SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
ตรีโกณมิติ ตรีโกณ ความหมายตามพจนานุกรมแปลว่า สามเหลี่ยม  ตรีโกณมิติ คือ คณิตศาสตร์แขนงหนึ่งที่ว่าด้วยการคำนวณ  มุมของสามเหลี่ยม
ความเป็นมา เมื่อ  640-546  ปี ก่อนคริสต์ศักราช ทาเรส  (thales) คำนวณหาความสูง ของพีรามิด ในประเทศอียิปต์โดยอาศัยเงา วิธีหนึ่งที่ทาเรสใช้คือ คำนวณความสูงของพีรามิดจากความยาวของเงาของพีรามิด ในขณะที่เงาของเขามีความยาวเท่ากับความสูงของเขาเอง อีกวิธีหนึ่งที่ทาเรสใช้คำนวณ ความสูงของพีรามิดคือ การเปรียบเทียบความยาวของเงาของพีรามิดกับความยาวของเงาของไม้ ( ไม้ที่ทราบความยาว ถ้าสมัยนี้ก็คือไม้เมตรนั่นเอง )  โดยอาศัยรูปสามเหลี่ยมคล้าย ซึ่งก็คือ อัตราส่วนตรีโกณมิติที่เรียกว่า  แทนเจนต์   (tangent)  นั่นเอง
อัตราส่วนตรีโกณมิติ    อัตราส่วนตรีโกณมิติ  ( Trigonometric Ratio)  หมายถึง อัตราส่วนของด้านของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก การเรียนในเรื่องนี้ผู้เรียนจำเป็นต้อง ใช้ความรู้เดิมเรื่องสามเหลี่ยมคล้ายเพื่อเป็นพื้นฐานในการทำความเข้าใจ การเรียนวิชาตรีโกณมิติให้ได้ดีนั้นต้องจำนิยามของตรีโกณมิติให้ได้ ระดับมัธยมต้นใช้นิยามสามเหลี่ยมมุมฉาก ซึ่งอัตราส่วนตรีโกณมิติ ก็คือ อัตราส่วนของความยาวด้านสองด้านของสามเหลี่ยมมุมฉากซึ่งจะมีชื่อเรียกดังนี้
จากรูป  ABC  เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก  โดยมี  AĈB  = 90  องศา  ถ้าเราพิจารณาที่มุม  A 1.  ด้าน  AB  เรียกว่า  ด้านตรงข้ามมุมฉาก 2.  ด้าน  BC  เรียกว่า  ด้านตรงข้ามมุม  A 3.  ด้าน  AC  เรียกว่า  ด้านประชิดมุม  A A B C a b c
"Sine A"  ไซน์ของมุม  A  หรือเขียนย่อว่า  sin A  หาได้จากอัตราส่วนของความยาวด้านตรงข้ามมุม  A  ต่อความยาวด้านตรงข้ามมุมฉาก  "Cos A"  โคไซน์ของมุม  A  หรือเขียนย่อว่า  cos A  หาได้จากอัตราส่วนของความยาวด้านประชิดมุม  A  ต่อความยาวด้านตรงข้ามมุมฉาก  "Tangent A"  แทนเจนต์ของมุม  A  หรือเขียนย่อว่า  tan A  หาได้จากอัตราส่วนของความยาวด้านตรงข้ามมุม  A  ต่อความยาวด้านประชิดมุม  A
ส่วนฟังก์ชัน  cosec, sec  และ  cot  นั้น ก็ใช้นิยามเข้าช่วย ซึ่งเป็นส่วนกลับของ  sin, cos  และ  tan  ตามลำดับ จึงต้องจำฟังก์ชัน  sin, cos, tan  ก็จะได้ในส่วนของ  cosec, sec  และ  cot  ขึ้นมาเองโดยอัตโนมัติ  "Cotangent A"  โคแทนเจนต์ของมุม  A  หรือเขียนย่อว่า  cot A  หาได้จากอัตราส่วนของความยาวด้านด้านประชิดมุม  A  ต่อความยาวด้านตรงข้ามมุม  A  "Secant A"  ซีแคนต์ของมุม  A  หรือเขียนย่อว่า  sec A  หาได้จากอัตราส่วนของความยาวด้านตรงข้ามมุมฉาก ต่อ ความยาวด้านประชิดมุม  A  "Cosecant A"  โคซีแคนต์ของมุม  A  หรือเขียนย่อว่า  cosec A  หาได้จากอัตราส่วนของความยาวด้านตรงข้ามมุมฉาก ต่อ ความยาวด้านตรงข้ามมุม  A
ข้อสังเกต 1.  0 < sin A < 1  และ  cosec A > 1 2.  0 < cos A < 1  และ  sec A > 1 3.  sin ( A + B )     sin A + sin B 4.  =   5.  (sin A)(sin A)  =  (sin A) 2   =  sin 2 A     sin A 2 6.  sin A  =  cos ( 90 – A ) 7.  cos A  =  sin ( 90 – A ) 8.  tan A  =  cot ( 90 – A ) 9.  sec A  =  cosec ( 90 – A )
ค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติ  อัตราส่วนตรีโกณมิติ
เอกลักษณ์ตรีโกณมิติ นิยาม เอกลักษณ์ตรีโกณมิติ  คือ  การเท่ากันของอัตราส่วนตรีโกณมิติที่ต่างกันและเป็นจริงสำหรับทุกๆค่าขององศา  เมื่อกำหนด  A  เป็นมุมแหลม   1.  sin A  x  cosec A  = 1  2.  cos A  x  sec A  = 1 3.  tan A  x  cot A  = 1 4.  cos A  x  tan A  = sin A 5.  cot A  x  sin A  = cos A 6.  sin 2 A  +  cos 2 A  = 1 7.  sec 2 A  -  tan 2 A  = 1 8.  cosec 2 A  -  cot 2 A  = 1
  ฟังก์ชันของมุมรอบจุด ข้อสังเกต     1.  ฟังก์ชัน       90o    +    A        ,          270o    +    A                  จะได้    co-function    2.  ฟังก์ชัน     180o    +    A        ,     n  .  360o    +    A    ,   -A       จะได้ฟังก์ชันเดิม
- sin A cos A - tan A - cot A sec A - csc A sin A cos A tan A cot A sec A csc A - sin A cos A - tan A - cot A sec A - csc A -cos A sin A - cot A - tan A csc A - sec A - cos A - sin A cot A tan A - csc A - sec A - sin A - cos A tan A cot A - sec A - csc A sin A - cos A - tan A - cot A - sec A csc A cos A - sin A - cot A - tan A - csc A sec A cos A sin A cot A tan A csc A sec A sin cos tan cot sec csc - A  360 o  + A  360 o  - A  270 o  + A  270 o  - A  180 o  + A  180 o  - A  90 o  + A  90 o  - A
หน่วยองศา 1  องศา       60' ( ลิปดา )  1  ลิปดา      60&quot; ( ฟิลิปดา ) หน่วยเรเดียน   มุม
เครื่องหมายของฟังก์ชันตรีโกณมิติตามควอแดรนต์

More Related Content

Similar to 3

ตรีโกณ
ตรีโกณตรีโกณ
ตรีโกณguestf22633
 
ตรีโกณ.
ตรีโกณ.ตรีโกณ.
ตรีโกณ.guestf22633
 
สรุปตรีโกณมิติ
สรุปตรีโกณมิติสรุปตรีโกณมิติ
สรุปตรีโกณมิติThphmo
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติchanphen
 
ฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWAN
ฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWANฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWAN
ฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWANNan's Tippawan
 
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธ
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธบทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธ
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธChattichai
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์Thepsatri Rajabhat University
 

Similar to 3 (15)

1
11
1
 
ตรีโกณ
ตรีโกณตรีโกณ
ตรีโกณ
 
02
0202
02
 
03
0303
03
 
ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]
 
ตรีโกณ.
ตรีโกณ.ตรีโกณ.
ตรีโกณ.
 
สรุปตรีโกณมิติ
สรุปตรีโกณมิติสรุปตรีโกณมิติ
สรุปตรีโกณมิติ
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
ฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWAN
ฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWANฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWAN
ฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWAN
 
Chap5 1
Chap5 1Chap5 1
Chap5 1
 
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธ
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธบทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธ
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธ
 
Trigonometry1
Trigonometry1Trigonometry1
Trigonometry1
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
 
งาน 502 1
งาน 502 1งาน 502 1
งาน 502 1
 
งาน503 1
งาน503 1งาน503 1
งาน503 1
 

3

  • 1. ตรีโกณมิติ ตรีโกณ ความหมายตามพจนานุกรมแปลว่า สามเหลี่ยม ตรีโกณมิติ คือ คณิตศาสตร์แขนงหนึ่งที่ว่าด้วยการคำนวณ มุมของสามเหลี่ยม
  • 2. ความเป็นมา เมื่อ 640-546 ปี ก่อนคริสต์ศักราช ทาเรส (thales) คำนวณหาความสูง ของพีรามิด ในประเทศอียิปต์โดยอาศัยเงา วิธีหนึ่งที่ทาเรสใช้คือ คำนวณความสูงของพีรามิดจากความยาวของเงาของพีรามิด ในขณะที่เงาของเขามีความยาวเท่ากับความสูงของเขาเอง อีกวิธีหนึ่งที่ทาเรสใช้คำนวณ ความสูงของพีรามิดคือ การเปรียบเทียบความยาวของเงาของพีรามิดกับความยาวของเงาของไม้ ( ไม้ที่ทราบความยาว ถ้าสมัยนี้ก็คือไม้เมตรนั่นเอง ) โดยอาศัยรูปสามเหลี่ยมคล้าย ซึ่งก็คือ อัตราส่วนตรีโกณมิติที่เรียกว่า แทนเจนต์ (tangent) นั่นเอง
  • 3. อัตราส่วนตรีโกณมิติ   อัตราส่วนตรีโกณมิติ ( Trigonometric Ratio) หมายถึง อัตราส่วนของด้านของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก การเรียนในเรื่องนี้ผู้เรียนจำเป็นต้อง ใช้ความรู้เดิมเรื่องสามเหลี่ยมคล้ายเพื่อเป็นพื้นฐานในการทำความเข้าใจ การเรียนวิชาตรีโกณมิติให้ได้ดีนั้นต้องจำนิยามของตรีโกณมิติให้ได้ ระดับมัธยมต้นใช้นิยามสามเหลี่ยมมุมฉาก ซึ่งอัตราส่วนตรีโกณมิติ ก็คือ อัตราส่วนของความยาวด้านสองด้านของสามเหลี่ยมมุมฉากซึ่งจะมีชื่อเรียกดังนี้
  • 4. จากรูป ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก โดยมี AĈB = 90 องศา ถ้าเราพิจารณาที่มุม A 1. ด้าน AB เรียกว่า ด้านตรงข้ามมุมฉาก 2. ด้าน BC เรียกว่า ด้านตรงข้ามมุม A 3. ด้าน AC เรียกว่า ด้านประชิดมุม A A B C a b c
  • 5. &quot;Sine A&quot; ไซน์ของมุม A หรือเขียนย่อว่า sin A หาได้จากอัตราส่วนของความยาวด้านตรงข้ามมุม A ต่อความยาวด้านตรงข้ามมุมฉาก &quot;Cos A&quot; โคไซน์ของมุม A หรือเขียนย่อว่า cos A หาได้จากอัตราส่วนของความยาวด้านประชิดมุม A ต่อความยาวด้านตรงข้ามมุมฉาก &quot;Tangent A&quot; แทนเจนต์ของมุม A หรือเขียนย่อว่า tan A หาได้จากอัตราส่วนของความยาวด้านตรงข้ามมุม A ต่อความยาวด้านประชิดมุม A
  • 6. ส่วนฟังก์ชัน cosec, sec และ cot นั้น ก็ใช้นิยามเข้าช่วย ซึ่งเป็นส่วนกลับของ sin, cos และ tan ตามลำดับ จึงต้องจำฟังก์ชัน sin, cos, tan ก็จะได้ในส่วนของ cosec, sec และ cot ขึ้นมาเองโดยอัตโนมัติ &quot;Cotangent A&quot; โคแทนเจนต์ของมุม A หรือเขียนย่อว่า cot A หาได้จากอัตราส่วนของความยาวด้านด้านประชิดมุม A ต่อความยาวด้านตรงข้ามมุม A &quot;Secant A&quot; ซีแคนต์ของมุม A หรือเขียนย่อว่า sec A หาได้จากอัตราส่วนของความยาวด้านตรงข้ามมุมฉาก ต่อ ความยาวด้านประชิดมุม A &quot;Cosecant A&quot; โคซีแคนต์ของมุม A หรือเขียนย่อว่า cosec A หาได้จากอัตราส่วนของความยาวด้านตรงข้ามมุมฉาก ต่อ ความยาวด้านตรงข้ามมุม A
  • 7. ข้อสังเกต 1. 0 < sin A < 1 และ cosec A > 1 2. 0 < cos A < 1 และ sec A > 1 3. sin ( A + B )  sin A + sin B 4. =  5. (sin A)(sin A) = (sin A) 2 = sin 2 A  sin A 2 6. sin A = cos ( 90 – A ) 7. cos A = sin ( 90 – A ) 8. tan A = cot ( 90 – A ) 9. sec A = cosec ( 90 – A )
  • 9. เอกลักษณ์ตรีโกณมิติ นิยาม เอกลักษณ์ตรีโกณมิติ คือ การเท่ากันของอัตราส่วนตรีโกณมิติที่ต่างกันและเป็นจริงสำหรับทุกๆค่าขององศา เมื่อกำหนด A เป็นมุมแหลม 1. sin A x cosec A = 1 2. cos A x sec A = 1 3. tan A x cot A = 1 4. cos A x tan A = sin A 5. cot A x sin A = cos A 6. sin 2 A + cos 2 A = 1 7. sec 2 A - tan 2 A = 1 8. cosec 2 A - cot 2 A = 1
  • 10.   ฟังก์ชันของมุมรอบจุด ข้อสังเกต   1. ฟังก์ชัน       90o    +   A        ,         270o    +   A                  จะได้    co-function   2. ฟังก์ชัน     180o    +   A        ,    n  .  360o    +   A    ,   -A       จะได้ฟังก์ชันเดิม
  • 11. - sin A cos A - tan A - cot A sec A - csc A sin A cos A tan A cot A sec A csc A - sin A cos A - tan A - cot A sec A - csc A -cos A sin A - cot A - tan A csc A - sec A - cos A - sin A cot A tan A - csc A - sec A - sin A - cos A tan A cot A - sec A - csc A sin A - cos A - tan A - cot A - sec A csc A cos A - sin A - cot A - tan A - csc A sec A cos A sin A cot A tan A csc A sec A sin cos tan cot sec csc - A 360 o + A 360 o - A 270 o + A 270 o - A 180 o + A 180 o - A 90 o + A 90 o - A
  • 12. หน่วยองศา 1 องศา       60' ( ลิปดา ) 1 ลิปดา      60&quot; ( ฟิลิปดา ) หน่วยเรเดียน มุม