SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
เครือข่ายคอมพิวเตอร์

ระบบเครือข่าย (Network System) หมายถึง การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไป
เข้าด้วยกัน เช่น การเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ภายในห้องเรียน ภายในองค์กร ระหว่าง อาคาร ระหว่าง
เมืองต่าง ๆ
ตลอดไปจนถึงการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ทั่วทั้งโลกที่เรียกว่า "อินเทอร์เน็ต" (Internet)
          การติดต่อสื่อสารข้อมูลในปัจจุบันมีรากฐานมาจากความพยายามในการเชื่อมต่อระหว่าง
คอมพิวเตอร์
กับคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกันโดยอาศัยระบบการสื่อสาร ต่อมาเมื่อมีการใช้คอมพิวเตอร์มากขึ้นความ
ต้องการในการ
ติดต่อระหว่างคอมพิวเตอร์หลายเครื่องในเวลาเดียวกัน เรียกว่า ระบบเครือข่าย (Network
System)

          ระบบสานักงานอัตโนมัติ (Office Automation System) เป็นวิธีการทางด้านการ
สื่อสารข้อมูล
ที่กาลังได้รับการนามาประยุกต์ใช้ในระบบสานักงาน ซึ่งเป็นระบบที่มี บุคคลากรในการทางานน้อยที่สุด
โดยอาศัย
เครื่องมือแบบอัตโนมัติและระบบสื่อสารเชื่อมโยงข่าวสาร ระหว่างเครื่องมือเข้าด้วยกัน

        สานักงานที่จัดว่าเป็นสานักงานอัตโนมัติประกอบด้วยองค์ประกอบสาคัญ คือ

   1. Networking System คือ ระบบข่ายงานที่เชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ระหว่างกันทั่ว
      องค์กร
   2. Electronic Data Interchange คือ การสื่อสารข้อมูลข่าวสารระหว่างกัน โดยอาศัย
      สัญญาณข้อมูลข่าวสาร
      แบบอิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบข่ายงาน
   3. Internet Working คือ การรวมตัวกันของระบบข่ายงานที่กระจายอยู่ทั่วโลก จน
      กลายเป็นเครือข่ายขนาดใหญ่
   4. Paperless System คือ ระบบที่ไม่ใช้กระดาษบทบาทที่สาคัญอีกบทบาทหนึ่งคือการ
      ให้บริการข้อมูล

ประโยชน์ของการสื่อสารข้อมูล

1. จัดเก็บข้อมูลได้ง่ายและสื่อสารได้รวดเร็ว
2. ความถูกต้องของข้อมูล

3. ความเร็วของการทางาน

4. ประหยัดต้นทุน



มาตรฐานสาหรับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

          การทางานในสานักงานจาเป็นต้องมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน โต๊ะทางานแต่ละตัวจะเป็น
เสมือนจุดหนึ่งของการประมวลผล การวิเคราะห์ การแยกแยะข้อมูลและส่งให้โต๊ะอื่นๆ หรือหน่วยอื่น ๆ
ต่อไป
การเชื่อมโยงเครือข่ายทาให้เกิดเป็นระบบแห่งการประมวลผล หรือทาให้คอมพิวเตอร์หลาย ๆ ระบบเชื่อม
เข้า
ด้วยกัน ระบบสานักงานอัตโนมัติจึงเป็นเรื่องของการประมวลผลในจุดต่าง ๆ แล้วส่งข้อมูลถึงกันผ่านทาง
เครือข่ายคอมพิวเตอร์

           เหตุผลของการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์เข้าหากัน เนื่องจากราคาของคอมพิวเตอร์ถูกลง
และมีความต้องการเพิ่มขีดความสามารถของระบบโดยรวม เพราะอุปกรณ์คอมพิวเตอร์เพียงอย่างเดียวก็
ทางานได้ในตัวเองอย่างหนึ่ง แต่เมื่อรวมกันจะทางานได้เพิ่มขึ้นและสามารถใช้ทรัพยากรร่วมกันและ
แลกเปลี่ยน
ข้อมูลระหว่างกันได้

          การส่งข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่าย จาเป็นต้องมีมาตรฐานกลางที่ทาให้
คอมพิวเตอร์
และอุปกรณ์ต่างรุ่น ต่างยี่ห้อ ทุกเครื่องหรือทุกระบบสามารถเชื่อมโยงกันได้ ในระบบเครือข่าย จะมีการ
ดาเนิน
งานพื้นฐานต่าง ๆ กัน เช่น การรับส่งข้อมูล การเข้าใช้งานเครือข่าย การพิมพ์งานโดยใช้อุปกรณ์ของ
เครือข่าย
เป็นต้น

           องค์กรว่าด้วยเรื่องมาตรฐานระหว่างประเทศ จึงได้กาหนด มาตรฐานการจัดระบบการเชื่อมต่อ
สื่อสารเปิด (Open Systems Interconnection : OSI) ซึ่งเป็นมาตรฐานที่ใช้ในการ
รับส่งข้อมูล
ระหว่าง 2 ปลายทางใด ๆ บนเครือข่ายระบบสื่อสาร มีการแบ่งออกเป็นระดับ (Layer) ได้ 7 ระดับ
โดยแต่
ละระดับจะมีการกาหนดมาตรฐานในการติดต่อเป็นของตัวเอง และระดับหนึ่งจะติดต่อกับระดับที่เท่ากัน
ของอีกปลายหนึ่ง ระดับที่สูงกว่าจะสั่งงานและรับข้อมูลที่ประมวลผลแล้วจากระดับที่ต่ากว่า โดยไม่
จาเป็น
ต้องทราบรายละเอียดของระดับที่ต่ากว่า

         การสื่อสารในระดับต่าง ๆ จะอาศัยการควบคุมเพื่อให้ระบบการทางานนั้นเป็นไปอย่างถูกต้อง
มีมาตรฐานโดยการสื่อสารข้อมูลแบบแพ็กเก็ต จะเกี่ยวพันกับ 3 ระดับล่าง ซึ่งได้แก่

1. ระดับฟิสิคัล (Physical Layer) เป็นระดับที่เกี่ยวข้องกับการรับข้อมูลเป็นบิต ซึ่งเกี่ยวข้องกับ
ระดับ
แรงดันไฟฟ้าช่วงความถี่ คาบเวลา
2. ระดับดาต้าลิงค์ (Data Link Layer) เป็นระดับที่ทาการแปลงการรับส่งข้อมูล ที่มีความไม่
แน่นอน
ให้แน่นอนขึ้น โดยการจัดรูปแบบข้อมูลเป็นบล็อก เช่น เฟรม (Frame) พร้อมทั้งมีการตรวจสอบ
ข้อผิดพลาด
3. ระดับเนตเวอร์ค (Network Layer) ทาการส่งข้อมูลเป็นแพ็กเก็ตเข้าไปในเนตเวอร์ค แพ็กเก็ต
ก็อาจเดินทางไปอย่างอิสระ โดยมีการจ่าหน้าแอดเดรสของผู้รับและผู้ส่งวิธีนี้เรียกว่า Datagrame

           ปัจจุบันมีผู้ใช้อินเทอร์เน็ตจานวนมากทั่วโลก แต่ละคนก็ใช้คอมพิวเตอร์ต่างแบบต่างรุ่นกัน
ดังนั้นการสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์จะต้องอาศัยภาษากลางที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้ากันกันได้
ซึ่งภาษากลางนี้มีชื่อทางเทคนิคว่า "โปรโตคอล" (Protocol) สาหรับโปรโตคอลมาตรฐานที่ใช้ใน
การสื่อสารบนอินเทอร์เน็ตมีชื่อเรียกว่า TCP/IP ซึ่งได้แพร่หลายไปทั่วโลกพร้อมๆ กับเครือข่าย
อินเทอร์เน็ต และเป็นโปรโตคอลที่กาลังได้รับความนิยมอย่างมากในปัจจุบัน

          การทางานของโปรโตคอล TCP/IP จะแบ่งข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์ส่งไปยังเครื่องอื่นไป
ส่วนย่อยๆ
(เรียกว่า แพ็คเก็ต : packet) และส่งไปตามเครือข่ายอินเตอร์เน็ต โดยการกระจายแพ็กเก็ตเหล่านั้นไป
หลายทาง โดยในแต่ละเส้นทางจะไปรวมกันที่จุดปลายทาง และถูกนามารวมกันเป็นข้อมูลที่สมบูรณ์อีกครั้ง
หนึ่ง
รูปแบบการทางานของโปรโตคอล TCP/IP ที่มีการแบ่งข้อมูลและจัดส่งเป็นส่วนย่อย จะ
สามารถช่วย
ป้องกันความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นในการติดต่อสื่อสารได้ เพราะถ้าข้อมูลเกิด สูญหายก็จะเกิดเป็นเพียง
บางส่วน
เท่านั้นมิใช่หายไปทั้งหมด ซึ่งคอมพิวเตอร์ปลายทางสามารถ ตรวจหาข้อมูลที่สูญหายไปได้ และติดต่อให้
คอมพิวเตอร์ต้นทางส่งเพียงเฉพาะข้อมูลที่หายไปมาใหม่อีกครั้งได้

            โปรโตคอล TCP/IP ถูกคิดค้นโดยรัฐบาลสหรัฐและถูกนามาใช้กับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เพี่อป้องกัน
ความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นได้ เช่น ในกรณีที่ศูนย์คอมพิวเตอร์ใหญ่ในรัฐใดรัฐหนึ่งถูกโจมตีจนได้รับความ
เสียหาย เครือข่ายคอมพิวเตอร์ส่วนที่เหลือก็ยังสามารถติดต่อถึงกันได้อยู่ เพราะข้อมูลจะถูกโอนย้ายไปตาม
เส้น
ทางอื่นในเครือข่ายแทน



                              ความหมายของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

            เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) คือกลุ่มของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์
ที่ถูกนามาเชื่อมต่อกันผ่านอุปกรณ์ด้านการสื่อสารหรือสื่ออื่นใด ทาให้ผู้ใช้ในระบบเครือข่ายสามารถ
ติดต่อสื่อสาร
แลกเปลี่ยนและใช้ อุปกรณ์ต่าง ๆ ของเครือข่ายร่วมกันได้



          การที่เครือข่ายคอมพิวเตอร์มีบทบาท และความสาคัญเพิ่มขึ้นเพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ
การใช้งาน
อย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหล่านั้นเข้าด้วยกัน เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ
ของระบบ
ให้สูงขึ้นเพิ่มการใช้งานด้านต่าง ๆ และลดต้นทุนระบบโดยรวมลง เครือข่ายมีตั้งแต่ขนาดเล็กที่เชื่อมต่อกัน
ด้วย
คอมพิวเตอร์ เพียงสองสามเครื่องเพื่อใช้งานในบ้าน หรือในบริษัทเล็กๆ ไปจนถึงเครือข่ายระดับโลกที่
ครอบคลุมไป
เกือบทุกประเทศ เครือข่ายสามารถเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็นจานวนมากทั่วโลกเข้าด้วยกันเราเรียกว่า
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต



โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์

1. เครือข่ายเฉพาะที่ (Local Area Network : LAN)
2. เครือข่ายเมือง (Metropolitan Area Network : MAN)
3. เครือข่ายบริเวณกว้าง ( Wide Area Network : WAN



การต่อเชื่อมเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระยะใกล้

                หากต้องการที่จะนาเอาเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลมาต่อเป็นระบบ โดยใช้ขีด
ความสามารถเดิม
ที่มีอยู่ สามารถทาได้ด้วยวิธีการง่าย ๆ ดังนี้

1. การเชื่อมต่อผ่านช่องทาง Com1, Com2 และ LPT เป็นวิธีที่นาคอมพิวเตอร์ที่มีอยู่ต่อผ่าน
ช่อง
ทาง COM1 หรือ COM2 เพื่อการเคลื่อนย้ายข้อมูลระหว่างกัน
2. การเชื่อมต่อเข้ากับบัฟเฟอร์เครื่องพิมพ์ เป็นการแบ่งกันใช้เครื่องพิมพ์เพื่อให้การใช้ทรัพยากร
เครื่องพิมพ์ (Printer) เกิดประโยชน์มากขึ้น
3. การเชื่อมต่อโดยใช้ระบบสลับสายข้อมูล เป็นวิธีการต่อขยายระบบแบบง่าย ๆ ที่ใช้มือช่วยระบบ
สลับสายข้อมูลทาหน้าที่เหมือนชุมสายโทรศัพท์
4. การเชื่อมต่อผ่านระบบผู้ใช้หลายคนหลายช่องทาง ระบบผู้ใช้หลายคนขนาดเล็ก ที่อยู่บนไมโคร
คอมพิวเตอร์มีหลายระบบ เช่น ระบบยูนิกซ์ ระบบลีนุกซ์ ระบบดังกล่าวสามารถเชื่อมขยายเข้ากับสถานีย่อย
ได้มาก เป็นระบบที่ใช้งานร่วมกันได้ในราคาประหยัด



โครงสร้างระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Network Topology)
เครือข่ายแบบบัส (Bus Network) เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
ต่าง ๆ
ด้วยสายเคเบิลยาวต่อเนื่องไปเรื่อย ๆ โดยจะมีคอนเน็กเตอร์เป็นตัวเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เข้ากับ
สาย
เคเบิล ในการส่งข้อมูลจะมีคอมพิวเตอร์เพียงตัวเดียวเท่านั้นที่สามารถส่งข้อมูลได้ในช่วงเวลาหนึ่งๆ

              เครือข่ายแบบดาว (Star Network) เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ เข้ากับ
อุปกรณ์ที่เป็น
จุดศูนย์กลางของเครือข่ายโดยการนาสถานีต่าง ๆ มาต่อร่วมกันกับหน่วยสลับสายกลาง การติดต่อสื่อสาร
ระหว่างสถานี
จะกระทาได้ด้วยการติดต่อผ่านทางวงจรของหน่วยสลับสายกลาง การทางานของหน่วยสลับสายกลาง จึง
เป็นศูนย์กลาง
ของการติดต่อ วงจรเชื่อมโยงระหว่างสถานี ต่าง ๆ ที่ต้องการติดต่อกัน

            เครือข่ายแบบวงแหวน (Ring Network) เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อ คอมพิวเตอร์ด้วย
สายคเบิล
ยาวเส้นเดียวในลักษณะวงแหวน การรับส่งข้อมูลในเครือข่ายวงแหวน จะใช้ทิศทางเดียวเท่านั้น เมื่อ
คอมพิวเตอร์
เครื่องหนึ่งส่งข้อมูลมันก็จะส่งไปยังคอมพิวเตอร์เครื่องถัดไป ถ้าข้อมูลที่รับมาไม่ตรงตามที่คอมพิวเตอร์
เครื่องต้นทาง
ระบุ ก็จะส่งผ่านไปยังคอมพิวเตอร์เครื่องถัดไปซึ่งจะเป็นขั้นตอน อย่างนี้ไปเรื่อย ๆ จนกว่าจะถึง
คอมพิวเตอร์ปลายทาง
ที่ถูกระบุตามที่อยู่จากเครื่องต้นทาง

            เครือข่ายแบบต้นไม้ (Tree Network) เป็นเครือข่ายที่มีผสมผสานโครงสร้างเครือข่าย
แบบต่างๆ
เข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ การจัดส่งข้อมูลสามารถส่งไปถึงได้ทุกสถานี การสื่อสารข้อมูลจะผ่าน
ตัวกลาง
ไปยังสถานีอื่น ๆ ได้ทั้งหมด เพราะทุกสถานีจะอยู่บนทางเชื่อม รับส่งข้อมูลเดียวกัน
องค์ประกอบของเครือข่าย ประกอบด้วย

ฮาร์ดแวร์ (Hardware)

      คอมพิวเตอร์ (Client Computer)
      เซอร์เวอร์ (Server)
      ฮับ (Hub)
      บริดจ์ (Bridge)
      เราท์เตอร์ (Router)
      เกตเวย์ (Gateway)
      โมเด็ม (Modem)
      เน็ตเวอร์คการ์ด (Network Card)

ซอฟต์แวร์ (Software)

      ระบบปฏิบัติการของระบบเครือข่าย (Network Operating Sytems)
      แอบพลิเคชั่นของเครือข่าย (Network Application Sytems)

ตัวนาข้อมูล (Media Transmission)

             สายส่งข้อมูล หรือ Cable เป็นอุปกรณ์อย่างหนึ่งในระบบ Network ที่ใช้เป็นทางเดิน
ของข้อมูล
ระหว่าง Workstation กับ Server มีลักษณะคล้ายสายไฟหรือสายโทรศัพท์แล้วแต่ชนิด ของ
Cable แต่การเลือกใช้
Cable นั้นควรคานึงถึงความปลอดภัย (Safety) และคลื่นรบกวน (Interference) เป็นสาคัญ
สายส่งข้อมูลที่ดี
ไม่ควรเป็น ตัวนาไฟ เมื่อเกิดอัคคีภัยขึ้น และสามารถ ป้องกันคลื่นรบกวนจากอานาจแม่เหล็ก และคลื่นวิทยุ
ได้
ลักษณะของสายส่งข้อมูล แบ่งได้ดังนี้

สาย Coaxial Cable หรือ สาย Coax นอกจากใช้ในระบบ Network แล้วยังสามารถ
นาไปใช้กับระบบ
TV และ Mainframe ได้ด้วย สาย Coax นั้นเป็นสายที่ประกอบไปด้วยแกนของ ทองแดงหุ้มด้วย
ฉนวน และสายดิน
(ลักษณะเป็นฝอย) หุ้มด้วยฉนวนบางอีกชั้นหนึ่ง ในปัจจุบันได้เปลี่ยนจากลวดทองแดงมาเป็นลวดเงินที่พัน
กันหลาย ๆ
เส้นแทน ทั้งนี้เพื่อป้องกันการรบกวน ที่เรียกว่า "Cross Talk" ซึ่งเป็นการรบกวนที่เกิดจาก
สายสัญญาณข้างเคียง

      สาย Twisted Pair Cable เป็นสายส่งสัญญาณที่ประกอบไปด้วยสายทองแดง 2 เส้น
       ขึ้นไปบิดกันเป็นเกลียว
       (Twist) แล้วหุ้มด้วยฉนวน โดยแบ่งเป็น 2 แบบคือ แบบมี Shield และ แบบไม่มี Shield
       จะมีฉนวนในการ
       ป้องกันสัญญาณรบกวน หรือระบบป้องกันสัญญาณรบกวน โดยเรียกสาย Cable ทั้งสองนี้ว่า
       "Shielded Twisted Pair (STP)" และ "Unshielded Twisted Pair
       (UTP)"
      สาย Shielded Twisted Pair (STP) หรือที่เรียกว่า "สายคู่บิดเกลียวชนิดหุ้ม
       ฉนวน" เป็นสายคู่
       บิดเกลียวที่หุ้มด้วยฉนวนชั้นนอกที่หนาอีกชั้นหนึ่ง เพื่อป้องกันการรบกวนของคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้
       สาย Unshielded Twisted Pair (UTP) หรือที่เรียกว่า "สายคู่บิดเกลียว ชนิดไม่
       หุ้มฉนวน"
       เป็นสายคู่บิดเกลียวที่หุ้มด้วยฉนวนชั้นนอกที่บางอีกชั้น ทาให้สะดวก ในการโค้งงอ สาย UTP
       เป็นสายที่มีราคาถูก
       และ หาง่าย แต่ป้องกันสัญญาณรบกวน ได้ไม่ดีเท่ากับสาย STP

สาย Fiber Optic Cable เป็นสายใยแก้วนาแสงชนิดใหม่ ประกอบด้วยท่อใยแก้ว ที่มีขนาดเล็ก
และบางมาก
เรียกว่า "CORE" ล้อมรอบด้วยชั้นของใยแก้วที่เรียกว่า "CLADDING" อัตราการส่งถ่าย
ข้อมูลสูงถึง 565 เมกะบิตต่อวินาที หรือมากกว่า ป้องกันสัญญาณรบกวนได้ดีมาก ขนาดของสายเล็กมาก
และเบามากแต่มีราคาแพง
        นอกจากการสื่อสารข้อมูลตามสายรูปแบบต่าง ๆ แล้ว ยังมีการส่งข้อมูลแบบไร้สาย (Wireless
Transmission)
ซึ่งเป็นการส่งข้อมูลผ่านบรรยากาศโดยไม่ต้องอาศัยสายส่ง สัญญาณใด ๆ เช่น ระบบไมโครเวฟ ดาวเทียม
สื่อสาร
โทรศัพท์เคลื่อนที่ เป็นต้น ซึ่งเป็น สัญญาณแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่แตกต่างกัน ทาให้การสื่อสาร ทาได้
รวดเร็ว
และครอบคลุมทุกมุมโลก
เครือข่ายคอมพิวเตอร์

แผนผังการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ หรือ คอมพิวเตอร์เน็ตเวิร์ก ( computer network) คือ
ระบบการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์จานวนตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไป

 การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทสาคัญมากขึ้นในปัจจุบัน เพราะมีการใช้งานคอมพิวเตอร์อย่างแพร่หลาย จึง
เกิดความต้องการที่จะเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหล่านั้นถึงกัน เพื่อเพิ่มความสามารถของระบบให้สูงขึ้น และลด
ต้นทุนของระบบโดยรวมลง

 การโอนย้ายข้อมูลระหว่างกันในเครือข่าย ทาให้ระบบมีขีดความสามารถเพิ่มมากขึ้น การแบ่งการใช้
ทรัพยากร เช่น หน่วยประมวลผล, หน่วยความจา, หน่วยจัดเก็บข้อมูล, โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์
ต่าง ๆ ที่มีราคาแพงและไม่สามารถจัดหามาให้ทุกคนได้ เช่น เครื่องพิมพ์ เครื่องกราดภาพ (scanner) ทาให้
ลดต้นทุนของระบบลงได้

ชนิดของเครือข่าย

เครือข่าย เป็นการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไปเข้าด้วยกัน เพื่อสะดวกต่อการร่วมใช้ข้อมูล ,
โปรแกรม หรือเครื่องพิมพ์ และยังสามารถอานวยความสะดวกในการติดต่อแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างเครื่อง
ได้ตลอดเวลา ระบบเครือข่ายจะถูกแบ่งออกตามขนาดของเครือข่าย ซึ่งปัจจุบันเครือข่ายที่รู้จักกันดีมีอยู่ 3
แบบ ได้แก่
เครือข่ายภายใน หรือ แลน (Local Area Network: LAN) เป็นเครือข่ายที่ใช้ในการ เชื่อมโยงกันในพื้นที่
ใกล้เคียงกัน เช่นอยู่ในห้อง หรือภายในอาคารเดียวกัน

เครือข่ายวงกว้าง หรือ แวน (Wide Area Network: WAN) เป็นเครือข่ายที่ใช้ในการ เชื่อมโยงกัน ใน
ระยะทางที่ห่างไกล อาจจะเป็น กิโลเมตร หรือ หลาย ๆ กิโลเมตร

เครือข่ายงานบริเวณนครหลวง หรือ แมน (Metropolitan area network : MAN)

และยังมีอีกสองเครือข่ายที่ยังมีเพิ่มเติมอีกคือ

เครือข่ายของการติดต่อระหว่างไมโครคอนโทรลเลอร์ หรือ แคน (Controller area network) : CAN) เป็น
เครือข่ายที่ใช้ติดต่อกันระหว่างไมโครคอนโทรลเลอร์ (Micro Controller unit: MCU)

เครือข่ายส่วนบุคคล หรือ แพน (Personal area network) : PAN) เป็นเครือข่ายไร้สาย
อุปกรณ์เครือข่าย

เซอร์เวอร์ (Server) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เครืองแม่ข่าย เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์หลักในเครือข่าย ที่ทา
หน้าที่จัดเก็บและให้บริการไฟล์ข้อมูลและทรัพยากรอื่นๆ กับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ใน เครือข่าย โดย
ปกติคอมพิวเตอร์ที่นามาใช้เป็นเซอร์เวอร์มักจะเป็นเครื่องที่มีสมรรถนะสูง และ

มีฮาร์ดดิกส์ความจาสูงกว่าคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ในเครือข่าย .

ไคลเอนต์ (Client) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เครื่องลูกข่าย เป็นคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายที่ร้องขอ บริการและ
เข้าถึงไฟล์ข้อมูลที่จัดเก็บในเซอร์เวอร์ หรือพูดง่าย ๆ ก็คือ ไคลเอนต์ เป็นคอมพิวเตอร์ ของผู้ใช้แต่ละคนใน
ระบบเครือข่าย

ฮับ (HUB) หรือ เรียก รีพีทเตอร์ (Repeater) คืออุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อกลุ่มคอมพิวเตอร์ ฮับ มีหน้าที่รับส่ง
เฟรมข้อมูลทุกเฟรมที่ได้รับจากพอร์ตใดพอร์ตหนึ่ง ไปยังพอร์ตที่เหลือ คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อเข้ากับฮับจะ
แชร์แบนด์วิธหรืออัตราข้อมูลของเครือข่าย เพราะฉะนั้นถ้ามีคอมพิวเตอร์เชื่อมต่อมากจะทาให้อัตราการส่ง
ข้อมูลลดลง

สวิตซ์ (Switch) คืออุปกรณ์เครือข่ายที่ทาหน้าที่ในเรเยอร์ที่ 2 และทาหน้าที่ส่งข้อมูลที่ได้รับมาจากพอร์ต
หนึ่งไปยังพอร์ตเฉพาะที่เป็นปลายทางเท่านั้น และทาให้คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับพอร์ตที่เหลือส่งข้อมูลถึง
กันในเวลาเดียวกัน ดังนั้น อัตราการรับส่งข้อมูลหรือแบนด์วิธจึงไม่ขึ้นอยู่กับคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันนิยม
เชื่อมต่อแบบนี้มากกว่าฮับเพราะลดปัญหาการชนการของข้อมูล
เราเตอร์ (Router)เป็นอุปรณ์ที่ทาหน้าที่ในเลเยอร์ที่ 3 เราท์เตอร์จะอ่านที่อยู่ (Address) ของสถานีปลายทางที่
ส่วนหัว (Header) ข้อแพ็กเก็ตข้อมูล เพื่อที่จะกาหนดและส่งแพ็กเก็ตต่อไป เราท์เตอร์จะมีตัวจัดเส้นทางใน
แพ็กเก็ต เรียกว่า เราติ้งเทเบิ์ล (Routing Table) หรือตารางจัดเส้นทางนอกจากนี้ยังส่งข้อมูลไปยังเครือาข่ายที่
ให้โปรโตคอลต่างกันได้ เช่น IP (Internet Protocol) , IPX (Internet Package Exchange) และ AppleTalk
นอกจากนี้ยังเชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่นได้ เช่น เครือข่ายอินเตอร์เน็ต

บริดจ์ (Bridge) เป็นอุปกรณ์ที่มักจะใช้ในการเชื่อมต่อวงแลน (LAN Segments) เข้าด้วยกัน ทาให้สามารถ
ขยายขอบเขตของ LAN ออกไปได้เรื่อยๆ โดยที่ประสิทธิภาพรวมของระบบ ไม่ลดลงมากนัก เนื่องจากการ
ติดต่อของเครื่องที่อยู่ในเซกเมนต์เดียวกันจะไม่ถูกส่งผ่าน ไปรบกวนการจราจรของเซกเมนต์อื่น และ
เนื่องจากบริดจ์เป็นอุปกรณ์ที่ทางานอยู่ในระดับ Data Link Layer จึงทาให้สามารถใช้ในการเชื่อมต่อ
เครือข่ายที่แตกต่างกันในระดับ Physical และ Data Link ได้ เช่น ระหว่าง Eternet กับ Token Ring เป็นต้น
บริดจ์ มักจะถูกใช้ในการเชื่อมเครือข่ายย่อย ๆ ในองค์กรเข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายใหญ่ เพียงเครือข่ายเดียว
เพื่อให้เครือข่ายย่อยๆ เหล่านั้นสามารถติดต่อกับเครือข่ายย่อยอื่นๆ ได้
        เกตเวย์ (Gateway) เกตเวย์ เป็นอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่างประเภทเข้าด้วยกัน เช่น การ
ใช้เกตเวย์ในการเชื่อมต่อเครือข่าย ที่เป็นคอมพิวเตอร์ประเภทพีซี (PC) เข้ากับคอมพิวเตอร์ประเภทแมคอิน
ทอช (MAC) เป็นต้น

                                 ประโยชน์ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์

  เครือข่ายที่ทางานรวมกันเป็นกลุ่มงาน เรียกว่า                     Workgroup เมื่อเชื่อมโยงหลาย ๆ
กลุ่มงานเข้าด้วยกันจะเป็นเครือข่ายขององค์กร จะเป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ สามารถประยุกต์ใช้งานได้
อย่างกว้างขวางโดยเครือข่ายคอมพิวเตอร์จะเกิดการเชื่อมโยงอุปกรณ์ต่าง ๆ เข้าด้วยกันและสื่อสารถึงกันได้
เช่น

                1. การใช้ฐานข้อมูลร่วมกัน เครือข่ายที่ให้บริการเก็บข่าวสาร ตัวเลขหรือข้อมูลใช้งานจะ
ใช้ฐานข้อมูลเดียวกันได้ เช่น ราคาสินค้า บัญชีสินค้า ฯลฯ

                  2. การแบ่งปันทรัพยากรในเครือข่าย อุปกรณ์ต่าง ๆ ใช้ร่วมกันได้ เช่น การพิมพ์เอกสาร
จะใช้เครื่องพิมพ์เครื่องเดียวกับคอมพิวเตอร์เครือข่ายหลายเครื่องก็ได้ เป็นต้น

                3. การติดต่อสื่อสารระหว่างกันบนเครือข่าย เมื่อมีการเชื่อมโยงสถานีงานเข้าด้วยกันก็จะ
สามารถโอนย้ายข้อมูลระหว่างกันได้ การดาเนินการต่าง ๆ ควรเป็นไปตามกฎเกณฑ์ที่ฝ่ายบริหารเครือข่าย
ขององค์กรได้กาหนดไว้
                4. สานักงานอัตโนมัติ แนวคิดคือต้องการลดการใช้กระดาษ หันมาใช้ระบบการทางาน
ด้วยคอมพิวเตอร์ที่แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้ทันที โดยการใช้สัญญาณอิเลคทรอนิกส์แทน จะทาให้
การทางานคล่องตัวและรวดเร็ว
 การใช้งานเครือข่ายยังมีการประยุกต์ได้หลายอย่างตั้งแต่ การโอนย้ายแฟ้มข้อมูลระหว่าง
กัน การทางานเป็นกลุ่ม การใช้ทรัพยากรร่วมกัน การนัดหมายการส่งงาน แม้แต่ในห้องเรียนก็ใช้เครือข่าย
เพื่อการเรียนการสอน ใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ให้เรียกค้นข้อมูลเป็น

More Related Content

What's hot

ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ARAM Narapol
 
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์Piyanoot Ch
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-43
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-43เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-43
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-43Sireethorn43
 
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลการสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลBebearjang1
 
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ตบทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ตWanphen Wirojcharoenwong
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3Nattapon
 
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ตประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ตguest832105
 
ระบบอินเตอร์เน็ต
ระบบอินเตอร์เน็ตระบบอินเตอร์เน็ต
ระบบอินเตอร์เน็ตWanphen Wirojcharoenwong
 
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูลบทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูลNattapon
 
ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2Nattapon
 

What's hot (13)

Network
NetworkNetwork
Network
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
รูปร่างเครือข่าย
รูปร่างเครือข่ายรูปร่างเครือข่าย
รูปร่างเครือข่าย
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-43
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-43เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-43
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-43
 
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลการสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
 
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ตบทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3
 
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ตประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
 
ระบบอินเตอร์เน็ต
ระบบอินเตอร์เน็ตระบบอินเตอร์เน็ต
ระบบอินเตอร์เน็ต
 
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูลบทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
 
ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2
 

Viewers also liked (8)

คอมพิวเตอร์กับการประมวลผลข้อมูล
คอมพิวเตอร์กับการประมวลผลข้อมูลคอมพิวเตอร์กับการประมวลผลข้อมูล
คอมพิวเตอร์กับการประมวลผลข้อมูล
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Sacchi - TASI - Semantic Web
Sacchi - TASI - Semantic WebSacchi - TASI - Semantic Web
Sacchi - TASI - Semantic Web
 
การแต่งภาพด้วยPhoto scape
การแต่งภาพด้วยPhoto scapeการแต่งภาพด้วยPhoto scape
การแต่งภาพด้วยPhoto scape
 
การแต่งภาพด้วยPhoto scap
การแต่งภาพด้วยPhoto scapการแต่งภาพด้วยPhoto scap
การแต่งภาพด้วยPhoto scap
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
CV of Kamal Kumar Sahoo
CV of Kamal Kumar  SahooCV of Kamal Kumar  Sahoo
CV of Kamal Kumar Sahoo
 

Similar to เครือข่ายคอมพิวเตอร์

2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์Meaw Sukee
 
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์T'tle Tanwarat
 
Computer Network
Computer  NetworkComputer  Network
Computer Networkchukiat008
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์chukiat008
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์Tanawat Rengtian
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์Nipat Deenan
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)Nipat Deenan
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)Nipat Deenan
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์Tanawat Rengtian
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์Chatman's Silver Rose
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8chu1991
 
อุปกรณ์เคลือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เคลือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เคลือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เคลือข่ายคอมพิวเตอร์thecommander2
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1chu1991
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1chushi1991
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9ninjung
 

Similar to เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (20)

2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Computer Network
Computer  NetworkComputer  Network
Computer Network
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Computerkamolaporn
ComputerkamolapornComputerkamolaporn
Computerkamolaporn
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
Computer network
Computer networkComputer network
Computer network
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
อุปกรณ์เคลือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เคลือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เคลือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เคลือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่9
บทที่9บทที่9
บทที่9
 

เครือข่ายคอมพิวเตอร์

  • 1. เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่าย (Network System) หมายถึง การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไป เข้าด้วยกัน เช่น การเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ภายในห้องเรียน ภายในองค์กร ระหว่าง อาคาร ระหว่าง เมืองต่าง ๆ ตลอดไปจนถึงการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ทั่วทั้งโลกที่เรียกว่า "อินเทอร์เน็ต" (Internet) การติดต่อสื่อสารข้อมูลในปัจจุบันมีรากฐานมาจากความพยายามในการเชื่อมต่อระหว่าง คอมพิวเตอร์ กับคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกันโดยอาศัยระบบการสื่อสาร ต่อมาเมื่อมีการใช้คอมพิวเตอร์มากขึ้นความ ต้องการในการ ติดต่อระหว่างคอมพิวเตอร์หลายเครื่องในเวลาเดียวกัน เรียกว่า ระบบเครือข่าย (Network System) ระบบสานักงานอัตโนมัติ (Office Automation System) เป็นวิธีการทางด้านการ สื่อสารข้อมูล ที่กาลังได้รับการนามาประยุกต์ใช้ในระบบสานักงาน ซึ่งเป็นระบบที่มี บุคคลากรในการทางานน้อยที่สุด โดยอาศัย เครื่องมือแบบอัตโนมัติและระบบสื่อสารเชื่อมโยงข่าวสาร ระหว่างเครื่องมือเข้าด้วยกัน สานักงานที่จัดว่าเป็นสานักงานอัตโนมัติประกอบด้วยองค์ประกอบสาคัญ คือ 1. Networking System คือ ระบบข่ายงานที่เชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ระหว่างกันทั่ว องค์กร 2. Electronic Data Interchange คือ การสื่อสารข้อมูลข่าวสารระหว่างกัน โดยอาศัย สัญญาณข้อมูลข่าวสาร แบบอิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบข่ายงาน 3. Internet Working คือ การรวมตัวกันของระบบข่ายงานที่กระจายอยู่ทั่วโลก จน กลายเป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ 4. Paperless System คือ ระบบที่ไม่ใช้กระดาษบทบาทที่สาคัญอีกบทบาทหนึ่งคือการ ให้บริการข้อมูล ประโยชน์ของการสื่อสารข้อมูล 1. จัดเก็บข้อมูลได้ง่ายและสื่อสารได้รวดเร็ว
  • 2. 2. ความถูกต้องของข้อมูล 3. ความเร็วของการทางาน 4. ประหยัดต้นทุน มาตรฐานสาหรับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การทางานในสานักงานจาเป็นต้องมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน โต๊ะทางานแต่ละตัวจะเป็น เสมือนจุดหนึ่งของการประมวลผล การวิเคราะห์ การแยกแยะข้อมูลและส่งให้โต๊ะอื่นๆ หรือหน่วยอื่น ๆ ต่อไป การเชื่อมโยงเครือข่ายทาให้เกิดเป็นระบบแห่งการประมวลผล หรือทาให้คอมพิวเตอร์หลาย ๆ ระบบเชื่อม เข้า ด้วยกัน ระบบสานักงานอัตโนมัติจึงเป็นเรื่องของการประมวลผลในจุดต่าง ๆ แล้วส่งข้อมูลถึงกันผ่านทาง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เหตุผลของการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์เข้าหากัน เนื่องจากราคาของคอมพิวเตอร์ถูกลง และมีความต้องการเพิ่มขีดความสามารถของระบบโดยรวม เพราะอุปกรณ์คอมพิวเตอร์เพียงอย่างเดียวก็ ทางานได้ในตัวเองอย่างหนึ่ง แต่เมื่อรวมกันจะทางานได้เพิ่มขึ้นและสามารถใช้ทรัพยากรร่วมกันและ แลกเปลี่ยน ข้อมูลระหว่างกันได้ การส่งข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่าย จาเป็นต้องมีมาตรฐานกลางที่ทาให้ คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่างรุ่น ต่างยี่ห้อ ทุกเครื่องหรือทุกระบบสามารถเชื่อมโยงกันได้ ในระบบเครือข่าย จะมีการ ดาเนิน งานพื้นฐานต่าง ๆ กัน เช่น การรับส่งข้อมูล การเข้าใช้งานเครือข่าย การพิมพ์งานโดยใช้อุปกรณ์ของ เครือข่าย เป็นต้น องค์กรว่าด้วยเรื่องมาตรฐานระหว่างประเทศ จึงได้กาหนด มาตรฐานการจัดระบบการเชื่อมต่อ สื่อสารเปิด (Open Systems Interconnection : OSI) ซึ่งเป็นมาตรฐานที่ใช้ในการ
  • 3. รับส่งข้อมูล ระหว่าง 2 ปลายทางใด ๆ บนเครือข่ายระบบสื่อสาร มีการแบ่งออกเป็นระดับ (Layer) ได้ 7 ระดับ โดยแต่ ละระดับจะมีการกาหนดมาตรฐานในการติดต่อเป็นของตัวเอง และระดับหนึ่งจะติดต่อกับระดับที่เท่ากัน ของอีกปลายหนึ่ง ระดับที่สูงกว่าจะสั่งงานและรับข้อมูลที่ประมวลผลแล้วจากระดับที่ต่ากว่า โดยไม่ จาเป็น ต้องทราบรายละเอียดของระดับที่ต่ากว่า การสื่อสารในระดับต่าง ๆ จะอาศัยการควบคุมเพื่อให้ระบบการทางานนั้นเป็นไปอย่างถูกต้อง มีมาตรฐานโดยการสื่อสารข้อมูลแบบแพ็กเก็ต จะเกี่ยวพันกับ 3 ระดับล่าง ซึ่งได้แก่ 1. ระดับฟิสิคัล (Physical Layer) เป็นระดับที่เกี่ยวข้องกับการรับข้อมูลเป็นบิต ซึ่งเกี่ยวข้องกับ ระดับ แรงดันไฟฟ้าช่วงความถี่ คาบเวลา 2. ระดับดาต้าลิงค์ (Data Link Layer) เป็นระดับที่ทาการแปลงการรับส่งข้อมูล ที่มีความไม่ แน่นอน ให้แน่นอนขึ้น โดยการจัดรูปแบบข้อมูลเป็นบล็อก เช่น เฟรม (Frame) พร้อมทั้งมีการตรวจสอบ ข้อผิดพลาด 3. ระดับเนตเวอร์ค (Network Layer) ทาการส่งข้อมูลเป็นแพ็กเก็ตเข้าไปในเนตเวอร์ค แพ็กเก็ต ก็อาจเดินทางไปอย่างอิสระ โดยมีการจ่าหน้าแอดเดรสของผู้รับและผู้ส่งวิธีนี้เรียกว่า Datagrame ปัจจุบันมีผู้ใช้อินเทอร์เน็ตจานวนมากทั่วโลก แต่ละคนก็ใช้คอมพิวเตอร์ต่างแบบต่างรุ่นกัน ดังนั้นการสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์จะต้องอาศัยภาษากลางที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้ากันกันได้ ซึ่งภาษากลางนี้มีชื่อทางเทคนิคว่า "โปรโตคอล" (Protocol) สาหรับโปรโตคอลมาตรฐานที่ใช้ใน การสื่อสารบนอินเทอร์เน็ตมีชื่อเรียกว่า TCP/IP ซึ่งได้แพร่หลายไปทั่วโลกพร้อมๆ กับเครือข่าย อินเทอร์เน็ต และเป็นโปรโตคอลที่กาลังได้รับความนิยมอย่างมากในปัจจุบัน การทางานของโปรโตคอล TCP/IP จะแบ่งข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์ส่งไปยังเครื่องอื่นไป ส่วนย่อยๆ (เรียกว่า แพ็คเก็ต : packet) และส่งไปตามเครือข่ายอินเตอร์เน็ต โดยการกระจายแพ็กเก็ตเหล่านั้นไป หลายทาง โดยในแต่ละเส้นทางจะไปรวมกันที่จุดปลายทาง และถูกนามารวมกันเป็นข้อมูลที่สมบูรณ์อีกครั้ง หนึ่ง
  • 4. รูปแบบการทางานของโปรโตคอล TCP/IP ที่มีการแบ่งข้อมูลและจัดส่งเป็นส่วนย่อย จะ สามารถช่วย ป้องกันความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นในการติดต่อสื่อสารได้ เพราะถ้าข้อมูลเกิด สูญหายก็จะเกิดเป็นเพียง บางส่วน เท่านั้นมิใช่หายไปทั้งหมด ซึ่งคอมพิวเตอร์ปลายทางสามารถ ตรวจหาข้อมูลที่สูญหายไปได้ และติดต่อให้ คอมพิวเตอร์ต้นทางส่งเพียงเฉพาะข้อมูลที่หายไปมาใหม่อีกครั้งได้ โปรโตคอล TCP/IP ถูกคิดค้นโดยรัฐบาลสหรัฐและถูกนามาใช้กับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพี่อป้องกัน ความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นได้ เช่น ในกรณีที่ศูนย์คอมพิวเตอร์ใหญ่ในรัฐใดรัฐหนึ่งถูกโจมตีจนได้รับความ เสียหาย เครือข่ายคอมพิวเตอร์ส่วนที่เหลือก็ยังสามารถติดต่อถึงกันได้อยู่ เพราะข้อมูลจะถูกโอนย้ายไปตาม เส้น ทางอื่นในเครือข่ายแทน ความหมายของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) คือกลุ่มของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ ที่ถูกนามาเชื่อมต่อกันผ่านอุปกรณ์ด้านการสื่อสารหรือสื่ออื่นใด ทาให้ผู้ใช้ในระบบเครือข่ายสามารถ ติดต่อสื่อสาร แลกเปลี่ยนและใช้ อุปกรณ์ต่าง ๆ ของเครือข่ายร่วมกันได้ การที่เครือข่ายคอมพิวเตอร์มีบทบาท และความสาคัญเพิ่มขึ้นเพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งาน อย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหล่านั้นเข้าด้วยกัน เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ของระบบ ให้สูงขึ้นเพิ่มการใช้งานด้านต่าง ๆ และลดต้นทุนระบบโดยรวมลง เครือข่ายมีตั้งแต่ขนาดเล็กที่เชื่อมต่อกัน ด้วย คอมพิวเตอร์ เพียงสองสามเครื่องเพื่อใช้งานในบ้าน หรือในบริษัทเล็กๆ ไปจนถึงเครือข่ายระดับโลกที่ ครอบคลุมไป
  • 5. เกือบทุกประเทศ เครือข่ายสามารถเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็นจานวนมากทั่วโลกเข้าด้วยกันเราเรียกว่า เครือข่ายอินเทอร์เน็ต โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1. เครือข่ายเฉพาะที่ (Local Area Network : LAN) 2. เครือข่ายเมือง (Metropolitan Area Network : MAN) 3. เครือข่ายบริเวณกว้าง ( Wide Area Network : WAN การต่อเชื่อมเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระยะใกล้ หากต้องการที่จะนาเอาเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลมาต่อเป็นระบบ โดยใช้ขีด ความสามารถเดิม ที่มีอยู่ สามารถทาได้ด้วยวิธีการง่าย ๆ ดังนี้ 1. การเชื่อมต่อผ่านช่องทาง Com1, Com2 และ LPT เป็นวิธีที่นาคอมพิวเตอร์ที่มีอยู่ต่อผ่าน ช่อง ทาง COM1 หรือ COM2 เพื่อการเคลื่อนย้ายข้อมูลระหว่างกัน 2. การเชื่อมต่อเข้ากับบัฟเฟอร์เครื่องพิมพ์ เป็นการแบ่งกันใช้เครื่องพิมพ์เพื่อให้การใช้ทรัพยากร เครื่องพิมพ์ (Printer) เกิดประโยชน์มากขึ้น 3. การเชื่อมต่อโดยใช้ระบบสลับสายข้อมูล เป็นวิธีการต่อขยายระบบแบบง่าย ๆ ที่ใช้มือช่วยระบบ สลับสายข้อมูลทาหน้าที่เหมือนชุมสายโทรศัพท์ 4. การเชื่อมต่อผ่านระบบผู้ใช้หลายคนหลายช่องทาง ระบบผู้ใช้หลายคนขนาดเล็ก ที่อยู่บนไมโคร คอมพิวเตอร์มีหลายระบบ เช่น ระบบยูนิกซ์ ระบบลีนุกซ์ ระบบดังกล่าวสามารถเชื่อมขยายเข้ากับสถานีย่อย ได้มาก เป็นระบบที่ใช้งานร่วมกันได้ในราคาประหยัด โครงสร้างระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Network Topology)
  • 6. เครือข่ายแบบบัส (Bus Network) เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ ต่าง ๆ ด้วยสายเคเบิลยาวต่อเนื่องไปเรื่อย ๆ โดยจะมีคอนเน็กเตอร์เป็นตัวเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เข้ากับ สาย เคเบิล ในการส่งข้อมูลจะมีคอมพิวเตอร์เพียงตัวเดียวเท่านั้นที่สามารถส่งข้อมูลได้ในช่วงเวลาหนึ่งๆ เครือข่ายแบบดาว (Star Network) เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ เข้ากับ อุปกรณ์ที่เป็น จุดศูนย์กลางของเครือข่ายโดยการนาสถานีต่าง ๆ มาต่อร่วมกันกับหน่วยสลับสายกลาง การติดต่อสื่อสาร ระหว่างสถานี จะกระทาได้ด้วยการติดต่อผ่านทางวงจรของหน่วยสลับสายกลาง การทางานของหน่วยสลับสายกลาง จึง เป็นศูนย์กลาง ของการติดต่อ วงจรเชื่อมโยงระหว่างสถานี ต่าง ๆ ที่ต้องการติดต่อกัน เครือข่ายแบบวงแหวน (Ring Network) เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อ คอมพิวเตอร์ด้วย สายคเบิล ยาวเส้นเดียวในลักษณะวงแหวน การรับส่งข้อมูลในเครือข่ายวงแหวน จะใช้ทิศทางเดียวเท่านั้น เมื่อ คอมพิวเตอร์ เครื่องหนึ่งส่งข้อมูลมันก็จะส่งไปยังคอมพิวเตอร์เครื่องถัดไป ถ้าข้อมูลที่รับมาไม่ตรงตามที่คอมพิวเตอร์ เครื่องต้นทาง ระบุ ก็จะส่งผ่านไปยังคอมพิวเตอร์เครื่องถัดไปซึ่งจะเป็นขั้นตอน อย่างนี้ไปเรื่อย ๆ จนกว่าจะถึง คอมพิวเตอร์ปลายทาง ที่ถูกระบุตามที่อยู่จากเครื่องต้นทาง เครือข่ายแบบต้นไม้ (Tree Network) เป็นเครือข่ายที่มีผสมผสานโครงสร้างเครือข่าย แบบต่างๆ เข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ การจัดส่งข้อมูลสามารถส่งไปถึงได้ทุกสถานี การสื่อสารข้อมูลจะผ่าน ตัวกลาง ไปยังสถานีอื่น ๆ ได้ทั้งหมด เพราะทุกสถานีจะอยู่บนทางเชื่อม รับส่งข้อมูลเดียวกัน
  • 7. องค์ประกอบของเครือข่าย ประกอบด้วย ฮาร์ดแวร์ (Hardware)  คอมพิวเตอร์ (Client Computer)  เซอร์เวอร์ (Server)  ฮับ (Hub)  บริดจ์ (Bridge)  เราท์เตอร์ (Router)  เกตเวย์ (Gateway)  โมเด็ม (Modem)  เน็ตเวอร์คการ์ด (Network Card) ซอฟต์แวร์ (Software)  ระบบปฏิบัติการของระบบเครือข่าย (Network Operating Sytems)  แอบพลิเคชั่นของเครือข่าย (Network Application Sytems) ตัวนาข้อมูล (Media Transmission) สายส่งข้อมูล หรือ Cable เป็นอุปกรณ์อย่างหนึ่งในระบบ Network ที่ใช้เป็นทางเดิน ของข้อมูล ระหว่าง Workstation กับ Server มีลักษณะคล้ายสายไฟหรือสายโทรศัพท์แล้วแต่ชนิด ของ Cable แต่การเลือกใช้ Cable นั้นควรคานึงถึงความปลอดภัย (Safety) และคลื่นรบกวน (Interference) เป็นสาคัญ สายส่งข้อมูลที่ดี ไม่ควรเป็น ตัวนาไฟ เมื่อเกิดอัคคีภัยขึ้น และสามารถ ป้องกันคลื่นรบกวนจากอานาจแม่เหล็ก และคลื่นวิทยุ ได้ ลักษณะของสายส่งข้อมูล แบ่งได้ดังนี้ สาย Coaxial Cable หรือ สาย Coax นอกจากใช้ในระบบ Network แล้วยังสามารถ นาไปใช้กับระบบ TV และ Mainframe ได้ด้วย สาย Coax นั้นเป็นสายที่ประกอบไปด้วยแกนของ ทองแดงหุ้มด้วย ฉนวน และสายดิน
  • 8. (ลักษณะเป็นฝอย) หุ้มด้วยฉนวนบางอีกชั้นหนึ่ง ในปัจจุบันได้เปลี่ยนจากลวดทองแดงมาเป็นลวดเงินที่พัน กันหลาย ๆ เส้นแทน ทั้งนี้เพื่อป้องกันการรบกวน ที่เรียกว่า "Cross Talk" ซึ่งเป็นการรบกวนที่เกิดจาก สายสัญญาณข้างเคียง  สาย Twisted Pair Cable เป็นสายส่งสัญญาณที่ประกอบไปด้วยสายทองแดง 2 เส้น ขึ้นไปบิดกันเป็นเกลียว (Twist) แล้วหุ้มด้วยฉนวน โดยแบ่งเป็น 2 แบบคือ แบบมี Shield และ แบบไม่มี Shield จะมีฉนวนในการ ป้องกันสัญญาณรบกวน หรือระบบป้องกันสัญญาณรบกวน โดยเรียกสาย Cable ทั้งสองนี้ว่า "Shielded Twisted Pair (STP)" และ "Unshielded Twisted Pair (UTP)"  สาย Shielded Twisted Pair (STP) หรือที่เรียกว่า "สายคู่บิดเกลียวชนิดหุ้ม ฉนวน" เป็นสายคู่ บิดเกลียวที่หุ้มด้วยฉนวนชั้นนอกที่หนาอีกชั้นหนึ่ง เพื่อป้องกันการรบกวนของคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้ สาย Unshielded Twisted Pair (UTP) หรือที่เรียกว่า "สายคู่บิดเกลียว ชนิดไม่ หุ้มฉนวน" เป็นสายคู่บิดเกลียวที่หุ้มด้วยฉนวนชั้นนอกที่บางอีกชั้น ทาให้สะดวก ในการโค้งงอ สาย UTP เป็นสายที่มีราคาถูก และ หาง่าย แต่ป้องกันสัญญาณรบกวน ได้ไม่ดีเท่ากับสาย STP สาย Fiber Optic Cable เป็นสายใยแก้วนาแสงชนิดใหม่ ประกอบด้วยท่อใยแก้ว ที่มีขนาดเล็ก และบางมาก เรียกว่า "CORE" ล้อมรอบด้วยชั้นของใยแก้วที่เรียกว่า "CLADDING" อัตราการส่งถ่าย ข้อมูลสูงถึง 565 เมกะบิตต่อวินาที หรือมากกว่า ป้องกันสัญญาณรบกวนได้ดีมาก ขนาดของสายเล็กมาก และเบามากแต่มีราคาแพง นอกจากการสื่อสารข้อมูลตามสายรูปแบบต่าง ๆ แล้ว ยังมีการส่งข้อมูลแบบไร้สาย (Wireless Transmission) ซึ่งเป็นการส่งข้อมูลผ่านบรรยากาศโดยไม่ต้องอาศัยสายส่ง สัญญาณใด ๆ เช่น ระบบไมโครเวฟ ดาวเทียม สื่อสาร โทรศัพท์เคลื่อนที่ เป็นต้น ซึ่งเป็น สัญญาณแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่แตกต่างกัน ทาให้การสื่อสาร ทาได้ รวดเร็ว และครอบคลุมทุกมุมโลก
  • 9. เครือข่ายคอมพิวเตอร์ แผนผังการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ หรือ คอมพิวเตอร์เน็ตเวิร์ก ( computer network) คือ ระบบการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์จานวนตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไป การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทสาคัญมากขึ้นในปัจจุบัน เพราะมีการใช้งานคอมพิวเตอร์อย่างแพร่หลาย จึง เกิดความต้องการที่จะเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหล่านั้นถึงกัน เพื่อเพิ่มความสามารถของระบบให้สูงขึ้น และลด ต้นทุนของระบบโดยรวมลง การโอนย้ายข้อมูลระหว่างกันในเครือข่าย ทาให้ระบบมีขีดความสามารถเพิ่มมากขึ้น การแบ่งการใช้ ทรัพยากร เช่น หน่วยประมวลผล, หน่วยความจา, หน่วยจัดเก็บข้อมูล, โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ ต่าง ๆ ที่มีราคาแพงและไม่สามารถจัดหามาให้ทุกคนได้ เช่น เครื่องพิมพ์ เครื่องกราดภาพ (scanner) ทาให้ ลดต้นทุนของระบบลงได้ ชนิดของเครือข่าย เครือข่าย เป็นการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไปเข้าด้วยกัน เพื่อสะดวกต่อการร่วมใช้ข้อมูล , โปรแกรม หรือเครื่องพิมพ์ และยังสามารถอานวยความสะดวกในการติดต่อแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างเครื่อง ได้ตลอดเวลา ระบบเครือข่ายจะถูกแบ่งออกตามขนาดของเครือข่าย ซึ่งปัจจุบันเครือข่ายที่รู้จักกันดีมีอยู่ 3 แบบ ได้แก่ เครือข่ายภายใน หรือ แลน (Local Area Network: LAN) เป็นเครือข่ายที่ใช้ในการ เชื่อมโยงกันในพื้นที่ ใกล้เคียงกัน เช่นอยู่ในห้อง หรือภายในอาคารเดียวกัน เครือข่ายวงกว้าง หรือ แวน (Wide Area Network: WAN) เป็นเครือข่ายที่ใช้ในการ เชื่อมโยงกัน ใน ระยะทางที่ห่างไกล อาจจะเป็น กิโลเมตร หรือ หลาย ๆ กิโลเมตร เครือข่ายงานบริเวณนครหลวง หรือ แมน (Metropolitan area network : MAN) และยังมีอีกสองเครือข่ายที่ยังมีเพิ่มเติมอีกคือ เครือข่ายของการติดต่อระหว่างไมโครคอนโทรลเลอร์ หรือ แคน (Controller area network) : CAN) เป็น เครือข่ายที่ใช้ติดต่อกันระหว่างไมโครคอนโทรลเลอร์ (Micro Controller unit: MCU) เครือข่ายส่วนบุคคล หรือ แพน (Personal area network) : PAN) เป็นเครือข่ายไร้สาย
  • 10. อุปกรณ์เครือข่าย เซอร์เวอร์ (Server) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เครืองแม่ข่าย เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์หลักในเครือข่าย ที่ทา หน้าที่จัดเก็บและให้บริการไฟล์ข้อมูลและทรัพยากรอื่นๆ กับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ใน เครือข่าย โดย ปกติคอมพิวเตอร์ที่นามาใช้เป็นเซอร์เวอร์มักจะเป็นเครื่องที่มีสมรรถนะสูง และ มีฮาร์ดดิกส์ความจาสูงกว่าคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ในเครือข่าย . ไคลเอนต์ (Client) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เครื่องลูกข่าย เป็นคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายที่ร้องขอ บริการและ เข้าถึงไฟล์ข้อมูลที่จัดเก็บในเซอร์เวอร์ หรือพูดง่าย ๆ ก็คือ ไคลเอนต์ เป็นคอมพิวเตอร์ ของผู้ใช้แต่ละคนใน ระบบเครือข่าย ฮับ (HUB) หรือ เรียก รีพีทเตอร์ (Repeater) คืออุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อกลุ่มคอมพิวเตอร์ ฮับ มีหน้าที่รับส่ง เฟรมข้อมูลทุกเฟรมที่ได้รับจากพอร์ตใดพอร์ตหนึ่ง ไปยังพอร์ตที่เหลือ คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อเข้ากับฮับจะ แชร์แบนด์วิธหรืออัตราข้อมูลของเครือข่าย เพราะฉะนั้นถ้ามีคอมพิวเตอร์เชื่อมต่อมากจะทาให้อัตราการส่ง ข้อมูลลดลง สวิตซ์ (Switch) คืออุปกรณ์เครือข่ายที่ทาหน้าที่ในเรเยอร์ที่ 2 และทาหน้าที่ส่งข้อมูลที่ได้รับมาจากพอร์ต หนึ่งไปยังพอร์ตเฉพาะที่เป็นปลายทางเท่านั้น และทาให้คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับพอร์ตที่เหลือส่งข้อมูลถึง กันในเวลาเดียวกัน ดังนั้น อัตราการรับส่งข้อมูลหรือแบนด์วิธจึงไม่ขึ้นอยู่กับคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันนิยม เชื่อมต่อแบบนี้มากกว่าฮับเพราะลดปัญหาการชนการของข้อมูล เราเตอร์ (Router)เป็นอุปรณ์ที่ทาหน้าที่ในเลเยอร์ที่ 3 เราท์เตอร์จะอ่านที่อยู่ (Address) ของสถานีปลายทางที่ ส่วนหัว (Header) ข้อแพ็กเก็ตข้อมูล เพื่อที่จะกาหนดและส่งแพ็กเก็ตต่อไป เราท์เตอร์จะมีตัวจัดเส้นทางใน แพ็กเก็ต เรียกว่า เราติ้งเทเบิ์ล (Routing Table) หรือตารางจัดเส้นทางนอกจากนี้ยังส่งข้อมูลไปยังเครือาข่ายที่ ให้โปรโตคอลต่างกันได้ เช่น IP (Internet Protocol) , IPX (Internet Package Exchange) และ AppleTalk นอกจากนี้ยังเชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่นได้ เช่น เครือข่ายอินเตอร์เน็ต บริดจ์ (Bridge) เป็นอุปกรณ์ที่มักจะใช้ในการเชื่อมต่อวงแลน (LAN Segments) เข้าด้วยกัน ทาให้สามารถ ขยายขอบเขตของ LAN ออกไปได้เรื่อยๆ โดยที่ประสิทธิภาพรวมของระบบ ไม่ลดลงมากนัก เนื่องจากการ ติดต่อของเครื่องที่อยู่ในเซกเมนต์เดียวกันจะไม่ถูกส่งผ่าน ไปรบกวนการจราจรของเซกเมนต์อื่น และ
  • 11. เนื่องจากบริดจ์เป็นอุปกรณ์ที่ทางานอยู่ในระดับ Data Link Layer จึงทาให้สามารถใช้ในการเชื่อมต่อ เครือข่ายที่แตกต่างกันในระดับ Physical และ Data Link ได้ เช่น ระหว่าง Eternet กับ Token Ring เป็นต้น บริดจ์ มักจะถูกใช้ในการเชื่อมเครือข่ายย่อย ๆ ในองค์กรเข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายใหญ่ เพียงเครือข่ายเดียว เพื่อให้เครือข่ายย่อยๆ เหล่านั้นสามารถติดต่อกับเครือข่ายย่อยอื่นๆ ได้ เกตเวย์ (Gateway) เกตเวย์ เป็นอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่างประเภทเข้าด้วยกัน เช่น การ ใช้เกตเวย์ในการเชื่อมต่อเครือข่าย ที่เป็นคอมพิวเตอร์ประเภทพีซี (PC) เข้ากับคอมพิวเตอร์ประเภทแมคอิน ทอช (MAC) เป็นต้น ประโยชน์ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายที่ทางานรวมกันเป็นกลุ่มงาน เรียกว่า Workgroup เมื่อเชื่อมโยงหลาย ๆ กลุ่มงานเข้าด้วยกันจะเป็นเครือข่ายขององค์กร จะเป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ สามารถประยุกต์ใช้งานได้ อย่างกว้างขวางโดยเครือข่ายคอมพิวเตอร์จะเกิดการเชื่อมโยงอุปกรณ์ต่าง ๆ เข้าด้วยกันและสื่อสารถึงกันได้ เช่น 1. การใช้ฐานข้อมูลร่วมกัน เครือข่ายที่ให้บริการเก็บข่าวสาร ตัวเลขหรือข้อมูลใช้งานจะ ใช้ฐานข้อมูลเดียวกันได้ เช่น ราคาสินค้า บัญชีสินค้า ฯลฯ 2. การแบ่งปันทรัพยากรในเครือข่าย อุปกรณ์ต่าง ๆ ใช้ร่วมกันได้ เช่น การพิมพ์เอกสาร จะใช้เครื่องพิมพ์เครื่องเดียวกับคอมพิวเตอร์เครือข่ายหลายเครื่องก็ได้ เป็นต้น 3. การติดต่อสื่อสารระหว่างกันบนเครือข่าย เมื่อมีการเชื่อมโยงสถานีงานเข้าด้วยกันก็จะ สามารถโอนย้ายข้อมูลระหว่างกันได้ การดาเนินการต่าง ๆ ควรเป็นไปตามกฎเกณฑ์ที่ฝ่ายบริหารเครือข่าย ขององค์กรได้กาหนดไว้ 4. สานักงานอัตโนมัติ แนวคิดคือต้องการลดการใช้กระดาษ หันมาใช้ระบบการทางาน ด้วยคอมพิวเตอร์ที่แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้ทันที โดยการใช้สัญญาณอิเลคทรอนิกส์แทน จะทาให้ การทางานคล่องตัวและรวดเร็ว การใช้งานเครือข่ายยังมีการประยุกต์ได้หลายอย่างตั้งแต่ การโอนย้ายแฟ้มข้อมูลระหว่าง กัน การทางานเป็นกลุ่ม การใช้ทรัพยากรร่วมกัน การนัดหมายการส่งงาน แม้แต่ในห้องเรียนก็ใช้เครือข่าย เพื่อการเรียนการสอน ใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ให้เรียกค้นข้อมูลเป็น