของตน สร้างความ เชื่อมั่นให้แก่ตนเอง และจะเกิดผลดีแก่ตนเอง และการจัดงานนั้นๆ บทบาทหน้าที่ของพิธีกร 1. เป็นผู้ให้ข้อมูลแก่ผู้ฟัง / ผู้ชม / ผู้เข้าร่วมพิธี โดยอย่างน้อยจะต้องมี ขบวนการดังต่อไปนี้ เช่น ตามลาดับ ในแต่ละกิจกรรม 1.1 แจ้งกาหนดการ 1.2 แจ้งรายละเอียดของรายการ 1.3แนะนา ผู้พูด ผู้แสดง 1.4 ผู้ดาเนินการอภิปรายและอื่น ๆ
  • 3. 2. เป็นผู้เริ่มกิจกรรม / งาน / พิธี / รายการ เช่น 2.1 กล่าวทักทาย ต้อนรับเชิญเข้าสู่งาน 2.2 เชิญเข้าสู่พิธี ดาเนินรายการต่าง ๆ แล้วแต่กิจกรรม 2.3 เชิญ เปิดงาน – ปิดงาน 3. เป็นผู้เชื่อมโยงกิจกรรม / งาน / พิธี / รายการต่าง ๆ เช่น 3.1 กล่าวเชื่อมโยงเหตุการณ์ตามลาดับ 3.2 แจ้งให้ทราบเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงกาหนดการ 3.3 แจ้งขอความร่วมมือ 3.4 กล่าวเชื่อมโยงรายการให้ชวนติดตาม 4. เป็นผู้ที่สร้างสีสัน บรรยากาศของงาน / พิธี / รายการ เช่น 4.1ให้ข้อมูลที่น่าสนใจเพิ่มเติมเป็นระยะ 4.2 มีมุขขา ขึ้นเป็นระยะ ๆ เทคนิคการใช้ไมโครโฟน (Microphone) ไมโครโฟน (Microphone) ถือเป็นอุปกรณ์ที่จา เป็นสาหรับผู้ที่ทา หน้าที่พิธีกรเป็นอย่างมาก การเป็นพิธีกรจะประสบความสา เร็จ หรือพบกับความล้มเหลวนั้น ไมโครโฟนนับเป็นตัวแปรสาคัญ งาน พิธีหลายแห่งมีปัญหาที่เครื่องเสียงหรือไมโครโฟน นอกจากจะตรวจความพร้อมก่อนเวลาเล็กน้อย เพราะฉะนั้นเทคนิคการใช้ไมโครโฟน จึงเป็นทักษะพื้นฐานที่พิธีกรควรทราบ 1. พิธีกรควรทา การทดสอบไมโครโฟนก่อนการใช้งานทุกครั้ง เสียงเป็นอย่างไร ชัดเจนแค่ไหน และทิ้งระยะห่างระหว่างไมโครโฟน กับปากประมาณ 4-6 นิ้ว จะเหมาะที่สุด อย่าถือหรือเลื่อน ไมโครโฟนเข้าไปจนชิดปาก ถ้าเป็นไมโครโฟนที่มีความไว อาจพูดห่างได้ โดยฟังหรือสังเกตจากคนที่พูด ก่อนเรา
  • 4. 2. สังเกตตาแหน่งสวิชท์เปิดปิดไมโครโฟน ก่อนพูดต้องเปิดให้เรียบร้อยและพูดจบต้องปิดให้ เรียบร้อยเพื่อป้ องกันเสียงอื่นๆแทรกขณะไม่ได้ใช้ไมโครโฟน นอกจากนี้ขาตั้งไมโครโฟนก็มีความสาคัญ เช่นกัน 3. ไม่ควรทดลองเสียงพูดด้วย คา ว่า”ฮัลโหล...ฮัลโหล” หรือเคาะ หรือเป่าลมใส่ไมโครโฟนเป็น อันขาดควรใช้คาว่า“สวัสดีค่ะ(ครับ)” 4. การพูดโดยการใช้ไมโครโฟน ไม่ควรหลุกหลิก และหันหน้าไปอธิบายที่แผ่นป้ายหรือกระดาน ดาหรือลุกไปมาจนห่างไมโครโฟนจะทาให้เสียงที่พูดขาดตอนไม่สม่าเสมอ 5. เมื่อพูดจบแต่ละช่วงหากท่านจาเป็นต้องยืนอยู่บนเวที และต้องถือไมโครโฟนไว้ ควรถือไว้ ระดับเอวอย่ายืนถือแบบตามสบายโดยขนาบข้างลา ตัว เพราะจะทาให้เสียบุคลิกภาพและนี่คือเรื่องราว ของเทคนิคเล็ก ๆ น้อย ๆ เที่ยวกับการใช้ไมโครโฟน ซึ่งพิธีกรทุกคนควรจะทราบเพราะสิ่งเล็กๆ น้อย ๆ เหล่านี้อาจจะสร้างความสาเร็จและความล้มเหลวให้พิธีกรได้เช่นนั้น สาหรับในส่วนของภาษาท่าทาง ซึ่งรวมการยืน การเดิน การนั่ง การทรงตัว การใช้สีหน้า การใช้ สายตาการใช้ท่าทางประกอบการพูด พิธีกรต้องตระหนักเสมอว่า พิธีกร คือ จุดเด่นของงานเพราะฉะนั้น ทุกสายตาจะจ้องมาที่ตัวท่าน การเคลื่อนไหวของท่านทุกๆ อิริยาบถจะมีผลต่อความสาเร็จในการพูดของ ท่าน การวางท่าทางกิริยา บุคลิกลักษณะต่างๆ ต้องมีความมั่นใจ การยืนต้องสง่างาม การเดินต้องมีมาด ภาพพจน์โดยรวมต้องดูดี และเป็นไปในทางเดียวกันกับเรื่องราวที่พูดถึง หรือนาเสนออยู่ ใช้ลีลาประกอบ ให้เหมาะสม ควรฝึกหน้ากระจกเพื่อดูว่าตัวเราเป็นอย่างไร สิ่งเหล่านี้ควรฝึกฝนให้เป็นนิสัย มีบุคลิกที่ดี น่าสนใจอยู่เสมอ การใช้สายตา เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่ต้องหมั่นฝึกให้มั่นคง เพราะเวลาพูดต้องมีสมาธิ แยกแยะ ให้ถูก ควรส่งสายตาไปยังผู้ฟัง ณ จุดใดจุดหนึ่ง อย่ากวาดสายตาไปมา แต่ควรใช้วิธีหันหน้าแทนเพื่อ เปลี่ยนมุมมอง ไม่ควรทา ตาหลุกหลิก หรือมองสิ่งอื่นที่ทา ให้ไขว้เขว สบตากับผู้ฟังเป็นระยะระยะ และ ประสานสายตากับทีมงานบ้างเพื่อความเรียบร้อยของกาหนดการต่างๆ ว่าเป็นไปตามที่วางไว้หรือไม่ หรือหากต้องมีการเปลี่ยนแปลงสิ่งใดกะทันหันจะได้เตรียมตัวได้ทัน การเตรียมตัวหน้าที่พิธีกร การเตรียมตัวทาหน้าที่พิธีกร ควรจะต้องมีการเตรียมตัวในการทาหน้าที่ ดังนี้ 1.ศึกษาข้อมูล/วิเคราะห์สถานการณ์ ผู้นา ผู้ชม โอกาส วัตถุประสงค์ของงานพิธีรายการที่ กาหนดไว้ เพื่อทราบความมุ่งหมายของการทาหน้าที่
  • 5. 2.เตรียมเนื้อหาและคาพูด เริ่มต้นอย่างไร ? มุขตลก ขา ขัน แทรกอย่างไร คาคม ลูกเล่น จุดเด่น ที่ควรกล่าวถึง ต้องเตรียมค้นคว้าศึกษาจากศูนย์ข้อมูลมาให้พร้อม 3ตรวจสอบความเหมาะสม ของบทความที่เตรียมมาว่าเหมาะสมกับเวลาหรือไม่ 4.ต้องมีการฝึกซ้อมไม่ว่าจะซ้อมหลอกหรือซ้อมจริง ต้องมีการฝึกซ้อม 5.ศึกษาสถานที่จัดงานหรือพิธีที่กาหนดไว้ล่วงหน้า 6. เตรียมเสื้อผ้าและชุดการแต่งกาย อย่างเหมาะสมกับกิจกรรม พร้อมดูแลตั้งแต่หัวจรดเท้า เทคนิคการเป็นพิธีกร 1. ศึกษาจุดเด่น จุดด้อย ของพิธีกรที่ชื่นชอบ อะไรคือสิ่งที่ทา ให้พิธีกรคนนั้นเป็นที่ชื่นชมของ บุคคลทั่วไปแล้วลองหา เอาสิ่งที่คิดว่าดี มาประยุกต์ให้เหมาะกับตัวเอง 2. ติดตามเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสังคมอย่างใกล้ชิด เพื่อทา ตนเองให้มีความทันสมัยอยู่เสมอ 3. เรียนรู้การใช้เทคนิคการสร้างอารมณ์ขัน หรือเล่นมุข ด้วยการดัดแปลงเหตุการณ์เฉพาะหน้า มาเติมเสน่ห์ให้กับการดา เนินรายการ 4. จัดทาคลังความรู้ด้านต่าง ๆ เช่น การใช้คาพูด สานวน สุภาษิต คา พังเพย คาคมต่างๆ เก็บ สะสมความรู้เหล่านี้ไว้เพื่อนามาใช้ประกอบการดาเนินรายการ 5. ฝึกใช้ความคิดสร้างสรรค์ด้วยการมองเหตุการณ์ต่าง ๆ ในมุมที่คนอื่นมองข้าม แล้วสร้างให้ เกิดเสียงหัวเราะและรอยยิ้ม 6. อ่านหนังสือให้มาก 7. เข้ารับการอบรมเกี่ยวกับเรื่องการเป็นพิธีกรอย่างสม่าเสมอ เพราะเป็นการพัฒนาความรู้ ให้กับตนเอง เทคนิคการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า เทคนิคในการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าสาหรับพิธีกร ในการทาหน้าที่พิธีกรบ่อยครั้งที่ต้องพบกับ เหตุการณ์ที่ไม่คาดคิด และต้องแก้ไขเหตุการณ์เหล่านี้ให้ลุล่วงไปได้ด้วยดี เทคนิคในการแก้ปัญหาเฉพาะ หน้าสาหรับผู้ทาหน้าที่พิธีกร มีดังนี้ เมื่อถึงเวลาแล้วประธานหรือผู้พูดยังมาไม่ถึง หน้าที่ของพิธีกรจะต้องไม่ให้เกิดความเงียบบนเวที ถ้าเลยเวลาไม่ไม่นากนัก พิธีกรก็อาจจะพูด ชี้แจงรายละเอียดต่างๆรวมทั้งอาจจะมีเรื่องราวสนุกสนานมาเล่าถ่วงเวลาไว้ก่อน(พิธีกรจึงต้องเป็นผู้มี อารมณ์ขัน) แต่ถ้านานเสียจนผู้ฟังเริ่มกระสับกระส่าย อาจจะจัดกิจกรรมให้ผู้ฟังได้เคลื่อนไหวบ้าง เช่น การปรบมือ การร้องเพลง ขณะเดียวกันต้องรีบให้ฝ่ายจัดงานเร่งแก้สถานการณ์ทันที
  • 6. เมื่อเครื่องเสียงไม่เป็นใจ เป็นเรื่องแปลกแต่จริงเครื่องเสียงโดยเฉพาะไมโครโฟน เวลาทดสอบก็ดูจะให้ความร่วมมือดี แต่ พอถึงเวลาเอาจริงก็มักจะมีเสียงหอน...พูดแล้วเสียงขาดหาย...พูดแล้วไม่มีเสียงออกพิธีกรต้องยิ้มเข้าไว้ และเมื่อทุกอย่างปกติก็อาจจะใช้ลีลาการพูดช่วยคลี่คลายบรรยากาศ เช่น เมื่อเป็นพิธีกรในการอบรม สัมมนา ซึ่งมีวิทยากรพิเศษมาให้การบรรยาย พอถึงเวลาปรากฏว่าไมโครโฟนใช้ไม่ได้ เป็นอยู่พักใหญ่กว่า จะแก้ไขได้เมื่อทุกอย่างเรียบร้อยผู้เขียนเลยพูดนา ร่องก่อนเชิญวิทยากรขึ้นพูดว่า “แหม วันนี้พวกเรารอ คอยมานานกว่าจะได้คิวจากท่านวิทยากรเพราะเรื่องราวที่ท่านจะพูดคุยกับพวกเราเป็นเรื่องที่ Hot ที่สุด ไม่นึกเลยว่าไมโครโฟนจะตกใจเพราะความ Hotจนสายไหม้ก่อนที่ท่านวิทยากรจะได้พูดเสียอีก (ฮา...) ขณะนี้ไมโครโฟนก็ปรับตัวเรียบร้อยแล้ว ขอเรียนเชิญท่านวิทยากรในลาดับนี้เลยค่ะ เมื่อพิธีกรอ่านข้อความผิด "สี่เท้ารู้พลาดนักปราชญ์ยังรู้พลั้ง" เป็นความจริงเสมอถึงแม้จะเชี่ยวชาญเพียงใดโอกาสพลาด ย่อมมีและเมื่อพลาดท่านจะต้องตั้งสติให้ดี หากอ่านผิดก็ให้เอ่ยคาว่า "ขออภัยค่ะ"ไม่ใช่"อุ๊ย ขอโทษ"หรือ บ้างกรณีอาจต้องใช้ไหวพริบปฏิภาณแก้ปัญหาเฉพาะหน้า เพื่อให้ทุกอย่างผ่านไปได้ด้วยดี เมื่อผู้ฟังออกอาการ...ไม่ฟัง...เบื่อ...หลับ ในงานบางงานผู้ฟังหรือผู้ชมก็อาจจะไม่ให้ความร่วมมือ ควรใช้วิธีดึงความสนใจด้วยการ ร้อง เพลง เล่าเรื่องขบขัน หรืออาจจะให้ผู้ฟังลุกขึ้นขยับแข้งขยับขาด้วยการออกกาลังกายดูบ้างก็ช่วยได้มาก เมื่อต้องเป็นพิธีกรจาเป็น บางท่านอาจจะคุ้นเคยกับการเป็นพิธีกรอยู่แล้ว แต่ในบางครั้งก็อาจจะต้องเจอสถานการณ์ “พิธีกรจาเป็น”คือ ในงานบางงานเราไปในฐานะผู้ร่วมงานแต่พอถึงเวลาเจ้าภาพจะเข้ามาบอกว่า “ช่วย หน่อยนะ ช่วยเป็นพิธีกรให้พี่หน่อย” วิธีแก้ไขก็ต้องยิ้มเข้าไว้ การปฏิเสธคงเป็นไปได้ยาก แล้วรีบสอดส่าย สายตาหาบุคคลที่สามซึ่งเป็นผู้ที่คุ้นเคยกับการพูดให้พูดแทน แต่ถ้าเลี่ยงไม่ได้จริงๆก็ต้องทา ใจ.....ช่วยกัน หน่อยก็แล้วกัน คิดเสียว่า หากเขาไม่ไว้ใจเราเขาก็คงไม่ให้เราเป็นพิธีกร เพราะฉะนั้นก็ตั้งใจทา หน้าที่ให้ ดีที่สุดก็แล้วกันทั้งหมดที่เล่าสู่กันฟังนี้ เป็นเพียงปัญหาเฉพาะหน้าที่พิธีกรทุกคนมักจะต้องมีโอกาสพบ บ่อยที่สุด ความจริงยังมีปัญหาปลีกย่อยอีกมากมาย แต่ตัดสินใจเลือกเฉพาะปัญหาที่ทุกท่านจะมีโอกาส พบมากที่สุด
  • 7. ข้อปฏิบัติที่น่าสนใจ 1.ข้อควรปฏิบัติในการทาหน้าที่พิธีกร หรือโฆษก - ทาจิตใจให้แจ่มใส - ไปถึงก่อนเวลา - อุ่นเครื่องแก้ประหม่า - ทาหน้าที่สุดฝีมือ - เลื่องลือผลงาน 2. ข้อพึงระวัง สาหรับการทาหน้าที่เป็นพิธีกร - ต้องดูดีมีบุคลิก - ต้องรักษาเวลาอย่างเคร่งเครียด - ต้องแสดงออกอย่างสุภาพและให้เกียรติ ร่าเริงแจ่มใส ให้ความเป็นกันเอง - ต้องมีการประสานงานด้านข้อมูล และพร้อมเผชิญปัญหาโดยไม่หงุดหงิด - ต้องใช้ภาษาให้ถูกต้องชัดเจนให้ชวนฟัง น่าติดตาม - ต้องเสริมจุดเด่นของคนอื่นไม่ใช่ของตัวเอง - สร้างความประทับใจ ด้านสุภาษิต หรือ คาคม ที่มาข้อมูล http://nuttawootstory.wikispaces.com/