SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
จินตวีร์ คล้ายสังข์. (2554). อีเลิร์นนิงเว็บไซต์ & คอร์สแวร์ :ปในนุบในแลศทิะทจงในอนจคต (E-Learning Website &
Courseware: Current and Future Trends). เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ (Proceeding) ด้านอีเลิร์นนิง :
Open Learning - Open the World จัดโดยโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย สานักงานคณะกรรม การการอุดมศึกษา ระหว่าง
วันที่ 9-10 สิงหาคม 2554
อีเลิร์นนิงเว็บไซต์ & คอร์สแวร์: ปในนุบในแลศทิะทจงในอนจคต
E-Learning Website & Courseware: Current and Future Trends
จินตวีร์ คล้ายสังข์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย
jinkhlaisang@gmail.com
ABSTRACT
This article addresses current and future trends
of e-learning website and courseware. The
current information presenting in this article
are based on the research study titled
“Proposed models of appropriate website and
courseware for e-learning in higher education”
conducted by the author of the article in 2010.
Findings indicated that there were 16
components for website, as well as 16
components for courseware to be included in
the models. Such components for both website
and courseware models can be classified into 3
categories including: Multimedia Design,
Content Design, and Website/Courseware
Interface Design. While the future trend of e-
learning website and courseware will also be
addressed including the trend of web 3.0,
streaming courseware, and rapid e-learning
courseware.
Keywords: E-Learning, Website Design,
Courseware Design
บทคใดย่อ
บทความเรื่อง อีเลิร์นนิงเว็บไซต์ & คอร์สแวร์: ปัจจุบัน
และทิศทางในอนาคต จะนาเสนอความนิยมในปัจจุบัน
ของการออกแบบเว็บไซต์และคอร์สแวร์สาหรับการเรียน
อีเลิร์นนิง โดยจะอ้างอิงถึงงานวิจัยเรื่องรูปแบบเว็บไซต์
และรูปแบบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ที่เหมาะสมสาหรับ
การเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิงในระดับอุดมศึกษาโดย
ผู้เขียนได้ดาเนินงานวิจัยดังกล่าวในปี 2553ผลการวิจัย
สรุปได้ว่าสามารถสรุปรูปแบบเว็บไซต์ฯ และรูปแบบ
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ฯ ใน 16 ประเด็น โดยแบ่งกลุ่ม
เป็น 3 ด้านหลักคือ ด้านการออกแบบมัลติมีเดีย ด้านการ
ออกแบบเนื้อหา และด้านการออกแบบส่วนต่อประสาน
สาหรับเว็บไซต์/คอร์สแวร์ นอกจากนี้บทความจะกล่าวถึง
ทิศทางในอนาคตของการออกแบบเว็บไซต์และคอร์สแวร์
สาหรับการเรียนอีเลิร์นนิง ได้แก่เรื่องเว็บ 3.0 บทเรียน
อิเล็กทรอนิกส์แบบสตรีมมิ่ง และบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์
แบบแรพิดอีเลิร์นนิง
คจสจคใญ: อีเลิร์นนิง, การออกแบบอีเลิร์นนิงเว็บไซต์,
การออกแบบอีเลิร์นนิงคอร์สแวร์
1) บทนจ
การเรียนอีเลิร์นนิงได้แพร่กระจายสู่การเรียนการ
สอนระดับอุดมศึกษาด้วยสาเหตุของคุณประโยชน์ที่โดดเด่น
ไม่ว่าจะเป็นการเข้าถึงเนื้อหาได้สะดวก ทุกที่ทุกเวลา การเข้า
ร่วมกิจกรรมอย่างไร้ข้อจากัดของเวลา การเรียนอีเลิร์นนิง ยัง
นับว่าเป็นการจัดสภาพแวดล้อมของการเรียนรู้แบบผู้เรียน
เป็นศูนย์กลาง (Learner-Centered) อีกทั้งยังสนับสนุนให้
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Life Long Learning) ซึ่ง
สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษาได้เป็นอย่างดี
องค์ประกอบที่สาคัญที่จะทาให้การเรียนอีเลิร์นนิงประสบ
ผลสาเร็จนั้น ได้แก่ (1) เว็บไซต์ (2) คอร์สแวร์ (3) การ
ติดต่อสื่อสาร และ (4) การประเมินผลการเรียน ซึ่งเมื่อนา
องค์ประกอบทั้งสี่มาประกอบเข้าด้วยกันแล้ว ระบบจะ
ทางานประสานกันได้อย่างลงตัว (Bonk and Graham, 2006;
Wilson and Smilanich, 2005; Waterhouse, 2005; Western
Cooperative for Educational Telecommunications: WCET
(2009); Sloan Consortium Foundation, 2005; จินตวีร์
มั่นสกุล, 2551; จินตวีร์ คล้ายสังข์และประกอบ กรณีกิจ,
2552) โดยอีเลิร์นนิงเว็บไซต์นั้น อาจอยู่ในรูปแบบของ
ระบบบริหารจัดการการเรียนรู้ (LMS: Learning
Management System) หรือระบบบริหารจัดการเนื้อหา
(Content Management System) ซึ่งจะทาหน้าที่เป็น
ศูนย์กลางการจัดการเนื้อหา กิจกรรมการเรียนการสอน
ตลอดจนการวัดและประเมินผลต่างๆ และสนับสนุนการ
จัดการเรียนรู้ ซึ่งใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตเป็นสื่อกลาง
ในการจัดปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนและผู้เรียน ผู้เรียน
กับผู้เรียน และผู้เรียนกับแหล่งข้อมูล ทั้งนี้จะช่วยให้
ผู้เรียนและผู้สอนสามารถเข้าถึงเนื้อหาและใช้งานได้ง่าย
โดยมีเครื่องมือทางด้านการจัดการ การปรับปรุง การ
ควบคุม การสารองข้อมูล การสนับสนุนข้อมูล การ
บันทึกสถิติผู้เรียน และการประเมินผล ตลอดจนการ
ตรวจให้คะแนนผู้เรียน โดยในปัจจุบันระบบฯ จะแบ่งได้
เป็น 2 ลักษณะ ได้แก่ ระบบจัดการการเรียนรู้ที่อยู่ใน
รูปแบบเชิงพาณิชย์ (Proprietary Software) เช่น ระบบ
บริหารจัดการเรียนรู้ Blackboard , WebCT และ
Education Sphere และระบบจัดการการเรียนรู้ที่อยู่ใน
รูปแบบฟรีซอฟต์แวร์ (Free Software) หรือโอเพน
ซอร์ส (Open Source) เช่น ATutor และ Moodle เป็น
ต้น ในขณะที่อีเลิร์ นนิ งคอร์ สแวร์ (e-learning
courseware) หรือบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์นั้น เป็นเนื้อหา
สาระที่นาเสนอในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งส่วนใหญ่มี
ลักษณะเป็นสื่อประสม โดยเน้นการออกแบบที่ใช้วิธีการ
กลยุทธ์ และการให้ข้อมูลป้ อนกลับแก่ผู้เรียนโดยทันทีใน
การนาเสนอ ที่กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตาม
วัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ซึ่งผู้เรียนสามารถเข้าถึงเนื้อหา
ได้ตามความต้องการ ตลอดจนอาจมีแบบฝึกหัดหรือ
แบบทดสอบเพื่อให้ผู้เรียนสามารถตรวจสอบความเข้าใจ
ได้ (จินตวีร์ คล้ายสังข์ และประกอบ กรณีกิจ, 2552;
ใจทิพย์ ณ สงขลา, 2550; ถนอมพร เลาหจรัสแสง,
2548; Davidson & Rasmussen, 2006; Monsakul,
2007; Monsakul, 2008; Nichani, 2001; Rosenberg,
2001) ดังจะเห็นได้ว่าทั้งอีเลิร์นนิงเว็บไซต์และคอร์สแวร์
นั้น เป็นสื่อกลางที่สาคัญที่ใช้สาหรับการถ่ายทอดความรู้
ไปยังผู้เรียนตามกระบวนการเรียนรู้ มีบทบาทอย่างสูงต่อ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หากอีเลิร์นนิงเว็บไซต์และคอร์ส
แวร์ที่ใช้ในการเรียนรู้มีคุณภาพย่อมส่งผลทางบวกที่เอื้อต่อ
การติดต่อสื่อสารและการประเมินผลการเรียน ที่มี
ประสิทธิภาพ และประสิทธิผลทางกาเรียนที่สูงขึ้นของ
ผู้เรียนอีกด้วย ในทางกลับกัน ถ้าการออกแบบอีเลิร์นนิง
เว็บไซต์และคอร์สแวร์ไม่น่าสนใจ ขาดองค์ประกอบที่สาคัญ
ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ย่อมส่งผลทางลบต่อการติดต่อสื่อสารและ
การประเมินผลการเรียนที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ทางกาเรียนของผู้เรียนด้วยเช่นกัน
ตามที่โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย
สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้พัฒนาหลักสูตร
ผู้เชี่ยวชาญ อีเลิร์นนิง (E-Learning Professional) โดยมี
วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาบุคลากรด้านการจัดการการเรียนการ
สอนทางไกล เมื่อปี พ.ศ. 2548 และเปิดดาเนินการเรียนการ
สอนทางไกลผ่านระบบ LMS ร่วมกับคณาจารย์จาก
มหาวิทยาลัยต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550
เป็ นต้นมา การจัดการเรียนการสอนหลักสูตรดังกล่าว
คณาจารย์ผู้สอนได้มีการจัดการเรียนการสอนจาก
ประสบการณ์ของแต่ละท่าน ตลอดจนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ระหว่างกันและนามาปรับใช้กันเองตามศักยภาพที่มี และ
โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย สานักงานคณะกรรมการ
การอุดมศึกษา เล็งเห็นความจาเป็นที่จะต้องดาเนินการวิจัย
เพื่อหารูปแบบการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล
ตลอดจนเทคโนโลยีที่เหมาะสม ทั้งในด้านรูปแบบเว็บไซต์
รูปแบบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อการนาส่งเนื้อหาสาหรับ
การเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์ในระดับอุดมศึกษาที่มี
ประสิทธิภาพต่อไป ซึ่งผลลัพธ์จากการวิจัยจะได้นามาพัฒนา
ต่อยอดองค์ความรู้ที่มีอยู่เดิม และเผยแพร่สู่การปฏิบัติในการ
จัดการเรียนการสอนทางไกลทั้งในหลักสูตรที่กาลังเปิดสอน
ดังกล่าวและเป็นการแบ่งปันความรู้ร่วมกัน เพื่อให้สถาบัน
ทางการศึกษาต่างๆ ทั้งในระดับอุดมศึกษา การศึกษาภาค
บังคับ ตลอดจนหน่วยงานจัดการฝึกอบรมต่างๆ ที่มีนโยบาย
หรือมีความสนใจในการจัดการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิง
สามารถนาไปใช้และปรับใช้เป็นแนวทางในการออกแบบ
และพัฒนาเว็บไซต์และรูปแบบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ที่
เหมาะสมสาหรับการเรียนผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ต่อไป
2) ที่มจของรูปแบบ
รูปแบบฯ ที่นาเสนอนี้เป็นผลมาจากงานวิจัย
เรื่อง รูปแบบเว็บไซต์และรูปแบบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์
ที่เหมาะสมสาหรับการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิงใน
ระดับอุดมศึกษา โดยมีวิธีการดาเนินการวิจัยทั้งหมด 10
ขั้นตอนดังนี้ (1) ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับรูปแบบเว็บไซต์และรูปแบบบทเรี ยน
อิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งผลต่อการเรียนการสอนแบบ
อีเลิร์นนิงในระดับอุดมศึกษาช่วงปี พ.ศ. 2538-2552 (2)
ศึกษาผลจากแบบสอบถามรูปแบบเว็บไซต์ที่เหมาะสม
สาหรับการเรี ยนการสอนแบบอีเลิร์นนิ งใน
ระดับอุดมศึกษา และแบบสอบถามรูปแบบบทเรียน
อิเล็กทรอนิกส์ที่เหมาะสมสาหรับการเรียนการสอนแบบ
อีเลิร์นนิงในระดับอุดมศึกษา ไปให้ประชากรที่เป็นกลุ่ม
ตัวอย่างเป็ นผู้ตอบแบบสอบถาม (3) สัมภาษณ์
ผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับรูปแบบเว็บไซต์และรูปแบบบทเรียน
อิเล็กทรอนิกส์ที่เหมาะสมฯ เพื่อขอรับข้อคิดเห็นเพิ่มเติม
(4) ร่างรูปแบบเว็บไซต์และรูปแบบบทเรียน
อิเล็กทรอนิกส์ที่เหมาะสมสาหรับการเรียนการสอนแบบ
อีเลิร์นนิงในระดับอุดมศึกษา (5) นารูปแบบเว็บไซต์และ
รูปแบบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ที่เหมาะสมสาหรับการ
เรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิงในระดับอุดมศึกษา เสนอให้
ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบรูปแบบ (6) ปรับปรุงแก้ไขร่าง
รูปแบบฯ ตามคาแนะนาของผู้ทรงคุณวุฒิ จากนั้นนาร่าง
รูปแบบดังกล่าวที่ได้ปรับแก้แล้วไปพัฒนาร่างต้นแบบ
สาหรับทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่างต่อไป (7) ทดลองใช้
กับกลุ่มตัวอย่าง และปรับปรุงแก้ไข (8) นารูปแบบ
เว็บไซต์และรูปแบบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ที่เหมาะสม
สาหรับการเรี ยนการสอนแบบอีเลิร์นนิ งใน
ระดับอุดมศึกษาที่ได้ปรับปรุงแก้ไขตามคาแนะนาของ
ผู้ทรงคุณวุฒิและผลจากการทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่าง
แล้วเสนอให้ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบอีกครั้งเพื่อรับรอง
รูปแบบเว็บไซต์และรูปแบบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ที่
เหมาะสมสาหรับการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิงใน
ระดับอุดมศึกษา (9) ปรับปรุงแก้ไขรูปแบบเว็บไซต์และ
รูปแบบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ที่เหมาะสมสาหรับการ
เรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิงในระดับอุดมศึกษาตาม
คาแนะนาจากผู้ทรงคุณวุฒิ และ (10) นาเสนอรูปแบบ
เว็บไซต์และรูปแบบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ที่เหมาะสม
สาหรับการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิงในระดับอุดมศึกษา
ที่ผู้ทรงคุณวุฒิได้ตรวจสอบเพื่อรับรองรูปแบบแล้วมาจัดทา
เป็นรูปเล่มเพื่อนาเสนอต่อสานักงานคณะกรรมการการ
อุดมศึกษา และเพื่อเผยแพร่ต่อไป
3) นจเสนอรูปแบบฯ
บทความนี้ขอเสนอรูปแบบเว็บไซต์ฯ และรูปแบบ
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ฯใน 16 ประเด็น โดยแบ่งกลุ่มเป็น 3
ด้านหลักคือ ด้านการออกแบบมัลติมีเดีย ด้านการออกแบบ
เนื้อหา และด้านการออกแบบส่วนต่อประสานสาหรับ
เว็บไซต์/คอร์สแวร์ เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติสาหรับหน่วยงาน
หรือองค์กรที่มีความสนใจจะดาเนินการจัดการเรียนการสอน
แบบอีเลิร์นนิงต่อไป โดยมีรายละเอียดดังนี้
3.1) รูปแบบเว็บไซต์ที่เหมจศสมสจหรใบกจรเรียนกจรสอน
แบบอีเลิร์นนิงในรศดใบอุดมะึกษจ
รูปแบบเว็บไซต์ฯ สามารถสรุปได้เป็น 16 ประเด็น
เพื่อพิจารณาในการออกแบบ โดยเป็นการเรียงลาดับตาม
ขั้นตอนการออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ ซึ่งเหมาะสม
สาหรับนักพัฒนาเว็บไซต์ที่จะนาไปใช้ ได้แก่ (1) มใลติมีเดีย
ด้จนพื้นหลใง ลักษณะของพื้นหลังที่เหมาะสม คือ พื้นหลังสี
อ่อนและตัวอักษรสีเข้ม โดยพื้นหลังที่ดึงดูดใจและส่งเสริม
การเรียนรู้ของผู้เรียน คือ สีโทนเย็น ประกอบด้วย พื้นหลังสี
อ่อน(โทนขาว ครีม) และตัวอักษรสีเข้ม(โทนฟ้า น้าเงิน)ใน
ส่วนเนื้อหา พื้นสีขาว ตัวอักษรสีดาปกติ มีความเหมาะสมกับ
บริบทการศึกษาที่สุด (2) ข้อสรุปข้อมูลมใลติมีเดียด้จน
ตใวอใกษร ลักษณะของตัวอักษรที่เหมาะสม คือ ชนิดและ
ขนาดมีความชัดเจนและอ่านง่าย และ สีของตัวอักษรเด่นชัด
สบายตา โดยตัวอักษรที่ดึงดูดใจ/ส่งเสริมการเรียนรู้ของ
ผู้เรียน คือ ตัวอักษรหัวกลมแบบ San-Serif ขนาด 10-20
พอยท์ (ขึ้นอยู่กับตาแหน่งเนื้อหา) อีกทั้งตัวอักษรที่ใช้ควร
เลือกชนิดที่มีรูปแบบตัวอักษรภาษาไทย และรูปแบบ
ตัวอักษรภาษาอังกฤษ ไม่แตกต่างกันมาก เช่น Tahoma และ
Verdana จึงจะเหมาะสมกับบริบทการศึกษาไทยที่สุด (3)
ข้อสรุปข้อมูลมใลติมีเดียด้จนกจรออกแบบนุดเชื่อมโยง โดย
องค์ประกอบของจุดเชื่อมโยง อย่างน้อยควรมีการระบุชื่อ
เรื่องที่ชัดเจน มีจุดเชื่อมโยงภายในเว็บไซต์ และลิงค์ไป
ยังหน้าหลัก (4) ข้อสรุปข้อมูลมใลติมีเดียด้จนกจร
ออกแบบเนื้อหจ โดยองค์ประกอบของเนื้อหาอย่างน้อย
ควรมี ภาพและวัตถุประกอบการบรรยาย หรือ
ภาพเคลื่อนไหว(ภาพเหตุการณ์สั้นๆ) และลักษณะการ
นาเสนอเนื้อหา คือ เนื้อหากระชับ สั้นและทันสมัย และ
แบ่งเนื้อหาออกเป็นส่วนๆ หรือจัดกลุ่มเป็นหมวดหมู่ (5)
ข้อสรุปข้อมูลด้จนลใกษณศเนื้อหจที่ดึงดูดควจมสนในแลศ
ส่งเสริมกจรเรียนรู้ ได้แก่ เนื้อหากระชับ สั้น และทันสมัย
และ แบ่งเนื้อหาออกเป็ นส่วนๆ หรือจัดกลุ่มเป็ น
หมวดหมู่ (6) ข้อสรุปข้อมูลมใลติมีเดียด้จนภจพปรศกอบ
โดยลักษณะของภาพประกอบควรสื่อความหมายกับผู้
ใช้ได้ตรงกับวัตถุประสงค์ และมีความเกี่ยวข้องหรือมี
ความสัมพันธ์กับเนื้อหา ส่วนภาพประกอบที่ดึงดูดความ
สนใจ/ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน คือ ภาพเคลื่อนไหว
(7) ข้อสรุปข้อมูลเกี่ยวกใบควจมน่จเชื่อถือ ควร
ประกอบด้วย การระบุชื่อผู้จัดทาและอีเมล์ที่จะติดต่อได้
ระบุวันที่จัดทา/แก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อมูล และระบุผลงาน
ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ (8) ข้อสรุปข้อมูลเกี่ยวกใบคุณภจพเนื้อหจ
ได้แก่ การนาเสนอข้อมูลตามความเป็นจริง ไม่มีอคติ
นาเสนอข้อมูลครบถ้วนสมบูรณ์ และระบุแหล่งที่มาของ
ข้อมูล (9) ข้อสรุปข้อมูลเกี่ยวกใบกจรออกแบบรศบบนจ
ทจงนั้น อย่างน้อยควรมีแผงผังเว็บไซต์เพื่อแสดง
ภาพรวมของบทเรียน มีทางเลือกให้ผู้ใช้เข้าสืบค้นข้อมูล
และมีการเชื่อมโยงกลับไปยังหน้าหลัก อีกทั้งควรมีการ
บอกตาแหน่งว่าผู้เรียนอยู่ส่วนไหนของเว็บไซต์ด้วย
(10) ข้อสรุปข้อมูลมใลติมีเดียด้จนเสียง ได้แก่ เสียงควรมี
ลักษณะชัดเจน มีการใช้เสียงสูงและต่าและตัวควบกล้าที่
ดี ผู้ใช้สามารถเลือกหยุดและเปิดฟังได้ตลอดเวลา โดย
เสียงที่ดึงดูดความสนใจ/ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน
คือ เสียงที่ผู้ใช้สามารถเลือกหยุดและเปิ ดฟังเสียง
แบคกราวน์ได้ตลอดเวลา (11) ข้อสรุปข้อมูลมใลติมีเดีย
ด้จนวีดิทใะน์ กล่าวว่า ลักษณะของวีดิทัศน์ควรใช้เป็น
ส่วนเสริมข้อความและภาพมากกว่าการใช้เป็นส่วนหลัก
ของเนื้อหาในเว็บไซต์ และผู้ใช้สามารถเลือกหยุดและ
เปิดดูได้ตลอดเวลา โดยวีดิทัศน์ที่ดึงดูดความสนใจและ
ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน คือ วิดีโอคลิปที่สามารถ
ดาวน์โหลดได้ แสดงอยู่บนหน้าจอบเว็บ(ขนาดหน้าจอไม่
มากกว่า 320x265 pixel) และสามารถลิงค์ไปยังหน้าจอเว็บ
ใหม่ที่มีขนาดใหญ่ (full screen) ส่วนเนื้อหาในวีดิทัศน์ที่
ดึงดูดความสนใจและส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน คือ การ
อัพเดตนวัตกรรมใหม่ที่เกี่ยวข้องกับโครงการฯ/หน่วยงานฯ
(12) ข้อสรุปข้อมูลเกี่ยวกใบเครื่องมือสนใบสนุนกจรสร้จงเว็บ
2.0 ได้แก่ เครื่องมือสนับสนุนการทางานบนเว็บ (Web
application tools) เช่น Blog และ RSS Feed เครื่องมือสาหรับ
ติดต่อสื่อสาร (Communication tools) เช่น Chat, Instant
Message, Desktop Video conference และ Podcast เครื่องมือ
ส่งเสริมการเป็นชุมชนออนไลน์ (Community tools) เช่น
Webboard, Wiki และ Social Networking ต่างๆ และ
เครื่องมือที่ช่วยในการแบ่งปันข้อมูลต่างๆ (File sharing
tools) เช่น Photo sharing, Video sharing, Music Sharing
และ Document sharing เป็นต้น โดยเครื่องมือสนับสนุนการ
สร้างเว็บ 2.0 ที่ดึงดูดความสนใจ/ส่งเสริมการเรียนรู้ของ
ผู้เรียน คือ Blog, Chat/Instant Message และ Wiki (13)
ข้อสรุปข้อมูลเกี่ยวกใบข้อมูลด้จนปรศสิทธิภจพของนุด
เชื่อมโยง ได้แก่ การเข้าถึงสารสนเทศที่ต้องการได้อย่าง
รวดเร็ว และควบคุมการใช้งานได้อย่างง่ายและสะดวกที่สุด
(14) ข้อสรุปข้อมูลเกี่ยวกใบข้อมูลด้จนกจรเข้จถึงข้อมูลนั้น
ควรที่จะใช้งานง่ายและโต้ตอบกับผู้เรียนได้ทันที โดยการ
เข้าถึงข้อมูลที่ดึงดูดความสนใจ/ส่งเสริมการเรียนรู้ของ
ผู้เรียน คือ ใช้งานง่าย และ โต้ตอบกับผู้เรียนได้ทันที (15)
ข้อสรุปข้อมูลเกี่ยวกใบกจรทดสอบกจรใช้งจน ได้แก่ การ
ทดสอบการออกแบบ การเชื่อมโยง (Links) เนื้อหา (Content)
และการเข้าถึงข้อมูล โดยการทดสอบการใช้งานที่ดึงดูด
ความสนใจและส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน คือ ใช้งานง่าย
และโต้ตอบกับผู้เรียนได้ทันที (16) ข้อสรุปข้อมูลเกี่ยวกใบ
คุณภจพในกจรออกแบบที่ดึงดูดควจมสนในแลศส่งเสริมกจร
เรียนรู้ของผู้เรียน ได้แก่ การให้ความสาคัญกับการเข้าถึง
ข้อมูลเป็นอันดับหนึ่ง
รูปที่ 1: รูปแบบอีเลิร์นนิงเว็บไซต์
รูปที่ 2: ร่างต้นแบบเว็บไซต์(หลักสูตร) ที่สร้าง
ด้วยโปรแกรม Open Source Joomla! CMS
รูปที่ 3: ร่างต้นแบบเว็บไซต์รายวิชาที่สร้าง
ด้วยโปรแกรม Open Source Moodle LMS
ทั้งนี้ การสรุปรูปแบบเว็บไซต์ใน 16 ประเด็นที่
กล่าวมานั้น เป็นการเรียงลาดับตามขั้นตอนการออกแบบและ
พัฒนาเว็บไซต์ ซึ่งเหมาะสมสาหรับนักพัฒนาเว็บไซต์ที่จะ
นาไปใช้ สาหรับบุคคลอื่นที่สนใจจะนาข้อสรุปของ
ผลการวิจัยไปใช้นั้น ผู้วิจัยได้นาทั้ง 16 ประเด็นมาสรุปเป็น 3
กลุ่มหลักเพื่อให้เข้าใจง่ายต่อการพิจารณาการออกแบบ การ
พัฒนา ตลอดจนการประเมินผลรูปแบบเว็บไซต์ฯ ที่ชัดเจน
โดยได้แบ่งกลุ่มเป็น 3 ด้านหลักๆ คือ กลุ่มที่ 1 ด้จนกจร
ออกแบบมใลติมีเดีย (Multimedia Design) ประกอบด้วย 5
ประเด็นย่อยได้แก่ มัลติมีเดียด้านพื้นหลัง มัลติมีเดียด้าน
ตัวอักษร มัลติมีเดียด้านภาพประกอบ มัลติมีเดียด้านเสียง
และมัลติมีเดียด้านวิดีทัศน์ กลุ่มที่ 2 ด้จนกจรออกแบบเนื้อหจ
(Content Design) ประกอบด้วย 5 ประเด็นย่อยได้แก่
มัลติมีเดียด้านการออกแบบเนื้อหา ด้านลักษณะเนื้อหาที่
ดึงดูดความสนใจและส่งเสริมการเรียนรู้ ความน่าเชื่อถือ และ
คุณภาพเนื้อหา กลุ่มที่ 3 ด้จนกจรออกแบบส่วนต่อปรศสจน
สจหรใบเว็บไซต์ (Website Interface Design) ประกอบด้วย
7 ประเด็นย่อยได้แก่ มัลติมีเดียด้านการออกแบบจุดเชื่อมโยง
การออกแบบระบบนาทาง เครื่องมือสนับสนุนการสร้างเว็บ
2.0 ด้านประสิทธิภาพของจุดเชื่อมโยง ด้านการเข้าถึง
ข้อมูล การทดสอบการใช้งาน และคุณภาพในการ
ออกแบบ
รูปที่ 4: ภาพรวมรูปแบบเว็บไซต์ฯ 16 ประเด็น
แบ่งเป็น 3 ด้านเพื่อการนาไปใช้
3.2) รูปแบบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ที่เหมจศสมสจหรใบ
กจรเรียนกจรสอนแบบอีเลิร์นนิงในรศดใบอุดมะึกษจ
รูปแบบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ฯ สามารถสรุป
ได้เป็น 16 ประเด็น เพื่อพิจารณาในการออกแบบ โดย
เป็นการเรียงลาดับตามขั้นตอนการออกแบบและพัฒนา
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเหมาะสมสาหรับนักพัฒนา
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ที่จะนาไปใช้ได้แก่ (1) มใลติมีเดีย
ด้จนพื้นหลใงที่เหมาะสม คือ สีโทนเย็นโดยพื้นหลังสี
อ่อนและตัวอักษรสีเข้ม และพื้นหลังที่ดึงดูดใจ/ส่งเสริม
การเรียนรู้ของผู้เรียน คือ พื้นหลังสีอ่อน(โทนขาว ครีม)
และตัวอักษรสีเข้ม(โทนฟ้า น้าเงิน)ในส่วนเนื้อหา พื้นสี
ขาว ตัวอักษรสีดาปกติจะมีความเหมาะสมกับบริบท
การศึกษาที่สุด (2) ข้อสรุปข้อมูลมใลติมีเดียด้จนตใวอใกษร
ที่เหมาะสม คือ ชนิดและขนาดมีความชัดเจนและอ่าน
ง่าย ตัวอักษรแบบ San-Serif ขนาด 10-20 พอยท์ (ขึ้นอยู่
กับตาแหน่งเนื้อหา) มีความเหมาะสมที่สุด อีกทั้ง
ตัวอักษรที่ใช้ควรเลือกชนิดที่มีรูปแบบตัวอักษร
ภาษาไทย และรูปแบบตัวอักษรภาษาอังกฤษ ไม่แตกต่าง
กันมาก เช่น Tahoma และ Verdana จึงจะเหมาะสมกับ
บริบทการศึกษาไทยที่สุด (3) ข้อสรุปข้อมูลมใลติมีเดีย
ด้จนกจรออกแบบนุดเชื่อมโยง คือ เข้าถึงสารสนเทศที่
ต้องการได้อย่างรวดเร็ว ควบคุมการใช้งานได้อย่างง่าย
และสะดวกที่สุด และผู้ใช้กาหนดเส้นทางการเรียนรู้ได้เอง
(4) ข้อสรุปข้อมูลมใลติมีเดียด้จนกจรออกแบบเนื้อหจนั้นอย่าง
น้อยควรมี ภาพและวัตถุประกอบการบรรยาย หรือ
ภาพเคลื่อนไหว(ภาพเหตุการณ์สั้นๆ) และลักษณะการ
นาเสนอเนื้อหาเพื่อกระตุ้นความสนใจและส่งเสริมการเรียนรู้
ของผู้เรียน คือ มีภาพเคลื่อนไหว (ภาพเหตุการณ์สั้นๆ) หรือ
วัตถุเคลื่อนไหว (กราฟิกประกอบการบรรยายหลักการ
สาคัญๆ) (5) ข้อสรุปข้อมูลด้จนลใกษณศกจรนจเสนอเนื้อหจ
ในคอร์สแวร์ คือ มีการแบ่งเนื้อหาเป็นหัวข้อย่อยๆ มีความ
ชัดเจนและเนื้อหาแต่ละหัวข้อย่อยจบในตัวเอง นอกจากนี้
การนาเสนอเนื้อหาที่ดึงดูดความสนใจ ได้แก่ การนาเสนอ
เนื้อหาแบบเรียงลาดับ และคอร์สแวร์มีการเก็บบันทึกการ
เรียนของผู้เรียน โดยจะบันทึกจุดที่ผู้เรียนหยุดเรียน และ
กลับมายังจุดดังกล่าวในครั้งต่อไป โดยผู้เรียนไม่ต้องเริ่ม
เรียนใหม่ตั้งแต่ต้น (6) ข้อสรุปข้อมูลเกี่ยวกใบคุณภจพเนื้อหจ
ประกอบด้วย การนาเสนอข้อมูลครบถ้วน ตรงตาม
วัตถุประสงค์และความทันสมัยของเนื้อหา เมื่อพิจารณา
คุณภาพเนื้อหาที่ส่งผลต่อความสนใจและส่งเสริมการเรียนรู้
ของผู้เรียน พบว่าผู้เรียนให้ความสาคัญกับความต่อเนื่องของ
เนื้อหามากที่สุด (7) ข้อสรุปข้อมูลมใลติมีเดียด้จนลใกษณศของ
ภจพปรศกอบ ได้แก่การสื่อความหมายกับผู้ใช้ได้ตรงกับ
วัตถุประสงค์ และมีความเกี่ยวข้องหรือมีความสัมพันธ์กับ
เนื้อหา ส่วนภาพประกอบที่ดึงดูดความสนใจและส่งเสริม
การเรียนรู้ของผู้เรียน คือ ภาพเคลื่อนไหว (8) ข้อสรุปข้อมูล
เกี่ยวกใบกจรออกแบบรศบบนจทจง ได้แก่รูปแบบและ
ตาแหน่งที่ชี้การนาทางมีความสม่าเสมอ และบทเรียนต้อง
แสดงหัวข้อเนื้อหาและระบุตาแหน่งการใช้งานปัจจุบัน (9)
ข้อสรุปข้อมูลมใลติมีเดียด้จนเสียง คือ เสียงบรรยายที่ใช้
จะต้องเป็นเสียงที่น่าสนใจ กระตือรือร้น ออกเสียงได้ชัดเจน
มีการใช้เสียงสูงและต่าและตัวควบกล้าที่ดี และผู้ใช้สามารถ
เลือกที่จะฟังหรือไม่ฟังเสียงบรรยายก็ได้ โดยเสียง
แบคกราวด์ที่ดึงดูดความสนใจและส่งเสริมการเรียนรู้ของ
ผู้เรียนคือ ผู้ใช้สามารถเลือกหยุดและเปิดฟังเสียงแบคกราวด์
ได้ตลอดเวลา และเสียงพากษ์ที่ดึงดูดความสนใจและส่งเสริม
การเรียนรู้ของผู้เรียนคือ เสียงพากษ์ที่อ่านออกเสียงได้ชัดเจน
มีการใช้เสียงสูงและต่า และตัวควบกล้าที่ดี (10) ข้อสรุป
ข้อมูลมใลติมีเดียด้จนลใกษณศของวีดิทใะน์ คือการใช้เป็นส่วน
เสริมข้อความและภาพมากกว่าการใช้เป็นส่วนหลักของ
เนื้อหาในคอร์สแวร์ โดยวีดิทัศน์ที่ดึงดูดความสนใจและ
ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนคือ วิดีโอคลิปที่สามารถ
ดาวน์โหลดได้ ส่วนการนาเสนอวีดิทัศน์ คือ วิดีโอแบบ
แอนิเมชั่นอธิบายเนื้อหาหลัก (concept) ในแต่ละหัวข้อ
(11) ข้อสรุปข้อมูลเกี่ยวกับกิจกรรมการเรียน ได้แก่
ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ในการเรียน โดยการนาเสนอเนื้อหา
ที่ดึงดูดใจคือ กิจกรรมเน้นปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียนด้วย
คาถามนา (และเปิ ดโอกาสให้ผู้เรียนร่วมแลกเปลี่ยน
ภายหลังผ่านกระดานสนทนา หรือเครื่องมือคิดต่อ
สื่อสารออนไลน์อื่นๆ) (12) ข้อสรุปเกี่ยวกใบข้อมูลด้จน
กจรทดสอบควจมรู้ คือ ข้อสอบ/แบบทดสอบตรงกับ
วัตถุประสงค์ของบทเรียน โดยการทดสอบความรู้ที่
ดึงดูดความสนใจและส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนคือ
ข้อสอบแบบปรนัยที่ผู้เรียนสามารถตอบได้หลายครั้งใน
แต่ละคาถาม และแสดงคะแนนการทดสอบและข้อมูล
ป้ อนกลับได้ทันที (13) ข้อสรุปข้อมูลเกี่ยวกใบข้อมูลด้จน
กจรให้ข้อมูลป้ อนกลใบคือ คาถาม คาตอบและผล
ป้ อนกลับอยู่ในเฟรมเดียวกัน และมีการเฉลยคาตอบที่
ถูกต้องหลังจากที่ตอบผิด 2-3 ครั้ง (14) ข้อสรุปข้อมูล
เกี่ยวกใบข้อมูลเบื้องต้นคอร์สแวร์ ได้ให้ความสาคัญกับ
วัตถุประสงค์รายวิชามากที่สุด ทั้งนี้เพื่อเป็นข้อยืนยันว่า
เมื่อได้เรียนจากบทเรียนนั้นๆ แล้ว ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ
และทัศนคติ ดังที่ผู้สอนได้ตั้งใจไว้อีกทั้งผู้เรียนสามารถ
ประเมินผลด้วยตนเองว่าบรรลุจุดประสงค์แต่ละข้อ
หรือไม่ (15) ข้อสรุปข้อมูลเกี่ยวกใบกจรปรศเมินคุณภจพ
นั้น อย่างน้อยควรประเมินความสอดคล้องกับหลักสูตร
(16) ข้อสรุปข้อมูลเกี่ยวกใบ ลใกษณศของ คอร์สแวร์
ตจมมจตรฐจน SCORM คือ สามารถใช้ร่วมกันระหว่าง
แพลตฟอร์ม/ระบบCMS และ LMS ที่ต่างกันได้ทุกระบบ
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของคอร์สแวร์ โดยมาตรฐาน
SCORM ที่ดึงดูดความสนใจ คือ หลักสูตรสามารถปรับ
ให้เหมาะสมกับบุคลิกของผู้เรียนได้
รูปที่ 5: รูปแบบอีเลิร์นนิงคอร์สแวร์
รูปที่ 6: ร่างต้นแบบอีเลิร์นนิงคอร์สแวร์
ทั้งนี้ ในการสรุปรูปแบบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ใน
16 ประเด็นที่กล่าวมาแล้วนั้น เป็นการเรียงลาดับตามขั้นตอน
การออกแบบและพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเหมาะสม
สาหรับนักพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ที่จะนาไปใช้
สาหรับบุคคลอื่นที่สนใจจะนาข้อสรุปของผลการวิจัยไปใช้
นั้น ผู้วิจัยได้นาทั้ง16 ประเด็นมาสรุปเป็น 3 กลุ่มหลักเพื่อให้
เข้าใจง่ายต่อการพิจารณาการออกแบบ การพัฒนา ตลอดจน
การประเมินผลรูปแบบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ฯ ที่ชัดเจน
โดยได้แบ่งกลุ่มเป็น 3 ด้านหลักๆ คือ กลุ่มที่ 1 ด้จนกจร
ออกแบบมใลติมีเดีย (Multimedia Design) ประกอบด้วย 5
ประเด็นย่อยได้แก่ มัลติมีเดียด้านพื้นหลัง มัลติมีเดียด้าน
ตัวอักษร มัลติมีเดียด้านภาพประกอบ มัลติมีเดียด้านเสียง
และมัลติมีเดียด้านวีดิทัศน์ กลุ่มที่ 2 ด้จนกจรออกแบบ
เนื้อหจ (Content Design) ประกอบด้วย 5 ประเด็นย่อย
ได้แก่ มัลติมีเดียด้านการออกแบบเนื้อหา ด้านลักษณะ
การนาเสนอเนื้อหาในคอร์สแวร์ คุณภาพเนื้อหา ข้อมูล
เบื้องต้นคอร์สแวร์ และการประเมินคุณภาพ กลุ่มที่ 3
ด้จนกจรออกแบบส่วนต่อปรศสจนสจหรใบบทเรียน
อิเล็กทรอนิกส์ (Courseware Interface Design)
ประกอบด้วย 3 ประเด็นย่อยได้แก่ มัลติมีเดียด้านการ
ออกแบบจุดเชื่อมโยง การออกแบบระบบนาทาง และ
มาตรฐาน SCORM โดยมีอีก 3 ประเด็น ได้แก่ กิจกรรม
การเรียน ด้านการทดสอบความรู้ และด้านการให้ข้อมูล
ป้ อนกลับ ที่สามารถนาไปใช้ได้ทั้งกลุ่มด้านการออกแบบ
เนื้อหาและกลุ่มด้านการออกแบบส่วนต่อประสาน
สาหรับบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์
รูปที่ 7: ภาพรวมรูปแบบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ฯ
16 ประเด็นแบ่งเป็น 3 ด้านเพื่อการนาไปใช้
4) กจรออกแบบเว็บไซต์แลศคอร์สแวร์สจหรใบกจรเรียน
อีเลิร์นนิง: ทิะทจงในอนจคต
นอกจากการนาเสนอแนวทางสาหรับการ
ออกแบบเว็บไซต์และคอร์สแวร์สาหรับการเรียน
อีเลิร์นนิงเพื่อมุ่งเน้นการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ
อันจะส่งผลสูงสุดต่อการเรียนรู้ที่มีประสิทธิผลของ
ผู้เรียนแล้วนั้น บทความนี้จะกล่าวถึงทิศทางในอนาคต
ของการออกแบบเว็บไซต์และคอร์สแวร์สาหรับการเรียน
อีเลิร์นนิง ได้แก่เรื่องเว็บ 3.0 บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์
แบบสตรีมมิ่ง (Streaming Courseware) และบทเรียน
อีเลิร์นนิงที่สร้างอย่างรวดเร็ว (Rapid E-Learning)
รายละเอียดดังนี้
4.1) ทิะทจงในอนจคตของอีเลิร์นนิงเว็บไซต์: เว็บ 3.0
ลักษณะที่โดดเด่นของเว็บ 3.0 หรือ เว็บเชิง
ความหมาย (Semantic Web) นั้นมีอยู่มากมายด้วยกันหลาย
ประการผู้เขียนขอยกตัวอย่างคุณสมบัติบางประการที่
มองเห็นว่าจะเอื้อต่อการเรี ยนอีเลิร์นนิงเพื่อให้มี
ประสิทธิภาพยิ่ง ขึ้นกล่าวคือ เว็บไซต์แบบ 3.0 นั้นจะอยู่
ภจยใต้ กจรควบคุมของผู้ใช้ มจกยิ่งขึ้น (Mash Up
Technology) อันเป็นพื้นฐานของเว็บ 3.0 ที่สามารถคาดเดา
ความต้องการ และค้นหาข้อมูลที่ตรงกับความสนใจของ
ผู้ใช้งานได้ ซึ่งเป็นสิ่งที่เติมต่อมาจากเว็บ 2.0 ที่ผู้ใช้งาน
สามารถเริ่มสร้างเนื้อหาบางส่วนได้เอง ดังตัวอย่างเช่น
Search Engine ต่างๆ ที่สามารถคาดเดาความต้องการและ
ค้นหาข้อมูลที่ตรงกับความสนใจของผู้ใช้งานได้มากยิ่งขึ้น
นอกจากนี้ กจรเชื่อมโยงของฐจนข้อมูลต่จงๆ เข้จด้วยกใน
ดังเช่น FourSquare ซึ่งเป็น Location-Based Social Network
คือการผสมผสานกันของ Social Network และ สถานที่
(Location) ที่ผู้ใช้อยู่ Google + ซึ่งเป็น Social Media ตัวใหม่
ล่าสุด ที่มีการเชื่อมโยงฐานข้อมูลต่างๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะ
เป็น คุณสมบัติการเพิ่มและติดตามเพื่อนเหมือนการ Follow
ใน Twitter คุณสมบัติ Sparks ที่มีหลักการทางานคล้ายกับ
RSS Feed ที่ผู้ใช้สามารถเพิ่มความสนใจต่างๆ ลงไปได้
(เว็บไซต์และTag) คุณสมบัติ Hangout คือ การสนทนากลุ่ม
แบบ video call ระบบ Instant Upload คือ การอัพโหลดภาพ
แบบอัตโนมัติ และ Huddle ที่จะมีลักษณะการทางานคล้าย
Whatsapp ผสมกับ Facebook Chat และคุณสมบัติเด่นสุดท้าย
คือการที่เว็บมีลใกษณศเป็น 3 มิติ โดยการปรับเปลี่ยนรูปร่าง
ของเว็บให้มีลักษณะเป็นพื้นที่ที่มีความเสมือนจริงมากยิ่งขึ้น
ด้วยการใช้วัตถุ 3 มิติ เพื่อให้ผู้ใช้ได้สามารถเข้าร่วมกิจกรรม
ต่างๆ ร่วมกันได้มากยิ่งขึ้น ดังตัวอย่างเช่น Second Life ของ
International Society for Technology in Education: ISTE ที่
ผู้ชมสามารถเข้าร่วมประชุมวิชาการแบบเสมือน (Virtual
Participants) ได้ (https://foursquare.com, 2011;
https://plus.google.com, 2011; http://secondlife.com, 2011;
Ohler, 2008)
รูปที่ 8: International Society for Technology in
Education: ISTE Second Life (http://www.iste.org)
4.2) ทิะทจงในอนจคตของอีเลิร์นนิงคอร์สแวร์: บทเรียน
อิเล็กทรอนิกส์แบบสตรีมมิ่งแลศแรพิดอีเลิร์นนิง
อีเลิร์นนิงคอร์แวร์ในปัจจุบันมักอยู่ในรูปแบบ
สื่อประสม (Multimedia) เนื่องจากผู้เรียนสามารถเข้าใจ
ในเนื้อหาได้ดีกว่าการใช้สื่ออักษร ภาพ หรือเสียง อย่าง
ใดอย่างหนึ่งเพียงอย่างเดียว ผนวกกับประสิทธิภาพใน
การเข้าถึงผู้รับชมจานวนมากได้ในการนาเสนอเพียงครั้ง
เดียว โดยระบบเครือข่ายที่นามาใช้ในการนาเสนอข้อมูล
ในรูปแบบนี้ ในสมัยก่อน การนาเสนอสื่อประสมผ่าน
เครือข่ายอินเทอร์เน็ตจะใช้การ Download and Play
หมายถึงการดาวน์โหลด ข้อมูลทั้งหมดมาก่อนจึงจะ
สามารถนามาใช้ฟังและชม ได้ แต่ปัจจุบันการชมอีเลิร์
นนิงคอร์แวร์จาก Streaming Media Server จะแตกต่าง
ออกไป โดยที่บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบสตรีมมิ่ง
นี้จะสามารถเริ่มเล่นได้เกือบจะในทันทีที่มีการดาวน์
โหลดข้อมูล ผู้เรียนสามารถรับชมสื่อนั้นๆได้ทันที โดย
ไม่จาเป็นต้องรอให้ดาวน์โหลด ข้อมูลทั้งหมดก่อน โดย
มีบัฟเฟอร์ (Buffer) เป็นตัวช่วย นอกจากนี้ บทเรียน
อิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบสตรีมมิ่งนี้ยังสามารถนาเสนอ
ได้ทั้งแบบ On-demand และ Broadcast ดังนั้นจึงมีความ
ยืดหยุ่น สามารถกาหนดข้อบังคับต่างๆในการนาเสนอได้
จากแนวโน้มดังกล่าว จึงทาให้หลายสถาบันอุดมศึกษาที่
มีการจัดการเรียนการสอนแบบ แรพิดอีเลิร์นนิง (Rapid
E-Learning) หรือบทเรียนอีเลิร์นนิงที่สร้างได้อย่าง
รวดเร็ว โดยได้เริ่มที่จะปรับเปลี่ยนรูปแบบของการ
นาเสนอเนื้อหาจากแบบที่ผู้สอนจะต้องร่วมงานกับ
ทีมงานผู้ผลิตอีเลิร์นนิงคอร์สแวร์ เป็ นการที่ผู้สอน
สามารถผลิตบทเรียนดังกล่าวได้ด้วยตนเอง ทั้งในรูปแบบ
On-demand และแบบ Broadcast ดังแสดงในภาพที่ 8, 9 และ
10 (จินตวีร์ คล้ายสังข์, 2553)
รูปที่ 9: อีเลิร์นนิงคอร์แวร์ของ MIT
http://ocw.mit.edu/index.htm
รูปที่ 10: อีเลิร์นนิงคอร์แวร์ของโครงการมหาวิทยาลัย
ไซเบอร์ไทย http://lms.thaicyberu.go.th
รูปที่ 11: บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบสตรีมมิ่ง
ซึ่งผู้เรียนสามารถรับชมได้เกือบทันทีหลังจาก
จบการเรียนการสอนในแต่ละครั้ง
5) สรุป
เว็บไซต์& คอร์สแวร์ ในปัจจุบัน มีปัจจัยต่างๆ
ที่จะทาให้เอื้อต่อการเรียนรู้แบบอีเลิร์นนิงได้ดีที่สุดดังที่
ได้นาเสนอมาแล้ว องค์กรทางการศึกษาจึงควรให้
ความสาคัญกับองค์ประกอบต่างๆ ดังกล่าว ผนวกกับ
เอกลักษณ์และ อัตลักษณ์ขององค์กรนั้นๆ ไม่ว่า
จะเป็นในเรื่องของผู้เรียนและบริบทเนื้อหาที่มีความ
เฉพาะ ส่วนทิศทางในอนาคตของเว็บไซต์ & คอร์สแวร์
ที่ได้นาเสนอไปแล้วนั้น เมื่อพิจารณาจะเห็นว่าทิศทาง
และความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวนั้นเอื้อต่อการส่งเสริม
การเรียนรู้ที่เน้นการเข้าถึงเนื้อหาที่รวดเร็วทั่วถึง
เหมาะสม และเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญยิ่งขึ้น
6) เอกสจรอ้จงอิง
จินตวีร์ มั่นสกุล. (2551). รูปแบบกจรนใดกินกรรมกจรเรียน
กจรสอนแบบอีเลิร์นนิงในรศดใบอุดมะึกษจ. วารสาร
ครุศาสตร์ปีที่ 37 ฉบับที่ 3.
จินตวีร์ คล้ายสังข์. (2553). โครงกจรวินใยรูปแบบเว็บไซต์แลศ
รูปแบบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ที่เหมจศสมสจหรใบ
ก จ ร เ รี ย น ก จ ร ส อ น แ บ บ อี เ ลิ ร์ น นิ ง ใ น
รศดใบอุดมะึกษจ. สานักงานคณะกรรมการการ
อุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.
จินตวีร์ คล้ายสังข์. (2553). โครงกจรวินใยผลของกจรเรียนแบบ
ผสมผสจนที่ใช้คอร์สแวร์ในรูปแบบที่ต่จงกในที่มีต่อ
ผลสใมฤทธิ์ทจงกจรเรียนรู้ ในผู้เรียนรศดใบ
บใณฑิตะึกษจที่มีรศดใบควจมสจมจรถทจงกจร
เรียนรู้ต่จงกในในรจยวิชจโปรแกรมกจรเรียนกจร
สอนผ่จนเว็บขใ้นนจ. ทุนวิจัยคณะครุศาสตร์,
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
จินตวีร์ คล้ายสังข์ และ ประกอบ กรณีกิจ. (2552). Pedagogy-
based Hybrid Learning: นจกแนวคิดสู่กจรปฏิบใติ.
วารสารครุศาสตร์ ปี ที่ 38 ฉบับที่ 1 (กรกฎาคม
2552). หน้า 93-108.
ใจทิพย์ ณ สงขลา. (2550). E-Instructional Design วิธี
วิท ยจ กจ รอ อก แบ บก จร เรี ยน กจ รส อ น
อิเล็กทรอนิกส์. กรุงเทพฯ : ศูนย์ตาราและเอกสาร
ทางวิชาการ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
ถนอมพร เลาหจรัสแสง. (2548). หลใกกจรออกแบบแลศกจร
สร้จงเว็บเพื่อกจรเรียนกจรสอน. กรุงเทพฯ : อรุณ
การพิมพ์
Bonk, C. J. & Graham, C. R. (2006). The handbook of
blended learning. San Francisco, CA: Pfeiffer.
Davidson-Shivers, G.V., Rasmussen, K.L. (2006). Web-Based
Learning: Design, implementation, and evaluation.
Upper Saddle River, New Jersey: Pearson Education.
Monsakul, J. (2007). Learning Management Systems in
Higher Education: A Review from Faculty
Perspective. Proceedings of the South East Asia
Regional Computer Conference 2007 (SEARCC 2007),
organized by the South East Asia Regional Computer
Confederation, Bangkok, Thailand, November 18-19,
2007.
Nichani, M. (2001). LCMS = LMS + CMS [RLOs]. [Online]
Available from: http://www. elearning
post.com/articles/ archives/ lcms_lms_cms_rlos
[2009, April 28]
Ohler, J. (2008). What happens when the read-write web gets
smart enough to help us organize and evaluate the
information it provides? EDUCAUSE Quarterly,
vol.31 no. 4 (October–December 2008)
Rosenberg, M. J. (2001). E-learning : strategies for delivering
knowledge in the digital age. New York : McGraw –
Hill.
SLOAN, Consortium. (2005). Growing by Degrees Online
Education in the United States [Online]. Available
from: http://www.sloan-c.org/
resources/growing_by_degree.pdf [2006, November
11]
Waterhouse, S. (2005). The Power of E-Learning: The
essential guide for teaching in the digital age.
Boston, MA: Pearson Education, Inc
Western Cooperative for Educational Telecommunications.
(2009). Course Management Systems Reviews.
[Online]. Available from: http://edutools.info/
static.jsp? pj=8& page=HOME [April 28, 2009]
Wilson, D. & Smilanich, E. (2005). The Other Blended
Learning. San Francisco, CA: John Wiley & Sons.
กิตติกรรมปรศกจะ
บทความนี้ เป็ นส่วนหนึ่งของงานวิจัยเรื่อง
“รูปแบบเว็บไซต์และรูปแบบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ที่
เหมาะสมสาหรับการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิงใน
ระดับอุดมศึกษา” โดยได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจาก
โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย สานักงานคณะกรรมการ
การอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

More Related Content

Featured

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by HubspotMarius Sescu
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTExpeed Software
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsPixeldarts
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthThinkNow
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfmarketingartwork
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 

Featured (20)

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 

E-Learning Website & Courseware: Current and Future Trends

  • 1. จินตวีร์ คล้ายสังข์. (2554). อีเลิร์นนิงเว็บไซต์ & คอร์สแวร์ :ปในนุบในแลศทิะทจงในอนจคต (E-Learning Website & Courseware: Current and Future Trends). เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ (Proceeding) ด้านอีเลิร์นนิง : Open Learning - Open the World จัดโดยโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย สานักงานคณะกรรม การการอุดมศึกษา ระหว่าง วันที่ 9-10 สิงหาคม 2554 อีเลิร์นนิงเว็บไซต์ & คอร์สแวร์: ปในนุบในแลศทิะทจงในอนจคต E-Learning Website & Courseware: Current and Future Trends จินตวีร์ คล้ายสังข์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย jinkhlaisang@gmail.com ABSTRACT This article addresses current and future trends of e-learning website and courseware. The current information presenting in this article are based on the research study titled “Proposed models of appropriate website and courseware for e-learning in higher education” conducted by the author of the article in 2010. Findings indicated that there were 16 components for website, as well as 16 components for courseware to be included in the models. Such components for both website and courseware models can be classified into 3 categories including: Multimedia Design, Content Design, and Website/Courseware Interface Design. While the future trend of e- learning website and courseware will also be addressed including the trend of web 3.0, streaming courseware, and rapid e-learning courseware. Keywords: E-Learning, Website Design, Courseware Design บทคใดย่อ บทความเรื่อง อีเลิร์นนิงเว็บไซต์ & คอร์สแวร์: ปัจจุบัน และทิศทางในอนาคต จะนาเสนอความนิยมในปัจจุบัน ของการออกแบบเว็บไซต์และคอร์สแวร์สาหรับการเรียน อีเลิร์นนิง โดยจะอ้างอิงถึงงานวิจัยเรื่องรูปแบบเว็บไซต์ และรูปแบบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ที่เหมาะสมสาหรับ การเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิงในระดับอุดมศึกษาโดย ผู้เขียนได้ดาเนินงานวิจัยดังกล่าวในปี 2553ผลการวิจัย สรุปได้ว่าสามารถสรุปรูปแบบเว็บไซต์ฯ และรูปแบบ บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ฯ ใน 16 ประเด็น โดยแบ่งกลุ่ม เป็น 3 ด้านหลักคือ ด้านการออกแบบมัลติมีเดีย ด้านการ ออกแบบเนื้อหา และด้านการออกแบบส่วนต่อประสาน สาหรับเว็บไซต์/คอร์สแวร์ นอกจากนี้บทความจะกล่าวถึง ทิศทางในอนาคตของการออกแบบเว็บไซต์และคอร์สแวร์ สาหรับการเรียนอีเลิร์นนิง ได้แก่เรื่องเว็บ 3.0 บทเรียน อิเล็กทรอนิกส์แบบสตรีมมิ่ง และบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ แบบแรพิดอีเลิร์นนิง คจสจคใญ: อีเลิร์นนิง, การออกแบบอีเลิร์นนิงเว็บไซต์, การออกแบบอีเลิร์นนิงคอร์สแวร์ 1) บทนจ การเรียนอีเลิร์นนิงได้แพร่กระจายสู่การเรียนการ สอนระดับอุดมศึกษาด้วยสาเหตุของคุณประโยชน์ที่โดดเด่น ไม่ว่าจะเป็นการเข้าถึงเนื้อหาได้สะดวก ทุกที่ทุกเวลา การเข้า ร่วมกิจกรรมอย่างไร้ข้อจากัดของเวลา การเรียนอีเลิร์นนิง ยัง นับว่าเป็นการจัดสภาพแวดล้อมของการเรียนรู้แบบผู้เรียน เป็นศูนย์กลาง (Learner-Centered) อีกทั้งยังสนับสนุนให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Life Long Learning) ซึ่ง สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษาได้เป็นอย่างดี องค์ประกอบที่สาคัญที่จะทาให้การเรียนอีเลิร์นนิงประสบ ผลสาเร็จนั้น ได้แก่ (1) เว็บไซต์ (2) คอร์สแวร์ (3) การ ติดต่อสื่อสาร และ (4) การประเมินผลการเรียน ซึ่งเมื่อนา องค์ประกอบทั้งสี่มาประกอบเข้าด้วยกันแล้ว ระบบจะ ทางานประสานกันได้อย่างลงตัว (Bonk and Graham, 2006; Wilson and Smilanich, 2005; Waterhouse, 2005; Western Cooperative for Educational Telecommunications: WCET
  • 2. (2009); Sloan Consortium Foundation, 2005; จินตวีร์ มั่นสกุล, 2551; จินตวีร์ คล้ายสังข์และประกอบ กรณีกิจ, 2552) โดยอีเลิร์นนิงเว็บไซต์นั้น อาจอยู่ในรูปแบบของ ระบบบริหารจัดการการเรียนรู้ (LMS: Learning Management System) หรือระบบบริหารจัดการเนื้อหา (Content Management System) ซึ่งจะทาหน้าที่เป็น ศูนย์กลางการจัดการเนื้อหา กิจกรรมการเรียนการสอน ตลอดจนการวัดและประเมินผลต่างๆ และสนับสนุนการ จัดการเรียนรู้ ซึ่งใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตเป็นสื่อกลาง ในการจัดปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนและผู้เรียน ผู้เรียน กับผู้เรียน และผู้เรียนกับแหล่งข้อมูล ทั้งนี้จะช่วยให้ ผู้เรียนและผู้สอนสามารถเข้าถึงเนื้อหาและใช้งานได้ง่าย โดยมีเครื่องมือทางด้านการจัดการ การปรับปรุง การ ควบคุม การสารองข้อมูล การสนับสนุนข้อมูล การ บันทึกสถิติผู้เรียน และการประเมินผล ตลอดจนการ ตรวจให้คะแนนผู้เรียน โดยในปัจจุบันระบบฯ จะแบ่งได้ เป็น 2 ลักษณะ ได้แก่ ระบบจัดการการเรียนรู้ที่อยู่ใน รูปแบบเชิงพาณิชย์ (Proprietary Software) เช่น ระบบ บริหารจัดการเรียนรู้ Blackboard , WebCT และ Education Sphere และระบบจัดการการเรียนรู้ที่อยู่ใน รูปแบบฟรีซอฟต์แวร์ (Free Software) หรือโอเพน ซอร์ส (Open Source) เช่น ATutor และ Moodle เป็น ต้น ในขณะที่อีเลิร์ นนิ งคอร์ สแวร์ (e-learning courseware) หรือบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์นั้น เป็นเนื้อหา สาระที่นาเสนอในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งส่วนใหญ่มี ลักษณะเป็นสื่อประสม โดยเน้นการออกแบบที่ใช้วิธีการ กลยุทธ์ และการให้ข้อมูลป้ อนกลับแก่ผู้เรียนโดยทันทีใน การนาเสนอ ที่กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตาม วัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ซึ่งผู้เรียนสามารถเข้าถึงเนื้อหา ได้ตามความต้องการ ตลอดจนอาจมีแบบฝึกหัดหรือ แบบทดสอบเพื่อให้ผู้เรียนสามารถตรวจสอบความเข้าใจ ได้ (จินตวีร์ คล้ายสังข์ และประกอบ กรณีกิจ, 2552; ใจทิพย์ ณ สงขลา, 2550; ถนอมพร เลาหจรัสแสง, 2548; Davidson & Rasmussen, 2006; Monsakul, 2007; Monsakul, 2008; Nichani, 2001; Rosenberg, 2001) ดังจะเห็นได้ว่าทั้งอีเลิร์นนิงเว็บไซต์และคอร์สแวร์ นั้น เป็นสื่อกลางที่สาคัญที่ใช้สาหรับการถ่ายทอดความรู้ ไปยังผู้เรียนตามกระบวนการเรียนรู้ มีบทบาทอย่างสูงต่อ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หากอีเลิร์นนิงเว็บไซต์และคอร์ส แวร์ที่ใช้ในการเรียนรู้มีคุณภาพย่อมส่งผลทางบวกที่เอื้อต่อ การติดต่อสื่อสารและการประเมินผลการเรียน ที่มี ประสิทธิภาพ และประสิทธิผลทางกาเรียนที่สูงขึ้นของ ผู้เรียนอีกด้วย ในทางกลับกัน ถ้าการออกแบบอีเลิร์นนิง เว็บไซต์และคอร์สแวร์ไม่น่าสนใจ ขาดองค์ประกอบที่สาคัญ ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ย่อมส่งผลทางลบต่อการติดต่อสื่อสารและ การประเมินผลการเรียนที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ทางกาเรียนของผู้เรียนด้วยเช่นกัน ตามที่โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้พัฒนาหลักสูตร ผู้เชี่ยวชาญ อีเลิร์นนิง (E-Learning Professional) โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาบุคลากรด้านการจัดการการเรียนการ สอนทางไกล เมื่อปี พ.ศ. 2548 และเปิดดาเนินการเรียนการ สอนทางไกลผ่านระบบ LMS ร่วมกับคณาจารย์จาก มหาวิทยาลัยต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 เป็ นต้นมา การจัดการเรียนการสอนหลักสูตรดังกล่าว คณาจารย์ผู้สอนได้มีการจัดการเรียนการสอนจาก ประสบการณ์ของแต่ละท่าน ตลอดจนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่างกันและนามาปรับใช้กันเองตามศักยภาพที่มี และ โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย สานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา เล็งเห็นความจาเป็นที่จะต้องดาเนินการวิจัย เพื่อหารูปแบบการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล ตลอดจนเทคโนโลยีที่เหมาะสม ทั้งในด้านรูปแบบเว็บไซต์ รูปแบบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อการนาส่งเนื้อหาสาหรับ การเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์ในระดับอุดมศึกษาที่มี ประสิทธิภาพต่อไป ซึ่งผลลัพธ์จากการวิจัยจะได้นามาพัฒนา ต่อยอดองค์ความรู้ที่มีอยู่เดิม และเผยแพร่สู่การปฏิบัติในการ จัดการเรียนการสอนทางไกลทั้งในหลักสูตรที่กาลังเปิดสอน ดังกล่าวและเป็นการแบ่งปันความรู้ร่วมกัน เพื่อให้สถาบัน ทางการศึกษาต่างๆ ทั้งในระดับอุดมศึกษา การศึกษาภาค บังคับ ตลอดจนหน่วยงานจัดการฝึกอบรมต่างๆ ที่มีนโยบาย หรือมีความสนใจในการจัดการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิง สามารถนาไปใช้และปรับใช้เป็นแนวทางในการออกแบบ และพัฒนาเว็บไซต์และรูปแบบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ที่ เหมาะสมสาหรับการเรียนผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ต่อไป
  • 3. 2) ที่มจของรูปแบบ รูปแบบฯ ที่นาเสนอนี้เป็นผลมาจากงานวิจัย เรื่อง รูปแบบเว็บไซต์และรูปแบบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ที่เหมาะสมสาหรับการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิงใน ระดับอุดมศึกษา โดยมีวิธีการดาเนินการวิจัยทั้งหมด 10 ขั้นตอนดังนี้ (1) ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เกี่ยวกับรูปแบบเว็บไซต์และรูปแบบบทเรี ยน อิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งผลต่อการเรียนการสอนแบบ อีเลิร์นนิงในระดับอุดมศึกษาช่วงปี พ.ศ. 2538-2552 (2) ศึกษาผลจากแบบสอบถามรูปแบบเว็บไซต์ที่เหมาะสม สาหรับการเรี ยนการสอนแบบอีเลิร์นนิ งใน ระดับอุดมศึกษา และแบบสอบถามรูปแบบบทเรียน อิเล็กทรอนิกส์ที่เหมาะสมสาหรับการเรียนการสอนแบบ อีเลิร์นนิงในระดับอุดมศึกษา ไปให้ประชากรที่เป็นกลุ่ม ตัวอย่างเป็ นผู้ตอบแบบสอบถาม (3) สัมภาษณ์ ผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับรูปแบบเว็บไซต์และรูปแบบบทเรียน อิเล็กทรอนิกส์ที่เหมาะสมฯ เพื่อขอรับข้อคิดเห็นเพิ่มเติม (4) ร่างรูปแบบเว็บไซต์และรูปแบบบทเรียน อิเล็กทรอนิกส์ที่เหมาะสมสาหรับการเรียนการสอนแบบ อีเลิร์นนิงในระดับอุดมศึกษา (5) นารูปแบบเว็บไซต์และ รูปแบบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ที่เหมาะสมสาหรับการ เรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิงในระดับอุดมศึกษา เสนอให้ ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบรูปแบบ (6) ปรับปรุงแก้ไขร่าง รูปแบบฯ ตามคาแนะนาของผู้ทรงคุณวุฒิ จากนั้นนาร่าง รูปแบบดังกล่าวที่ได้ปรับแก้แล้วไปพัฒนาร่างต้นแบบ สาหรับทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่างต่อไป (7) ทดลองใช้ กับกลุ่มตัวอย่าง และปรับปรุงแก้ไข (8) นารูปแบบ เว็บไซต์และรูปแบบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ที่เหมาะสม สาหรับการเรี ยนการสอนแบบอีเลิร์นนิ งใน ระดับอุดมศึกษาที่ได้ปรับปรุงแก้ไขตามคาแนะนาของ ผู้ทรงคุณวุฒิและผลจากการทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่าง แล้วเสนอให้ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบอีกครั้งเพื่อรับรอง รูปแบบเว็บไซต์และรูปแบบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ที่ เหมาะสมสาหรับการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิงใน ระดับอุดมศึกษา (9) ปรับปรุงแก้ไขรูปแบบเว็บไซต์และ รูปแบบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ที่เหมาะสมสาหรับการ เรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิงในระดับอุดมศึกษาตาม คาแนะนาจากผู้ทรงคุณวุฒิ และ (10) นาเสนอรูปแบบ เว็บไซต์และรูปแบบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ที่เหมาะสม สาหรับการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิงในระดับอุดมศึกษา ที่ผู้ทรงคุณวุฒิได้ตรวจสอบเพื่อรับรองรูปแบบแล้วมาจัดทา เป็นรูปเล่มเพื่อนาเสนอต่อสานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา และเพื่อเผยแพร่ต่อไป 3) นจเสนอรูปแบบฯ บทความนี้ขอเสนอรูปแบบเว็บไซต์ฯ และรูปแบบ บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ฯใน 16 ประเด็น โดยแบ่งกลุ่มเป็น 3 ด้านหลักคือ ด้านการออกแบบมัลติมีเดีย ด้านการออกแบบ เนื้อหา และด้านการออกแบบส่วนต่อประสานสาหรับ เว็บไซต์/คอร์สแวร์ เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติสาหรับหน่วยงาน หรือองค์กรที่มีความสนใจจะดาเนินการจัดการเรียนการสอน แบบอีเลิร์นนิงต่อไป โดยมีรายละเอียดดังนี้ 3.1) รูปแบบเว็บไซต์ที่เหมจศสมสจหรใบกจรเรียนกจรสอน แบบอีเลิร์นนิงในรศดใบอุดมะึกษจ รูปแบบเว็บไซต์ฯ สามารถสรุปได้เป็น 16 ประเด็น เพื่อพิจารณาในการออกแบบ โดยเป็นการเรียงลาดับตาม ขั้นตอนการออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ ซึ่งเหมาะสม สาหรับนักพัฒนาเว็บไซต์ที่จะนาไปใช้ ได้แก่ (1) มใลติมีเดีย ด้จนพื้นหลใง ลักษณะของพื้นหลังที่เหมาะสม คือ พื้นหลังสี อ่อนและตัวอักษรสีเข้ม โดยพื้นหลังที่ดึงดูดใจและส่งเสริม การเรียนรู้ของผู้เรียน คือ สีโทนเย็น ประกอบด้วย พื้นหลังสี อ่อน(โทนขาว ครีม) และตัวอักษรสีเข้ม(โทนฟ้า น้าเงิน)ใน ส่วนเนื้อหา พื้นสีขาว ตัวอักษรสีดาปกติ มีความเหมาะสมกับ บริบทการศึกษาที่สุด (2) ข้อสรุปข้อมูลมใลติมีเดียด้จน ตใวอใกษร ลักษณะของตัวอักษรที่เหมาะสม คือ ชนิดและ ขนาดมีความชัดเจนและอ่านง่าย และ สีของตัวอักษรเด่นชัด สบายตา โดยตัวอักษรที่ดึงดูดใจ/ส่งเสริมการเรียนรู้ของ ผู้เรียน คือ ตัวอักษรหัวกลมแบบ San-Serif ขนาด 10-20 พอยท์ (ขึ้นอยู่กับตาแหน่งเนื้อหา) อีกทั้งตัวอักษรที่ใช้ควร เลือกชนิดที่มีรูปแบบตัวอักษรภาษาไทย และรูปแบบ ตัวอักษรภาษาอังกฤษ ไม่แตกต่างกันมาก เช่น Tahoma และ Verdana จึงจะเหมาะสมกับบริบทการศึกษาไทยที่สุด (3) ข้อสรุปข้อมูลมใลติมีเดียด้จนกจรออกแบบนุดเชื่อมโยง โดย องค์ประกอบของจุดเชื่อมโยง อย่างน้อยควรมีการระบุชื่อ
  • 4. เรื่องที่ชัดเจน มีจุดเชื่อมโยงภายในเว็บไซต์ และลิงค์ไป ยังหน้าหลัก (4) ข้อสรุปข้อมูลมใลติมีเดียด้จนกจร ออกแบบเนื้อหจ โดยองค์ประกอบของเนื้อหาอย่างน้อย ควรมี ภาพและวัตถุประกอบการบรรยาย หรือ ภาพเคลื่อนไหว(ภาพเหตุการณ์สั้นๆ) และลักษณะการ นาเสนอเนื้อหา คือ เนื้อหากระชับ สั้นและทันสมัย และ แบ่งเนื้อหาออกเป็นส่วนๆ หรือจัดกลุ่มเป็นหมวดหมู่ (5) ข้อสรุปข้อมูลด้จนลใกษณศเนื้อหจที่ดึงดูดควจมสนในแลศ ส่งเสริมกจรเรียนรู้ ได้แก่ เนื้อหากระชับ สั้น และทันสมัย และ แบ่งเนื้อหาออกเป็ นส่วนๆ หรือจัดกลุ่มเป็ น หมวดหมู่ (6) ข้อสรุปข้อมูลมใลติมีเดียด้จนภจพปรศกอบ โดยลักษณะของภาพประกอบควรสื่อความหมายกับผู้ ใช้ได้ตรงกับวัตถุประสงค์ และมีความเกี่ยวข้องหรือมี ความสัมพันธ์กับเนื้อหา ส่วนภาพประกอบที่ดึงดูดความ สนใจ/ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน คือ ภาพเคลื่อนไหว (7) ข้อสรุปข้อมูลเกี่ยวกใบควจมน่จเชื่อถือ ควร ประกอบด้วย การระบุชื่อผู้จัดทาและอีเมล์ที่จะติดต่อได้ ระบุวันที่จัดทา/แก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อมูล และระบุผลงาน ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ (8) ข้อสรุปข้อมูลเกี่ยวกใบคุณภจพเนื้อหจ ได้แก่ การนาเสนอข้อมูลตามความเป็นจริง ไม่มีอคติ นาเสนอข้อมูลครบถ้วนสมบูรณ์ และระบุแหล่งที่มาของ ข้อมูล (9) ข้อสรุปข้อมูลเกี่ยวกใบกจรออกแบบรศบบนจ ทจงนั้น อย่างน้อยควรมีแผงผังเว็บไซต์เพื่อแสดง ภาพรวมของบทเรียน มีทางเลือกให้ผู้ใช้เข้าสืบค้นข้อมูล และมีการเชื่อมโยงกลับไปยังหน้าหลัก อีกทั้งควรมีการ บอกตาแหน่งว่าผู้เรียนอยู่ส่วนไหนของเว็บไซต์ด้วย (10) ข้อสรุปข้อมูลมใลติมีเดียด้จนเสียง ได้แก่ เสียงควรมี ลักษณะชัดเจน มีการใช้เสียงสูงและต่าและตัวควบกล้าที่ ดี ผู้ใช้สามารถเลือกหยุดและเปิดฟังได้ตลอดเวลา โดย เสียงที่ดึงดูดความสนใจ/ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน คือ เสียงที่ผู้ใช้สามารถเลือกหยุดและเปิ ดฟังเสียง แบคกราวน์ได้ตลอดเวลา (11) ข้อสรุปข้อมูลมใลติมีเดีย ด้จนวีดิทใะน์ กล่าวว่า ลักษณะของวีดิทัศน์ควรใช้เป็น ส่วนเสริมข้อความและภาพมากกว่าการใช้เป็นส่วนหลัก ของเนื้อหาในเว็บไซต์ และผู้ใช้สามารถเลือกหยุดและ เปิดดูได้ตลอดเวลา โดยวีดิทัศน์ที่ดึงดูดความสนใจและ ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน คือ วิดีโอคลิปที่สามารถ ดาวน์โหลดได้ แสดงอยู่บนหน้าจอบเว็บ(ขนาดหน้าจอไม่ มากกว่า 320x265 pixel) และสามารถลิงค์ไปยังหน้าจอเว็บ ใหม่ที่มีขนาดใหญ่ (full screen) ส่วนเนื้อหาในวีดิทัศน์ที่ ดึงดูดความสนใจและส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน คือ การ อัพเดตนวัตกรรมใหม่ที่เกี่ยวข้องกับโครงการฯ/หน่วยงานฯ (12) ข้อสรุปข้อมูลเกี่ยวกใบเครื่องมือสนใบสนุนกจรสร้จงเว็บ 2.0 ได้แก่ เครื่องมือสนับสนุนการทางานบนเว็บ (Web application tools) เช่น Blog และ RSS Feed เครื่องมือสาหรับ ติดต่อสื่อสาร (Communication tools) เช่น Chat, Instant Message, Desktop Video conference และ Podcast เครื่องมือ ส่งเสริมการเป็นชุมชนออนไลน์ (Community tools) เช่น Webboard, Wiki และ Social Networking ต่างๆ และ เครื่องมือที่ช่วยในการแบ่งปันข้อมูลต่างๆ (File sharing tools) เช่น Photo sharing, Video sharing, Music Sharing และ Document sharing เป็นต้น โดยเครื่องมือสนับสนุนการ สร้างเว็บ 2.0 ที่ดึงดูดความสนใจ/ส่งเสริมการเรียนรู้ของ ผู้เรียน คือ Blog, Chat/Instant Message และ Wiki (13) ข้อสรุปข้อมูลเกี่ยวกใบข้อมูลด้จนปรศสิทธิภจพของนุด เชื่อมโยง ได้แก่ การเข้าถึงสารสนเทศที่ต้องการได้อย่าง รวดเร็ว และควบคุมการใช้งานได้อย่างง่ายและสะดวกที่สุด (14) ข้อสรุปข้อมูลเกี่ยวกใบข้อมูลด้จนกจรเข้จถึงข้อมูลนั้น ควรที่จะใช้งานง่ายและโต้ตอบกับผู้เรียนได้ทันที โดยการ เข้าถึงข้อมูลที่ดึงดูดความสนใจ/ส่งเสริมการเรียนรู้ของ ผู้เรียน คือ ใช้งานง่าย และ โต้ตอบกับผู้เรียนได้ทันที (15) ข้อสรุปข้อมูลเกี่ยวกใบกจรทดสอบกจรใช้งจน ได้แก่ การ ทดสอบการออกแบบ การเชื่อมโยง (Links) เนื้อหา (Content) และการเข้าถึงข้อมูล โดยการทดสอบการใช้งานที่ดึงดูด ความสนใจและส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน คือ ใช้งานง่าย และโต้ตอบกับผู้เรียนได้ทันที (16) ข้อสรุปข้อมูลเกี่ยวกใบ คุณภจพในกจรออกแบบที่ดึงดูดควจมสนในแลศส่งเสริมกจร เรียนรู้ของผู้เรียน ได้แก่ การให้ความสาคัญกับการเข้าถึง ข้อมูลเป็นอันดับหนึ่ง
  • 5. รูปที่ 1: รูปแบบอีเลิร์นนิงเว็บไซต์ รูปที่ 2: ร่างต้นแบบเว็บไซต์(หลักสูตร) ที่สร้าง ด้วยโปรแกรม Open Source Joomla! CMS รูปที่ 3: ร่างต้นแบบเว็บไซต์รายวิชาที่สร้าง ด้วยโปรแกรม Open Source Moodle LMS ทั้งนี้ การสรุปรูปแบบเว็บไซต์ใน 16 ประเด็นที่ กล่าวมานั้น เป็นการเรียงลาดับตามขั้นตอนการออกแบบและ พัฒนาเว็บไซต์ ซึ่งเหมาะสมสาหรับนักพัฒนาเว็บไซต์ที่จะ นาไปใช้ สาหรับบุคคลอื่นที่สนใจจะนาข้อสรุปของ ผลการวิจัยไปใช้นั้น ผู้วิจัยได้นาทั้ง 16 ประเด็นมาสรุปเป็น 3 กลุ่มหลักเพื่อให้เข้าใจง่ายต่อการพิจารณาการออกแบบ การ พัฒนา ตลอดจนการประเมินผลรูปแบบเว็บไซต์ฯ ที่ชัดเจน โดยได้แบ่งกลุ่มเป็น 3 ด้านหลักๆ คือ กลุ่มที่ 1 ด้จนกจร ออกแบบมใลติมีเดีย (Multimedia Design) ประกอบด้วย 5 ประเด็นย่อยได้แก่ มัลติมีเดียด้านพื้นหลัง มัลติมีเดียด้าน ตัวอักษร มัลติมีเดียด้านภาพประกอบ มัลติมีเดียด้านเสียง และมัลติมีเดียด้านวิดีทัศน์ กลุ่มที่ 2 ด้จนกจรออกแบบเนื้อหจ (Content Design) ประกอบด้วย 5 ประเด็นย่อยได้แก่ มัลติมีเดียด้านการออกแบบเนื้อหา ด้านลักษณะเนื้อหาที่ ดึงดูดความสนใจและส่งเสริมการเรียนรู้ ความน่าเชื่อถือ และ คุณภาพเนื้อหา กลุ่มที่ 3 ด้จนกจรออกแบบส่วนต่อปรศสจน สจหรใบเว็บไซต์ (Website Interface Design) ประกอบด้วย 7 ประเด็นย่อยได้แก่ มัลติมีเดียด้านการออกแบบจุดเชื่อมโยง การออกแบบระบบนาทาง เครื่องมือสนับสนุนการสร้างเว็บ
  • 6. 2.0 ด้านประสิทธิภาพของจุดเชื่อมโยง ด้านการเข้าถึง ข้อมูล การทดสอบการใช้งาน และคุณภาพในการ ออกแบบ รูปที่ 4: ภาพรวมรูปแบบเว็บไซต์ฯ 16 ประเด็น แบ่งเป็น 3 ด้านเพื่อการนาไปใช้ 3.2) รูปแบบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ที่เหมจศสมสจหรใบ กจรเรียนกจรสอนแบบอีเลิร์นนิงในรศดใบอุดมะึกษจ รูปแบบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ฯ สามารถสรุป ได้เป็น 16 ประเด็น เพื่อพิจารณาในการออกแบบ โดย เป็นการเรียงลาดับตามขั้นตอนการออกแบบและพัฒนา บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเหมาะสมสาหรับนักพัฒนา บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ที่จะนาไปใช้ได้แก่ (1) มใลติมีเดีย ด้จนพื้นหลใงที่เหมาะสม คือ สีโทนเย็นโดยพื้นหลังสี อ่อนและตัวอักษรสีเข้ม และพื้นหลังที่ดึงดูดใจ/ส่งเสริม การเรียนรู้ของผู้เรียน คือ พื้นหลังสีอ่อน(โทนขาว ครีม) และตัวอักษรสีเข้ม(โทนฟ้า น้าเงิน)ในส่วนเนื้อหา พื้นสี ขาว ตัวอักษรสีดาปกติจะมีความเหมาะสมกับบริบท การศึกษาที่สุด (2) ข้อสรุปข้อมูลมใลติมีเดียด้จนตใวอใกษร ที่เหมาะสม คือ ชนิดและขนาดมีความชัดเจนและอ่าน ง่าย ตัวอักษรแบบ San-Serif ขนาด 10-20 พอยท์ (ขึ้นอยู่ กับตาแหน่งเนื้อหา) มีความเหมาะสมที่สุด อีกทั้ง ตัวอักษรที่ใช้ควรเลือกชนิดที่มีรูปแบบตัวอักษร ภาษาไทย และรูปแบบตัวอักษรภาษาอังกฤษ ไม่แตกต่าง กันมาก เช่น Tahoma และ Verdana จึงจะเหมาะสมกับ บริบทการศึกษาไทยที่สุด (3) ข้อสรุปข้อมูลมใลติมีเดีย ด้จนกจรออกแบบนุดเชื่อมโยง คือ เข้าถึงสารสนเทศที่ ต้องการได้อย่างรวดเร็ว ควบคุมการใช้งานได้อย่างง่าย และสะดวกที่สุด และผู้ใช้กาหนดเส้นทางการเรียนรู้ได้เอง (4) ข้อสรุปข้อมูลมใลติมีเดียด้จนกจรออกแบบเนื้อหจนั้นอย่าง น้อยควรมี ภาพและวัตถุประกอบการบรรยาย หรือ ภาพเคลื่อนไหว(ภาพเหตุการณ์สั้นๆ) และลักษณะการ นาเสนอเนื้อหาเพื่อกระตุ้นความสนใจและส่งเสริมการเรียนรู้ ของผู้เรียน คือ มีภาพเคลื่อนไหว (ภาพเหตุการณ์สั้นๆ) หรือ วัตถุเคลื่อนไหว (กราฟิกประกอบการบรรยายหลักการ สาคัญๆ) (5) ข้อสรุปข้อมูลด้จนลใกษณศกจรนจเสนอเนื้อหจ ในคอร์สแวร์ คือ มีการแบ่งเนื้อหาเป็นหัวข้อย่อยๆ มีความ ชัดเจนและเนื้อหาแต่ละหัวข้อย่อยจบในตัวเอง นอกจากนี้ การนาเสนอเนื้อหาที่ดึงดูดความสนใจ ได้แก่ การนาเสนอ เนื้อหาแบบเรียงลาดับ และคอร์สแวร์มีการเก็บบันทึกการ เรียนของผู้เรียน โดยจะบันทึกจุดที่ผู้เรียนหยุดเรียน และ กลับมายังจุดดังกล่าวในครั้งต่อไป โดยผู้เรียนไม่ต้องเริ่ม เรียนใหม่ตั้งแต่ต้น (6) ข้อสรุปข้อมูลเกี่ยวกใบคุณภจพเนื้อหจ ประกอบด้วย การนาเสนอข้อมูลครบถ้วน ตรงตาม วัตถุประสงค์และความทันสมัยของเนื้อหา เมื่อพิจารณา คุณภาพเนื้อหาที่ส่งผลต่อความสนใจและส่งเสริมการเรียนรู้ ของผู้เรียน พบว่าผู้เรียนให้ความสาคัญกับความต่อเนื่องของ เนื้อหามากที่สุด (7) ข้อสรุปข้อมูลมใลติมีเดียด้จนลใกษณศของ ภจพปรศกอบ ได้แก่การสื่อความหมายกับผู้ใช้ได้ตรงกับ วัตถุประสงค์ และมีความเกี่ยวข้องหรือมีความสัมพันธ์กับ เนื้อหา ส่วนภาพประกอบที่ดึงดูดความสนใจและส่งเสริม การเรียนรู้ของผู้เรียน คือ ภาพเคลื่อนไหว (8) ข้อสรุปข้อมูล เกี่ยวกใบกจรออกแบบรศบบนจทจง ได้แก่รูปแบบและ ตาแหน่งที่ชี้การนาทางมีความสม่าเสมอ และบทเรียนต้อง แสดงหัวข้อเนื้อหาและระบุตาแหน่งการใช้งานปัจจุบัน (9) ข้อสรุปข้อมูลมใลติมีเดียด้จนเสียง คือ เสียงบรรยายที่ใช้ จะต้องเป็นเสียงที่น่าสนใจ กระตือรือร้น ออกเสียงได้ชัดเจน มีการใช้เสียงสูงและต่าและตัวควบกล้าที่ดี และผู้ใช้สามารถ เลือกที่จะฟังหรือไม่ฟังเสียงบรรยายก็ได้ โดยเสียง แบคกราวด์ที่ดึงดูดความสนใจและส่งเสริมการเรียนรู้ของ ผู้เรียนคือ ผู้ใช้สามารถเลือกหยุดและเปิดฟังเสียงแบคกราวด์ ได้ตลอดเวลา และเสียงพากษ์ที่ดึงดูดความสนใจและส่งเสริม การเรียนรู้ของผู้เรียนคือ เสียงพากษ์ที่อ่านออกเสียงได้ชัดเจน มีการใช้เสียงสูงและต่า และตัวควบกล้าที่ดี (10) ข้อสรุป ข้อมูลมใลติมีเดียด้จนลใกษณศของวีดิทใะน์ คือการใช้เป็นส่วน
  • 7. เสริมข้อความและภาพมากกว่าการใช้เป็นส่วนหลักของ เนื้อหาในคอร์สแวร์ โดยวีดิทัศน์ที่ดึงดูดความสนใจและ ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนคือ วิดีโอคลิปที่สามารถ ดาวน์โหลดได้ ส่วนการนาเสนอวีดิทัศน์ คือ วิดีโอแบบ แอนิเมชั่นอธิบายเนื้อหาหลัก (concept) ในแต่ละหัวข้อ (11) ข้อสรุปข้อมูลเกี่ยวกับกิจกรรมการเรียน ได้แก่ ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ในการเรียน โดยการนาเสนอเนื้อหา ที่ดึงดูดใจคือ กิจกรรมเน้นปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียนด้วย คาถามนา (และเปิ ดโอกาสให้ผู้เรียนร่วมแลกเปลี่ยน ภายหลังผ่านกระดานสนทนา หรือเครื่องมือคิดต่อ สื่อสารออนไลน์อื่นๆ) (12) ข้อสรุปเกี่ยวกใบข้อมูลด้จน กจรทดสอบควจมรู้ คือ ข้อสอบ/แบบทดสอบตรงกับ วัตถุประสงค์ของบทเรียน โดยการทดสอบความรู้ที่ ดึงดูดความสนใจและส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนคือ ข้อสอบแบบปรนัยที่ผู้เรียนสามารถตอบได้หลายครั้งใน แต่ละคาถาม และแสดงคะแนนการทดสอบและข้อมูล ป้ อนกลับได้ทันที (13) ข้อสรุปข้อมูลเกี่ยวกใบข้อมูลด้จน กจรให้ข้อมูลป้ อนกลใบคือ คาถาม คาตอบและผล ป้ อนกลับอยู่ในเฟรมเดียวกัน และมีการเฉลยคาตอบที่ ถูกต้องหลังจากที่ตอบผิด 2-3 ครั้ง (14) ข้อสรุปข้อมูล เกี่ยวกใบข้อมูลเบื้องต้นคอร์สแวร์ ได้ให้ความสาคัญกับ วัตถุประสงค์รายวิชามากที่สุด ทั้งนี้เพื่อเป็นข้อยืนยันว่า เมื่อได้เรียนจากบทเรียนนั้นๆ แล้ว ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และทัศนคติ ดังที่ผู้สอนได้ตั้งใจไว้อีกทั้งผู้เรียนสามารถ ประเมินผลด้วยตนเองว่าบรรลุจุดประสงค์แต่ละข้อ หรือไม่ (15) ข้อสรุปข้อมูลเกี่ยวกใบกจรปรศเมินคุณภจพ นั้น อย่างน้อยควรประเมินความสอดคล้องกับหลักสูตร (16) ข้อสรุปข้อมูลเกี่ยวกใบ ลใกษณศของ คอร์สแวร์ ตจมมจตรฐจน SCORM คือ สามารถใช้ร่วมกันระหว่าง แพลตฟอร์ม/ระบบCMS และ LMS ที่ต่างกันได้ทุกระบบ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของคอร์สแวร์ โดยมาตรฐาน SCORM ที่ดึงดูดความสนใจ คือ หลักสูตรสามารถปรับ ให้เหมาะสมกับบุคลิกของผู้เรียนได้ รูปที่ 5: รูปแบบอีเลิร์นนิงคอร์สแวร์ รูปที่ 6: ร่างต้นแบบอีเลิร์นนิงคอร์สแวร์ ทั้งนี้ ในการสรุปรูปแบบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ใน 16 ประเด็นที่กล่าวมาแล้วนั้น เป็นการเรียงลาดับตามขั้นตอน การออกแบบและพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเหมาะสม สาหรับนักพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ที่จะนาไปใช้ สาหรับบุคคลอื่นที่สนใจจะนาข้อสรุปของผลการวิจัยไปใช้ นั้น ผู้วิจัยได้นาทั้ง16 ประเด็นมาสรุปเป็น 3 กลุ่มหลักเพื่อให้ เข้าใจง่ายต่อการพิจารณาการออกแบบ การพัฒนา ตลอดจน การประเมินผลรูปแบบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ฯ ที่ชัดเจน โดยได้แบ่งกลุ่มเป็น 3 ด้านหลักๆ คือ กลุ่มที่ 1 ด้จนกจร ออกแบบมใลติมีเดีย (Multimedia Design) ประกอบด้วย 5 ประเด็นย่อยได้แก่ มัลติมีเดียด้านพื้นหลัง มัลติมีเดียด้าน
  • 8. ตัวอักษร มัลติมีเดียด้านภาพประกอบ มัลติมีเดียด้านเสียง และมัลติมีเดียด้านวีดิทัศน์ กลุ่มที่ 2 ด้จนกจรออกแบบ เนื้อหจ (Content Design) ประกอบด้วย 5 ประเด็นย่อย ได้แก่ มัลติมีเดียด้านการออกแบบเนื้อหา ด้านลักษณะ การนาเสนอเนื้อหาในคอร์สแวร์ คุณภาพเนื้อหา ข้อมูล เบื้องต้นคอร์สแวร์ และการประเมินคุณภาพ กลุ่มที่ 3 ด้จนกจรออกแบบส่วนต่อปรศสจนสจหรใบบทเรียน อิเล็กทรอนิกส์ (Courseware Interface Design) ประกอบด้วย 3 ประเด็นย่อยได้แก่ มัลติมีเดียด้านการ ออกแบบจุดเชื่อมโยง การออกแบบระบบนาทาง และ มาตรฐาน SCORM โดยมีอีก 3 ประเด็น ได้แก่ กิจกรรม การเรียน ด้านการทดสอบความรู้ และด้านการให้ข้อมูล ป้ อนกลับ ที่สามารถนาไปใช้ได้ทั้งกลุ่มด้านการออกแบบ เนื้อหาและกลุ่มด้านการออกแบบส่วนต่อประสาน สาหรับบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ รูปที่ 7: ภาพรวมรูปแบบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ฯ 16 ประเด็นแบ่งเป็น 3 ด้านเพื่อการนาไปใช้ 4) กจรออกแบบเว็บไซต์แลศคอร์สแวร์สจหรใบกจรเรียน อีเลิร์นนิง: ทิะทจงในอนจคต นอกจากการนาเสนอแนวทางสาหรับการ ออกแบบเว็บไซต์และคอร์สแวร์สาหรับการเรียน อีเลิร์นนิงเพื่อมุ่งเน้นการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลสูงสุดต่อการเรียนรู้ที่มีประสิทธิผลของ ผู้เรียนแล้วนั้น บทความนี้จะกล่าวถึงทิศทางในอนาคต ของการออกแบบเว็บไซต์และคอร์สแวร์สาหรับการเรียน อีเลิร์นนิง ได้แก่เรื่องเว็บ 3.0 บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ แบบสตรีมมิ่ง (Streaming Courseware) และบทเรียน อีเลิร์นนิงที่สร้างอย่างรวดเร็ว (Rapid E-Learning) รายละเอียดดังนี้ 4.1) ทิะทจงในอนจคตของอีเลิร์นนิงเว็บไซต์: เว็บ 3.0 ลักษณะที่โดดเด่นของเว็บ 3.0 หรือ เว็บเชิง ความหมาย (Semantic Web) นั้นมีอยู่มากมายด้วยกันหลาย ประการผู้เขียนขอยกตัวอย่างคุณสมบัติบางประการที่ มองเห็นว่าจะเอื้อต่อการเรี ยนอีเลิร์นนิงเพื่อให้มี ประสิทธิภาพยิ่ง ขึ้นกล่าวคือ เว็บไซต์แบบ 3.0 นั้นจะอยู่ ภจยใต้ กจรควบคุมของผู้ใช้ มจกยิ่งขึ้น (Mash Up Technology) อันเป็นพื้นฐานของเว็บ 3.0 ที่สามารถคาดเดา ความต้องการ และค้นหาข้อมูลที่ตรงกับความสนใจของ ผู้ใช้งานได้ ซึ่งเป็นสิ่งที่เติมต่อมาจากเว็บ 2.0 ที่ผู้ใช้งาน สามารถเริ่มสร้างเนื้อหาบางส่วนได้เอง ดังตัวอย่างเช่น Search Engine ต่างๆ ที่สามารถคาดเดาความต้องการและ ค้นหาข้อมูลที่ตรงกับความสนใจของผู้ใช้งานได้มากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ กจรเชื่อมโยงของฐจนข้อมูลต่จงๆ เข้จด้วยกใน ดังเช่น FourSquare ซึ่งเป็น Location-Based Social Network คือการผสมผสานกันของ Social Network และ สถานที่ (Location) ที่ผู้ใช้อยู่ Google + ซึ่งเป็น Social Media ตัวใหม่ ล่าสุด ที่มีการเชื่อมโยงฐานข้อมูลต่างๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะ เป็น คุณสมบัติการเพิ่มและติดตามเพื่อนเหมือนการ Follow ใน Twitter คุณสมบัติ Sparks ที่มีหลักการทางานคล้ายกับ RSS Feed ที่ผู้ใช้สามารถเพิ่มความสนใจต่างๆ ลงไปได้ (เว็บไซต์และTag) คุณสมบัติ Hangout คือ การสนทนากลุ่ม แบบ video call ระบบ Instant Upload คือ การอัพโหลดภาพ แบบอัตโนมัติ และ Huddle ที่จะมีลักษณะการทางานคล้าย Whatsapp ผสมกับ Facebook Chat และคุณสมบัติเด่นสุดท้าย คือการที่เว็บมีลใกษณศเป็น 3 มิติ โดยการปรับเปลี่ยนรูปร่าง ของเว็บให้มีลักษณะเป็นพื้นที่ที่มีความเสมือนจริงมากยิ่งขึ้น ด้วยการใช้วัตถุ 3 มิติ เพื่อให้ผู้ใช้ได้สามารถเข้าร่วมกิจกรรม ต่างๆ ร่วมกันได้มากยิ่งขึ้น ดังตัวอย่างเช่น Second Life ของ International Society for Technology in Education: ISTE ที่ ผู้ชมสามารถเข้าร่วมประชุมวิชาการแบบเสมือน (Virtual Participants) ได้ (https://foursquare.com, 2011; https://plus.google.com, 2011; http://secondlife.com, 2011; Ohler, 2008)
  • 9. รูปที่ 8: International Society for Technology in Education: ISTE Second Life (http://www.iste.org) 4.2) ทิะทจงในอนจคตของอีเลิร์นนิงคอร์สแวร์: บทเรียน อิเล็กทรอนิกส์แบบสตรีมมิ่งแลศแรพิดอีเลิร์นนิง อีเลิร์นนิงคอร์แวร์ในปัจจุบันมักอยู่ในรูปแบบ สื่อประสม (Multimedia) เนื่องจากผู้เรียนสามารถเข้าใจ ในเนื้อหาได้ดีกว่าการใช้สื่ออักษร ภาพ หรือเสียง อย่าง ใดอย่างหนึ่งเพียงอย่างเดียว ผนวกกับประสิทธิภาพใน การเข้าถึงผู้รับชมจานวนมากได้ในการนาเสนอเพียงครั้ง เดียว โดยระบบเครือข่ายที่นามาใช้ในการนาเสนอข้อมูล ในรูปแบบนี้ ในสมัยก่อน การนาเสนอสื่อประสมผ่าน เครือข่ายอินเทอร์เน็ตจะใช้การ Download and Play หมายถึงการดาวน์โหลด ข้อมูลทั้งหมดมาก่อนจึงจะ สามารถนามาใช้ฟังและชม ได้ แต่ปัจจุบันการชมอีเลิร์ นนิงคอร์แวร์จาก Streaming Media Server จะแตกต่าง ออกไป โดยที่บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบสตรีมมิ่ง นี้จะสามารถเริ่มเล่นได้เกือบจะในทันทีที่มีการดาวน์ โหลดข้อมูล ผู้เรียนสามารถรับชมสื่อนั้นๆได้ทันที โดย ไม่จาเป็นต้องรอให้ดาวน์โหลด ข้อมูลทั้งหมดก่อน โดย มีบัฟเฟอร์ (Buffer) เป็นตัวช่วย นอกจากนี้ บทเรียน อิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบสตรีมมิ่งนี้ยังสามารถนาเสนอ ได้ทั้งแบบ On-demand และ Broadcast ดังนั้นจึงมีความ ยืดหยุ่น สามารถกาหนดข้อบังคับต่างๆในการนาเสนอได้ จากแนวโน้มดังกล่าว จึงทาให้หลายสถาบันอุดมศึกษาที่ มีการจัดการเรียนการสอนแบบ แรพิดอีเลิร์นนิง (Rapid E-Learning) หรือบทเรียนอีเลิร์นนิงที่สร้างได้อย่าง รวดเร็ว โดยได้เริ่มที่จะปรับเปลี่ยนรูปแบบของการ นาเสนอเนื้อหาจากแบบที่ผู้สอนจะต้องร่วมงานกับ ทีมงานผู้ผลิตอีเลิร์นนิงคอร์สแวร์ เป็ นการที่ผู้สอน สามารถผลิตบทเรียนดังกล่าวได้ด้วยตนเอง ทั้งในรูปแบบ On-demand และแบบ Broadcast ดังแสดงในภาพที่ 8, 9 และ 10 (จินตวีร์ คล้ายสังข์, 2553) รูปที่ 9: อีเลิร์นนิงคอร์แวร์ของ MIT http://ocw.mit.edu/index.htm รูปที่ 10: อีเลิร์นนิงคอร์แวร์ของโครงการมหาวิทยาลัย ไซเบอร์ไทย http://lms.thaicyberu.go.th รูปที่ 11: บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบสตรีมมิ่ง ซึ่งผู้เรียนสามารถรับชมได้เกือบทันทีหลังจาก จบการเรียนการสอนในแต่ละครั้ง
  • 10. 5) สรุป เว็บไซต์& คอร์สแวร์ ในปัจจุบัน มีปัจจัยต่างๆ ที่จะทาให้เอื้อต่อการเรียนรู้แบบอีเลิร์นนิงได้ดีที่สุดดังที่ ได้นาเสนอมาแล้ว องค์กรทางการศึกษาจึงควรให้ ความสาคัญกับองค์ประกอบต่างๆ ดังกล่าว ผนวกกับ เอกลักษณ์และ อัตลักษณ์ขององค์กรนั้นๆ ไม่ว่า จะเป็นในเรื่องของผู้เรียนและบริบทเนื้อหาที่มีความ เฉพาะ ส่วนทิศทางในอนาคตของเว็บไซต์ & คอร์สแวร์ ที่ได้นาเสนอไปแล้วนั้น เมื่อพิจารณาจะเห็นว่าทิศทาง และความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวนั้นเอื้อต่อการส่งเสริม การเรียนรู้ที่เน้นการเข้าถึงเนื้อหาที่รวดเร็วทั่วถึง เหมาะสม และเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญยิ่งขึ้น 6) เอกสจรอ้จงอิง จินตวีร์ มั่นสกุล. (2551). รูปแบบกจรนใดกินกรรมกจรเรียน กจรสอนแบบอีเลิร์นนิงในรศดใบอุดมะึกษจ. วารสาร ครุศาสตร์ปีที่ 37 ฉบับที่ 3. จินตวีร์ คล้ายสังข์. (2553). โครงกจรวินใยรูปแบบเว็บไซต์แลศ รูปแบบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ที่เหมจศสมสจหรใบ ก จ ร เ รี ย น ก จ ร ส อ น แ บ บ อี เ ลิ ร์ น นิ ง ใ น รศดใบอุดมะึกษจ. สานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. จินตวีร์ คล้ายสังข์. (2553). โครงกจรวินใยผลของกจรเรียนแบบ ผสมผสจนที่ใช้คอร์สแวร์ในรูปแบบที่ต่จงกในที่มีต่อ ผลสใมฤทธิ์ทจงกจรเรียนรู้ ในผู้เรียนรศดใบ บใณฑิตะึกษจที่มีรศดใบควจมสจมจรถทจงกจร เรียนรู้ต่จงกในในรจยวิชจโปรแกรมกจรเรียนกจร สอนผ่จนเว็บขใ้นนจ. ทุนวิจัยคณะครุศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. จินตวีร์ คล้ายสังข์ และ ประกอบ กรณีกิจ. (2552). Pedagogy- based Hybrid Learning: นจกแนวคิดสู่กจรปฏิบใติ. วารสารครุศาสตร์ ปี ที่ 38 ฉบับที่ 1 (กรกฎาคม 2552). หน้า 93-108. ใจทิพย์ ณ สงขลา. (2550). E-Instructional Design วิธี วิท ยจ กจ รอ อก แบ บก จร เรี ยน กจ รส อ น อิเล็กทรอนิกส์. กรุงเทพฯ : ศูนย์ตาราและเอกสาร ทางวิชาการ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. ถนอมพร เลาหจรัสแสง. (2548). หลใกกจรออกแบบแลศกจร สร้จงเว็บเพื่อกจรเรียนกจรสอน. กรุงเทพฯ : อรุณ การพิมพ์ Bonk, C. J. & Graham, C. R. (2006). The handbook of blended learning. San Francisco, CA: Pfeiffer. Davidson-Shivers, G.V., Rasmussen, K.L. (2006). Web-Based Learning: Design, implementation, and evaluation. Upper Saddle River, New Jersey: Pearson Education. Monsakul, J. (2007). Learning Management Systems in Higher Education: A Review from Faculty Perspective. Proceedings of the South East Asia Regional Computer Conference 2007 (SEARCC 2007), organized by the South East Asia Regional Computer Confederation, Bangkok, Thailand, November 18-19, 2007. Nichani, M. (2001). LCMS = LMS + CMS [RLOs]. [Online] Available from: http://www. elearning post.com/articles/ archives/ lcms_lms_cms_rlos [2009, April 28] Ohler, J. (2008). What happens when the read-write web gets smart enough to help us organize and evaluate the information it provides? EDUCAUSE Quarterly, vol.31 no. 4 (October–December 2008) Rosenberg, M. J. (2001). E-learning : strategies for delivering knowledge in the digital age. New York : McGraw – Hill. SLOAN, Consortium. (2005). Growing by Degrees Online Education in the United States [Online]. Available from: http://www.sloan-c.org/ resources/growing_by_degree.pdf [2006, November 11] Waterhouse, S. (2005). The Power of E-Learning: The essential guide for teaching in the digital age. Boston, MA: Pearson Education, Inc Western Cooperative for Educational Telecommunications. (2009). Course Management Systems Reviews. [Online]. Available from: http://edutools.info/ static.jsp? pj=8& page=HOME [April 28, 2009] Wilson, D. & Smilanich, E. (2005). The Other Blended Learning. San Francisco, CA: John Wiley & Sons. กิตติกรรมปรศกจะ บทความนี้ เป็ นส่วนหนึ่งของงานวิจัยเรื่อง “รูปแบบเว็บไซต์และรูปแบบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ที่ เหมาะสมสาหรับการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิงใน ระดับอุดมศึกษา” โดยได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจาก โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย สานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ