SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
ไฟฟ้าเคมี
ELECTROCHEMISTRY
เคมี 4 ว30224
การดุลสมการรีดอกซ์
การดุลสมการรีดอกซ์
(Balancing Redox Equations)
ผลการเรียนรู้
ดุลสมการรีดอกซ์โดยใช้เลขออกซิเดชันและครึ่งปฏิกิริยาได้
การดุลสมการ
การดุลสมการเคมีโดยทั่วไปจะดุลจานวนอะตอมของธาตุทั้งในสารตั้งต้น
และผลิตภัณฑ์ให้มีจานวนอะตอมเท่ากันเพื่อให้เป็นไปตามกฎทรงมวล
ในปฏิกิริยารีดอกซ์ซึ่งเป็นปฏิกิริยาที่มีการถ่ายโอนอิเล็กตรอน
การดุลสมการจะต้องดุลทั้งจานวนอะตอม จานวนประจุไฟฟ้า และ
จานวนอิเล็กตรอนที่ให้และรับระหว่างตัวรีดิวซ์กับตัวออกซิไดส์ ให้
เท่ากันทั้งหมด
การดุลสมการแสดงการเกิดปฏิกิริยารีดอกซ์มีเทคนิคพื้นฐานที่ใช้ในการ
ดุลสมการดังนี้
1. การดุลสมการโดยวิธีเลขออกซิเดชัน
2. การดุลสมการโดยวิธีครึ่งปฏิกิริยา หรือวิธีไอออน-อิเล็กตรอน
วิธีนี้จะแยกออกเป็น
◦2.1 การดุลสมการโดยวิธีครึ่งปฏิกิริยาในสารละลายกรด
◦2.2 การดุลสมการโดยวิธีครึ่งปฏิกิริยาในสารละลายเบส
การดุลสมการโดยวิธีครึ่งปฏิกิริยา หรือวิธีไอออน-อิเล็กตรอน
มีขั้นตอนการดุลดังนี้
1. เขียนสมการไอออนิกแสดงการเกิดปฏิกิริยาที่ยังไม่ดุล
2. แยกสมการออกเป็น 2 ครึ่งปฏิกิริยา ครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชัน และครึ่งปฏิกิริยารีดักชัน
3. ดุลอะตอมของธาตุและประจุไฟฟ้าในแต่ละครึ่งปฏิกิริยา(ยกเว้นอะตอมของ O และ H ให้ดุล
ทีหลัง) ถ้าธาตุที่เป็นตัวออกซิไดส์หรือตัวรีดิวซ์ยังไม่ดุล ให้ดุลอะตอมธาตุเหล่านี้ก่อน
◦ 3.1 ให้ดุล O โดยการเติม H2O , ดุล H โดยการเติม H+ ,
3.2 ดุลประจุ โดยการเติม e-
4. คูณด้วยตัวเลขที่เหมาะสมในแต่ละครึ่งปฏิกิริยาเพื่อทาให้จานวน e- ที่ให้และรับมีจานวนเท่ากัน
ก่อนรวมแต่ละครึ่งปฏิกิริยาเข้าด้วยกัน
*** ถ้าปฏิกิริยาอยู่ในสารละลายเบส ให้เติม OH- ทั้งสองข้างของสมการเพื่อสะเทิน H+ ให้
เปลี่ยนเป็น H2O
ครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชัน ครึ่งปฏิกิริยารีดักชัน
Write the skeletons of half-
reactions.
Balance all elements other than
H and O.
Balance the oxygen atoms by
adding H2O molecules .
Balance the hydrogen atoms by
adding H+ ions .
Balance the charge by adding
electrons, e-.
Make the number of electrons
gained equal to the number of
electrons lost.
Add the 2 half-reactions
ตัวอย่าง 1. ไดโครเมตไอออน(Cr2O7
2-) ทาปฏิกิริยากับ Fe2+(aq)ในสารละลายกรด
ปรากฏว่าได้สารละลาย Fe3+(aq) และ Cr3+(aq) เกิดขึ้นดังสมการ
Cr2O7
2- (aq) + Fe2+(aq) → Fe3+(aq) + Cr3+(aq)
จงเขียนสมการรีดอกซ์และดุลสมการโดยวิธีครึ่งปฏิกิริยา
1. เขียนสมการไอออนิกแสดงการเกิดปฏิกิริยาที่ยังไม่ดุล
Cr2O7
2- (aq) + Fe2+(aq) → Fe3+(aq) + Cr3+(aq)
2. แยกสมการออกเป็น 2 ครึ่งปฏิกิริยา ครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชัน และครึ่งปฏิกิริยารีดักชัน
ครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชัน
ครึ่งปฏิกิริยารีดักชัน
Fe2+(aq) → Fe3+(aq)
Cr2O7
2- (aq) → Cr3+(aq)
3. ดุลอะตอมของธาตุและประจุไฟฟ้าในแต่ละครึ่งปฏิกิริยา ถ้าธาตุที่เป็นตัวออกซิไดส์หรือตัว
รีดิวซ์ยังไม่ดุล ให้ดุลอะตอมธาตุเหล่านี้ก่อน อะตอม O และ H ให้ดุล ทีหลัง
ครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชัน
ครึ่งปฏิกิริยารีดักชัน
Fe2+(aq) → Fe3+(aq)
Cr2O7
2- (aq) → Cr3+(aq)
ครึ่งปฏิกิริยานี้ไม่มี O และ H จึงไม่ต้องดุล
ดุลประจุโดยการเติม e- ทางขวาของสมการ Fe2+(aq) → Fe3+(aq) + e-
ครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชันดุลแล้ว
3. ดุลอะตอมของธาตุและประจุไฟฟ้าในแต่ละครึ่งปฏิกิริยา ถ้าธาตุที่เป็นตัวออกซิไดส์หรือตัว
รีดิวซ์ยังไม่ดุล ให้ดุลอะตอมธาตุเหล่านี้ก่อน อะตอม O และ H ให้ดุล ทีหลัง
ครึ่งปฏิกิริยารีดักชัน Cr2O7
2- (aq) → Cr3+(aq)
ดุล O โดยการเติม H2O 7 โมล ทางขวาของสมการ
ดุลประจุโดยการเติม e- 6 โมล ทางซ้ายของสมการ
Cr2O7
2- (aq) → 2Cr3+(aq) + 7H2O
ดุล H โดยการเติม H+ 14 โมล ทางซ้ายสมการ
Cr2O7
2- (aq) + 14H+ → 2Cr3+(aq) + 7H2O
ตัวออกซิไดส์ยังไม่ดุล เติม 2 หน้า Cr3+ Cr2O7
2- (aq) → 2Cr3+(aq)
Cr2O7
2- (aq) + 14H+ + 6e- → 2Cr3+(aq) + 7H2Oครึ่งปฏิกิริยารีดักชันดุลแล้ว
4. คูณด้วยตัวเลขที่เหมาะสมในแต่ละครึ่งปฏิกิริยาเพื่อทาให้จานวน e- ที่ให้และรับมีจานวนเท่ากัน
Fe2+(aq) → Fe3+(aq) + e-
ครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชันดุลแล้ว
Cr2O7
2- (aq) + 14H+ + 6e- → 2Cr3+(aq) + 7H2O
ครึ่งปฏิกิริยารีดักชันดุลแล้ว
X 6
6 { }
รวม 2 ครึ่งปฏิกิริยาเข้าด้วยกัน
6 Fe2+(aq) + Cr2O7
2- (aq) + 14H+ + 6e- → 6Fe3+(aq) + 2Cr3+(aq) + 7H2O + 6e-6Fe2+(aq) + Cr2O7
2- (aq) + 14H+ → 6Fe3+(aq) + 2Cr3+(aq) + 7H2O
→ ปฏิกิริยารีดอกซ์ที่ดุลแล้ว
ตัวอย่าง 2. จงดุลสมการของปฏิกิริยาต่อไปนี้ในสารละลายเบส
HS- + NO3
- → S + NO2
-
1. เขียนสมการไอออนิกแสดงการเกิดปฏิกิริยาที่ยังไม่ดุล
HS- + NO3
- → S + NO2
-
2. แยกสมการออกเป็น 2 ครึ่งปฏิกิริยา ครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชัน และครึ่งปฏิกิริยารีดักชัน
ครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชัน
ครึ่งปฏิกิริยารีดักชัน
HS- → S
NO3
- → NO2
-
3. ดุลอะตอมของธาตุและประจุไฟฟ้าในแต่ละครึ่งปฏิกิริยา ถ้าธาตุที่เป็นตัวออกซิไดส์หรือตัว
รีดิวซ์ยังไม่ดุล ให้ดุลอะตอมธาตุเหล่านี้ก่อน อะตอม O และ H ให้ดุลทีหลัง
ครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชัน
ครึ่งปฏิกิริยารีดักชัน
ดุลประจุโดยการเติม e- 2 โมลทาง
ขวาของสมการ
ครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชันดุลแล้ว
HS- → S
HS- → H+ + S + 2e-
NO3
- → NO2
-
HS- → H+ + Sดุล H โดยการเติม H+ 1 โมล ทางขวาสมการ
3. ดุลอะตอมของธาตุและประจุไฟฟ้าในแต่ละครึ่งปฏิกิริยา ถ้าธาตุที่เป็นตัวออกซิไดส์หรือ
ตัวรีดิวซ์ยังไม่ดุล ให้ดุลอะตอมธาตุเหล่านี้ก่อน อะตอม O และ H ให้ดุลหลังสุด
ครึ่งปฏิกิริยารีดักชัน
ดุล O โดยการเติม H2O 1 โมล ทางขวาของสมการ
ดุลประจุโดยการเติม e- 2 โมล ทางซ้ายของสมการ
ดุล H โดยการเติม H+ 2 โมล ทางซ้ายสมการ
ครึ่งปฏิกิริยารีดักชันดุลแล้ว
NO3
- → NO2
-
NO3
- → NO2
- + H2O
NO3
- + 2H+ → NO2
- + H2O
NO3
- + 2H+ + 2e- → NO2
- + H2O
4. คูณด้วยตัวเลขที่เหมาะสมในแต่ละครึ่งปฏิกิริยาเพื่อทาให้จานวน e- ที่ให้และรับมีจานวนเท่ากัน
ครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชันดุลแล้ว
ครึ่งปฏิกิริยารีดักชันดุลแล้ว
รวม 2 ครึ่งปฏิกิริยาเข้าด้วยกัน
HS- → H+ + S + 2e-
NO3
- + 2H+ + 2e- → NO2
- + H2O
HS- + NO3
- + 2H+ + 2e- → NO2
- + H2O + H+ + S + 2e-
HS- + NO3
- + H+ → NO2
- + H2O + S
5. เติม OH- ทั้ง 2 ด้านของสมการ เพื่อกาจัด H+ ให้เปลี่ยนเป็นน้า H2O ( ปฏิกิริยาเกิดในเบส)
HS- + NO3
- + H+ + OH- → NO2
- + H2O + S + OH-
มี 1 H+ เติม OH- 1 โมลทั้ง 2 ด้านของสมการ เพื่อรวมกับ H+ เกิดเป็น H2O
HS- + NO3
- + H2O → NO2
- + H2O + S + OH-
HS- + NO3
- → NO2
- + S + OH-
HS- + NO3
- + H+ → NO2
- + H2O + S
ปฏิกิริยารีดอกซ์ที่ดุลแล้ว
Exc.I จงดุลสมการต่อไปนี้โดยวิธีครึ่งปฏิกิริยา
1. MnO2(s) + Al(s) → Mn(s) + Al2O3(s) ในสารละลายกรด
2. MnO4
-(aq) + SO3
2-(aq) + H2O(l) → MnO2(s) + SO4
2-(aq) + OH-(aq)ในเบส
3. Se + OH- → Se2- + SeO3
2- + H2O ในเบส
การดุลสมการโดยใช้เลขออกซิเดชัน
Balancing Redox Equations by The Oxidation Number Change Method
1. หาเลขออกซิเดชันที่เปลี่ยนไปของตัวออกซิไดส์และตัวรีดิวซ์
2. ดุลจานวนอะตอมของธาตุที่เปลี่ยนเลขออกซิเดชันก่อน
3. ทาจานวนเลขออกซิเดชันที่เพิ่มและลดให้เท่ากันโดยคูณด้วยตัวเลขที่
เหมาะสมทั้ง 2 ข้างของสมการ
4. ถ้ามีประจุไม่เท่ากัน ให้เติม H+(ในกรด) หรือ OH-(ในเบส)
5. ดุลอะตอมของธาตุอื่นๆให้เท่ากัน (O และ H ดุลเป็นลาดับสุดท้าย)
จงดุลสมการโดยใช้เลขออกซิเดชัน
Zn + HCl → ZnCl2 + H2
Zn + HCl → ZnCl2 + H2
0 +1 +2 0
2
ลด 1 x 2 = 2
เพิ่ม 2
ดุลจานวนอะตอมของ Cl เติม 2 ด้านซ้าย
เลขออกซิเดชันที่เพิ่มและลดเท่ากันแล้ว และสมการดุลแล้ว
จงดุลสมการโดยใช้เลขออกซิเดชัน
MnO2(s) + Al(s) → Mn(s) + Al2O3(s)
MnO2(s) + Al(s) → Mn(s) + Al2O3(s)
0+4 +30
2
ลด 4
เพิ่ม 3x2 = 6ดุลจานวนอะตอมของ Al เติม 2 ด้านซ้าย
ทาจานวน เลขออกซิเดชันที่เพิ่มและลดให้เท่ากัน ลด 4 , เพิ่ม 6 ค.ร.น. = 12
X 3 = 12
X 2 = 12
3 32x 2
1. N2O + H2 → H2O + NH3
2. HClO4 + ClO2 + H2O → HClO3
3. NO2 + H2O → HNO3 + NO
Exc.II จงดุลสมการต่อไปนี้โดยใช้เลขออกซิเดชัน

More Related Content

What's hot

บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์oraneehussem
 
เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกkkrunuch
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซกPreeyapat Lengrabam
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibriumกรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion EquilibriumDr.Woravith Chansuvarn
 
บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีWichai Likitponrak
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหารวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหารKatewaree Yosyingyong
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีพัน พัน
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202พัน พัน
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีืkanya pinyo
 
ใบความรู้ เรื่อง แอลเคน
ใบความรู้ เรื่อง แอลเคนใบความรู้ เรื่อง แอลเคน
ใบความรู้ เรื่อง แอลเคนkkrunuch
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมีcrazygno
 
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223Preeyapat Lengrabam
 
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)Dr.Woravith Chansuvarn
 

What's hot (20)

บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
 
เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิก
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibriumกรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
 
บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมี
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหารวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
 
แก๊ส
แก๊ส แก๊ส
แก๊ส
 
Acid and base
Acid and baseAcid and base
Acid and base
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ใบความรู้ เรื่อง แอลเคน
ใบความรู้ เรื่อง แอลเคนใบความรู้ เรื่อง แอลเคน
ใบความรู้ เรื่อง แอลเคน
 
โมล ม.4
โมล ม.4โมล ม.4
โมล ม.4
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมี
 
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
 
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 

Similar to Echem 2 redox balance (20)

Electrochemistry01
Electrochemistry01Electrochemistry01
Electrochemistry01
 
09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า
 
09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า
 
09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า
 
Electrochemistry01
Electrochemistry01Electrochemistry01
Electrochemistry01
 
Acid base
Acid baseAcid base
Acid base
 
Acid base
Acid baseAcid base
Acid base
 
Chem electrochemistry
Chem electrochemistryChem electrochemistry
Chem electrochemistry
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
สื่อการสอน Chemical equilibrium
สื่อการสอน Chemical equilibriumสื่อการสอน Chemical equilibrium
สื่อการสอน Chemical equilibrium
 
Ec electrochem-text
Ec electrochem-textEc electrochem-text
Ec electrochem-text
 
Ec electrochem-text
Ec electrochem-textEc electrochem-text
Ec electrochem-text
 
Bk
BkBk
Bk
 
Bk
BkBk
Bk
 
Bk
BkBk
Bk
 
Bk
BkBk
Bk
 
Bk
BkBk
Bk
 
Bk
BkBk
Bk
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
 
บทที่ 7 สมดุลเคมี
บทที่ 7 สมดุลเคมีบทที่ 7 สมดุลเคมี
บทที่ 7 สมดุลเคมี
 

More from Saipanya school

Atomic model ruth & bohr
Atomic model ruth & bohrAtomic model ruth & bohr
Atomic model ruth & bohrSaipanya school
 
Titration curve & buffer solution
Titration curve & buffer solutionTitration curve & buffer solution
Titration curve & buffer solutionSaipanya school
 
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาการคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาSaipanya school
 
พันธะโลหะ
พันธะโลหะพันธะโลหะ
พันธะโลหะSaipanya school
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent BondSaipanya school
 
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด A
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด Aสุ่มนักเรียนนำเสนอชุด A
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด ASaipanya school
 
4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลายSaipanya school
 

More from Saipanya school (20)

Atomic model ruth & bohr
Atomic model ruth & bohrAtomic model ruth & bohr
Atomic model ruth & bohr
 
Chem equation
Chem equation  Chem equation
Chem equation
 
Echem 1 redox
Echem 1 redoxEchem 1 redox
Echem 1 redox
 
Titration curve & buffer solution
Titration curve & buffer solutionTitration curve & buffer solution
Titration curve & buffer solution
 
Concentration ..2018
Concentration ..2018Concentration ..2018
Concentration ..2018
 
Concentration 2018
Concentration 2018Concentration 2018
Concentration 2018
 
4 chem formular
4 chem formular4 chem formular
4 chem formular
 
Empirical exc. sp
Empirical exc. spEmpirical exc. sp
Empirical exc. sp
 
3 the mole 2018
3 the  mole 20183 the  mole 2018
3 the mole 2018
 
Stoichem 002
Stoichem 002 Stoichem 002
Stoichem 002
 
Stoichem 001
Stoichem 001Stoichem 001
Stoichem 001
 
Mole review
Mole review Mole review
Mole review
 
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาการคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
 
พันธะโลหะ
พันธะโลหะพันธะโลหะ
พันธะโลหะ
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
 
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด A
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด Aสุ่มนักเรียนนำเสนอชุด A
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด A
 
เฉลย โมล
เฉลย โมลเฉลย โมล
เฉลย โมล
 
ว 30222 ม.5
ว 30222 ม.5ว 30222 ม.5
ว 30222 ม.5
 
4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย
 
1 atomic weight
1 atomic weight1 atomic weight
1 atomic weight
 

Echem 2 redox balance