Advertisement

การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ

Dec. 17, 2012
Advertisement

More Related Content

Slideshows for you(20)

Advertisement

Similar to การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ(20)

More from techno UCH(20)

Advertisement

การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ

  1. ปญหาที่พบบอยในระบบทางเดินหายใจ ภาวะการหายใจลมเหลว(Respiratory Failure) เปนภาวะที่ระบบหายใจไมสามารถทําหนาที่ระบายอากาศและ แลกเปลี่ยนกาซไดเพียงพอกับความตองการของรางกายจะมีระดับ ออกซิเจนในเลือดแดง (PaO2) ต่ํากวาปกติ และ/หรือ คารบอนไดซ ในเลือด (PaCo2) สูงกวาปกติและรางกายมีความเปนกรดมากขึ้น
  2. ซึ่งเกณฑที่ใชในการวินิจฉัยจากผล ABG วามีภาวะ หายใจลมเหลวคือ (สุจินดา ริมศรีทอง, 2545 อางถึงใน McCane,1998) PaO2 < 50-60 mm.Hg PaCo2 > 50 mm.Hg PH < 7.25 การรักษา ควรไดรับการบริหารดวยออกซิเจน ระยะเฉียบพลัน PaO2 <60 mmHg + SaO2 < 90% ระยะเรื้อรัง PaO2 <60 mmHg
  3. ชนิดของภาวะการหายใจลมเหลว *แบงตามระยะเวลาของการเริ่มตนการเกิด สามารถ แบงไดเปน 2 ชนิดคือ 1.การหายใจลมเหลวอยางเฉียบพลัน (Acute respiratory failure) คือ ภาวะที่มีการพรองของ ออกซิเจนในเลือดแดง (Hypoxemia) โดยมี PaO2 ต่ํากวา 50 มม.ปรอท หรือคารบอนไดออกไซดคั่ง (Hypercapnia) โดยมี PaCo2 สูงกวา 50 มม.ปรอท เกิดขึ้นอยางรวดเร็ว
  4. 2. การหายใจลมเหลวอยางเรื้อรัง (Chronic respiratory failure) หมายถึง ภาวะที่มีการพรองของ ออกซิเจนในเลือดแดง และคารบอนไดออกไซดสูงขึ้น อยางคอยเปนคอยไป โดยเกิดหลัง 48-72 ชม. รางกาย สามารถปรับชดเชยโดยการสรางเม็ดเลือดแดงเพิมขึ้น ่ และไตชดเชยภาวะการเปนกรดดางของรางกายโดยการ เก็บคารบอเนตไวเพิมขึ้น มีผลให HCO3 – ่ ในเลือดสูงขึ้น
  5. * แบงตามกลไกการเกิดและคาของกาซในเลือดแดง สามารถแบงไดเปน 2 ชนิดคือ 1. การถายออกซิเจนลมเหลว (Oxygenation 5failure/ type I respiratory failure/ non-hypercapnic type) คือ ภาวะหายใจ ลมเหลวที่เกิดจากความผิดปกติของการแลกเปลี่ยนกาซ เนื่องจากความ ผิดปกติของเนื้อปอดและหลอดเลือดปอด ซึ่งมีผลใหระดับออกซิเจนใน เลือดแดงลดลง แตไมมีการคั่งของ CO2 เนื่องจากรางกายปรับสภาพ โดยการเพิ่มการระบายอากาศในถุงลมสวนอื่นที่ปกติ
  6. 2.การระบายอากาศลมเหลว (Ventilatory failure/ hypercapnic respiratory failure/type II respiratory failure/ pump failure) เกิดจากการระบายอากาศนอยกวาปกติ อากาศ ไมสามารถกระจายไปยังทุกถุงลมอยางสม่ําเสมอ การระบาย อากาศจึงไมเพียงพอ สําหรับการแลกเปลี่ยนกาซมีการคั่งของ CO2 ในเลือด เกิดการพรองออกซิเจนเนื่องจากไดรบ O2 นอย ั และถูกเจือจางโดย CO2 ที่มีจํานวนมาก มีสาเหตุจากความ ผิดปกติของศูนยหายใจ โรคของกลามเนื้อและประสาท ความ ผิดปกติของทรวงอก เปนผลใหการระบายอากาศถุงลมลดลง
  7. สาเหตุของภาวะการหายใจลมเหลว 1.ความผิดปกติที่ปอด ไดแก 1.1 Obstructive pulmonary function เชน ผูปวยที่มี asthma อยางรุนแรง โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง สิ่ง แปลกปลอมอุดกั้นหลอดลม 1.2 Restrictive pulmonary function เชน ปอดอักเสบ (pneumonia) น้ําทวมปอด (pulmonary edema) ปอด แฟบ (atelectasis)
  8. 1.3 ความผิดปกติของหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงปอด เชน มี pulmonary embolism 2.ความผิดปกติที่ชองทรวงอกและเยื่อหุมปอด เชน chest injury การไดรับการผาตัดชองทรวงอก 3.ความผิดปกติที่ระบบประสาทสวนกลาง เชน ศูนย ควบคุมการหายใจถูกกด สมองไดรับบาดเจ็บ สมองขาด เลือดไปเลี้ยง สมองอักเสบ
  9. 4. ความผิดปกติของระบบประสาท และ กลามเนื้อ เชน บาดทะยัก โปลิโอ การ บาดเจ็บของไขสันหลัง Myasthenia Gravis, Guillain Barre Syndrome 5.ความผิดปกติของระบบหัวใจและหลอด เลือด เชน Shock, Left side heart failure
  10. อาการและอาการแสดง เมื่อมีภาวะการหายใจลมเหลวอาการและอาการแสดง ที่พบจะเปนการปรับตัวชดเชยของอวัยวะตางๆตอ ภาวะ Hypoxemia คือ 1.Respiratory system : หายใจเร็ว หายใจลําบาก แตในระยะทายจะมีอาการหายใจเบาตื้น ชาลง จนกระทั่งหยุดหายใจ และ มีอาการเขียว
  11. 2.Cardiovascular system : ชีพจรเตนเร็ว ความ ดันโลหิตสูง อาจมีการเตนของหัวใจผิดจังหวะ (arrhythmia) และ ระยะทายมี Hypotension 3.Central nervous system : ระดับความรูสึกตัว เปลี่ยนไป สับสน ไมมีสมาธิกระสับกระสาย ถามี ภาวะ Hypoxemia รุนแรงมากขึ้นผูปวยจะซึมลงและ ไมรูสึกตัว และ มีอาการแสดงของ Hypercapnia คือ ปวดศีรษะ ผิวหนังแดงอุน ซึมลง ชัก และ ไมรูสึกตัว ได
  12. 4.Hematologic effect : เม็ดเลือดแดงเพิ่มขึ้น (Polycytemia) เพื่อเพิ่มออกซิเจนในเลือด ซึ่ง ตอมาเลือดจะหนืดมากขึ้น 5.Acid-base balance : เมื่อมีภาวะ Hypoxemia รุนแรงมากขึ้น เลือดมีภาวะเปน กรดมากขึ้น จะกระตุนการหายใจเร็วขึ้นเปน การชดเชย (compensate) ลดความเปนกรด
  13. การรักษา มีหลักการดังนี้ 1.ใหเนื้อเยื่อไดรับออกซิเจนอยางเพียงพอ โดยมี วิธีคือ 1.1 ให O2 เพื่อแกไขภาวะ Hypoxemia 1.2 แกไขภาวะอุดกั้นในหลอดลม 1.3 การแกไขภาวะ Alveolarhypoventilation
  14. 2.การรักษาโรคหรือสาเหตุที่ทาใหเกิด ํ ภาวะการหายใจลมเหลว เชน ในรายที่ปอด อักเสบตองใหยาปฏิชีวนะที่เหมาะสม 3.การรักษาตามอาการ เชน การใหอาหาร และน้ําอยางเพียงพอ
  15. การพยาบาลผูปวยที่มีปญหา ระบบทางเดินหายใจ  การประเมินผูปวยระบบทางเดินหายใจ  การวางแผนการพยาบาล
  16. การวางแผนการพยาบาล  จากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของ พบวาขอวินิจฉัยการพยาบาลทีพบบอยในการ ่ ดูแลผูปวยที่มีปญหาในระบบทางเดินหายใจมี ทั้งปญหาจริง (Actual problems) และ ปญหาเสี่ยง (Potential problems) ดังนี้
  17.  (เสี่ยงตอ) การอุดกั้นทางเดินหายใจ (Ineffective airway clearance เนื่องจาก * รางกายสรางเสมหะมาก * มีภาวะติดเชื้อหรือภาวะขาดน้ํา * ไอไมมีประสิทธิภาพ วัตถุประสงค เพื่อเพิ่มความสามารถในการ ขับเสมหะ และปองกันไมเกิดการอุดกั้น ทางเดินหายใจ
  18. กิจกรรมการพยาบาล 1.เพิ่มความสามารถในการขับเสมหะของ pt. โดย 1.1 การฝกไอ (coughing exercise) 1.2 การทํากายภาพบําบัดทางเดินหายใจ (chest physical therapy) เชน percussion, vibration, postural drainage 1.3 การดูดเสมหะ (tracheal suction) 1.4 การใหละอองไอน้ําและความชื้น (dilivery of humidity or aerosol therapy)
  19. เสี่ยงตอภาวะเนื้อเยื่อขาดออกซิเจน เนื่องจาก – ประสิทธิภาพในการแลกเปลียนกาซที่ปอด ่ ลดลงจากพยาธิสภาพของโรคปอดอักเสบ/ ARDS/ COPD - ผูปวยมีความจําเปนตองไดรับยากดศูนยหายใจ เพื่อการรักษา
  20. วัตถุประสงค เพื่อปองกันภาวะเนื้อเยื่อขาดออกซิเจน/ เพื่อให รางกายไดรับออกซิเจนอยางเพียงพอ กิจกรรมการพยาบาล 1.ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะขาด O2 2.วัด V/S / O2 sat 3.ดูแลใหไดรับ O2 และ หมั่นตรวจขวดรับน้ํา/Respirator 4.จัดให pt.นอนในทาศีรษะสูง (Fowler’s position)
  21. 5.ดูแลทางเดินหายใจใหโลง โดยการ suction/ ใสทอขวางปาก(oral airway) ในรายที่ลิ้นตก 6.การฝกไอ (coughing exercise) 7.การทํากายภาพบําบัดทางเดินหายใจ (Chest physical therapy) เชน percussion, vibration, postural drainage 8.เปลี่ยนทานอนใหผปวยทุก 1-2 ชม. ู
  22. 9.ดูแลชวยเหลือในการทํากิจกรรม 10.ดูแลให pt. พักผอน 11.ดูแลใหไดรับน้ําและอาหารอยางเพียงพอ 12.ดูแลการไดรับยาตามแผนการรักษา (Bronchodilator/ Diuretic/ Antibiotic) 13.ติดตามและประเมินเปรียบเทียบคา ABG
  23. เสี่ยงตอการติดเชื้อ ของระบบทางเดินหายใจ วัตถุประสงค ปองกันการติดเชื้อของระบบหายใจ กิจกรรมการพยาบาล 1.ประเมินอาการและอาการแสดงของการติด เชื้อในระบบทางเดินหายใจ 2.วัด V/S
  24. 3.ในกรณีที่ pt.ไดรับการรักษาโดยการใชเครื่องชวยหายใจ ทอระบายทรวงอกหรือหลอดลมคอ ควรใหการพยาบาล ตามหลักเทคนิค (Sterile/ aseptic) 4.เปลี่ยนทานอนทุก 1-2 ชม. เพื่อปองกันมิใหเสมหะคั่ง 5.การทํากายภาพบําบัดทางเดินหายใจ (chest physical therapy) เชน percussion, vibration, postural drainage 6.ในกรณีมีเสมหะชวยดูดเสมหะ (suction)
  25. 7. แนะนําให pt. รักษาสุขภาพโดย * ฝกนิสัยการรับประทานอาการใหเหมาะกับโรค และ รับประทานอาหารที่เปนประโยชนตอรางกาย หลีกเลี่ยง อากาศที่เย็นจัด/ รอนจัด * รักษาชองปาก ฟน ใหสะอาดอยูเสมอ เพื่อปองกันการ ติดเชื้อของทางผานอากาศหายใจ * พักผอนและออกกําลังกายอยางสม่ําเสมอ * แนะนําให pt.หลีกเลี่ยงการเขาใกลผูที่เปนโรคติดเชื้อ ระบบทางเดินหายใจ 8.ดูแลใหไดรับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา 9.ติดตามผลตรวจทางหองปฏิบัติการ เชน wbc, sputum gramstain/ culture
  26. เจ็บหนาอก วัตถุประสงค อาการเจ็บหนาอกเมื่อออกกําลังกายลดลง กิจกรรมการพยาบาล ให pt.งดออกกําลังกาย และพักผอนใหมากขึ้น ระยะเวลา การพักผอนจะมากนอยเพียงใดขึ้นอยูกับสาเหตุ พยาธิสภาพ และความรุนแรงของโรค เมื่ออาการเจ็บหนาอกลดลงหรือ หายไปจึงเริ่มออกกําลังกายใหม การเริ่มออกกําลังกายควร กระทําทีละนอยและคอยๆ เพิ่มเวลามากขึ้น
  27. วัตถุประสงค อาการเจ็บหนาอกเนื่องมาจากการอักเสบของ เยื่อหุมปอดลดลง กิจกรรมการพยาบาล แนะนําให pt. นอนทับขางที่อักเสบเพราะจะ ชวยลดการเคลื่อนไหวของปอดและเยื่อหุม ปอด หากยังคงเจ็บปวดและไมไดพักผอน ควรใหยาแกปวดตามแผนการรักษา และ สังเกตผลขางเคียงของยาทุกครัง ้
  28. วัตถุประสงค อาการเจ็บหนาอกเนื่องจากการไอบรรเทาลง กิจกรรมการพยาบาล กระตุนให pt.ไออยางมีประสิทธิภาพ หากดื่มน้ําไดใหดื่ม น้ําอุนๆ อมกลั้วคอ (หากไมมีขอหามดื่มประมาณ 2000- 3000 cc/ day) เพื่อละลายเสมหะและไอออกมาไดงาย และทําความสะอาดปากหลังบวนเสมหะ ในรายที่ไมมี เสมหะควรใหยาแกไอเพื่อชวยบรรเทาอาการไอ
  29.  มีความไมสุขสบายของรางกายจากการ หายใจลําบาก วัตถุประสงค pt.มีความสุขสบายและผอนคลายทั้งรางกาย และจิตใจ กิจกรรมการพยาบาล 1.แนะนําให pt.หายใจแบบหอปาก (pursed lips breathing) 2.นวดหลัง เพื่อให pt.รูสึกสบายและกระตุน ใหโลหิตไหลเวียนสะดวกขึ้น
  30. 3.งดใชแปงฝุนในการนวดหลังเพราะจะระคาย เคืองระบบหายใจ ทําใหหายใจลําบากได 4.เปลี่ยนทานอนเพื่อใหหายใจไดสะดวกขึ้น 5.จัดสิ่งแวดลอมใหเงียบ สะอาด ปลอดโปรง เพื่อให pt.พักผอนและลดการใช O2 ของ รางกาย 6.ดูแลใหไดรับยาตามแผนการรักษา
  31.  เสี่ยงตอการกลับเปนซ้ําของโรค วัตถุประสงค ปองกันการกลับเปนซ้ําของโรค กิจกรรมการพยาบาล 1.วางแผนรวมกับ pt. เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตน ใหแข็งแรงอยูเสมอ โดยการรับประทานอาหารที่มี ประโยชน ออกกําลังกายสม่ําเสมอ และพักผอนอยาง เพียงพอ 2.แนะนําให pt.หลีกเลี่ยงการเขาใกลผูที่เปนโรคติดเชื้อ ระบบทางเดินหายใจ
  32. 3.แนะนําให pt.อยูในที่ที่อากาศถายเทดี อบอุน และ หลีกเลี่ยงการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิแวดลอมโดย กะทันหัน 4.ในการ breathing exercise แตละครั้ง ฝกให pt. สูด หายใจเขาลึกๆ ติดตอกันอยางนอย 10-20 ครั้ง ทําเปนกิจวัตรประจําวันเชา-เย็น เพื่อความ แข็งแรงของปอด หรือ อาจใชวิธีการเปาลูกโปงก็ได 5.ในกรณีมีเสมหะ ควรฝกใหมีการไออยางมี ประสิทธิภาพ
  33. 6.แนะนําให pt.รักษาความสะอาดของปากฟนอยาง สม่ําเสมอ เพื่อปองกันการติดเชื้อของระบบทางเดิน หายใจ 7.สอนให pt.รูจักสังเกตตนเองเกี่ยวกับอาการเหนื่อย หอบ หายใจลําบาก ลักษณะสีเล็บมือ เล็บเทา ถามี ความผิดปกติควรมาพบแพทย 8.เนนให pt.เห็นความสําคัญของการมาตรวจตาม แพทยนัด เพื่อการรักษาพยาบาลจะไดตอเนื่อง
  34. วิตกกังวลเกี่ยวกับภาวะของโรค วัตถุประสงค เพื่อลดความวิตกกังวลของผูปวย กิจกรรมการพยาบาล 1.สรางสัมพันธภาพที่ดีตอผูปวยโดยปลอบโยนให กําลังใจดวยทาทางเปนกันเอง ยิ้มแยมแจมใส ให ความเอาใจใส หมั่นตรวจเยี่ยม ฯลฯ เพื่อให pt.เกิด ความรูสึกอบอุนและไววางใจ
  35. 2.อธิบายใหผูปวยและญาติเขาใจถึงการดําเนินของโรค ตลอดจนการรักษาโรคที่เปนอยู ควรจะแนะนําใหผูปวย ทราบถึงความรุนแรงของโรคและประโยชนของการ รักษา เพื่อคลายความวิตกกังวลเกี่ยวกับสภาพความ เปนอยูของตน 3.เปดโอกาสใหผูปวยและญาติซักถามขอสงสัยและ อธิบายเพิ่ม 4.ฝกการผอนคลายใหแก pt. โดย - จัดทาให pt.อยูในทาที่สบาย - ให pt.สูดหายในเขาชาๆ ลึกๆ และหายใจออกชาๆ ทําประมาณ 2-3 ครั้ง
  36. - บอกให pt.ผอนคลายรางกายตังแตศีรษะ ้ จนถึงเทาโดยให pt.นึกถึงความอบอุนที่รูสึกได บริเวณปลายมือและปลายเทา - แนะนําให pt. ทําสมาธิ 5.จัดกิจกรรมพิเศษหรืองานอดิเรกเบาๆที่ไม ขัดกับโรคให pt.ทําเพื่อเบนความสนใจไปจาก ความทุกขทรมานจากความเจ็บปวย
  37. 6.ประเมินความสัมพันธภายในครอบครัวของ pt. เพื่อใหคําแนะนําแกสมาชิกครอบครัวและเกิด การยอมรับซึ่งกันและกัน ซึ่งจะชวยลดความวิตก กังวลของ pt.ไดสวนหนึ่ง 7.จัดสิ่งแวดลอมใหเงียบ สะอาด ปลอดโปรง เพื่อให pt.รูสึกผอนคลายและพักผอนได
  38. การเคลื่อนย้ ายผู้ป่วยที่มีปัญหาทางระบบหายใจ ผู้ป่วยทีมปัญหาทางระบบหายใจ มีอาการดังนี้ ่ ี 1.อัตราหายใจมากกว่า 30 คร้ ัง/นาที 2. หอบเหนื่อย ใชกลามเน้ือบริเวณคอและทรวงอกในการหายใจ ้ ้ 3.ตองไดรับออกซิเจน ้ ้ 4.ใส่ ท่อช่วยหายใจ 5.ภาวะความดันโลหิ ตตํ่า 6.มีโอกาสเกิดการอุดกั้นทางเดินหายใจ ้ ่ 7.หยดหายใจหรือหายใจนอยกวา 8 คร้ ัง/ นาที หรื อ ต้องช่วยหายใจ ุ
  39. ข้ันตอนการเคลอนย้าย ื่ 1.แจ้งหน่วยงานที่จะรับผูป่วยทราบถึงสภาพผูป่วย ้ ้ ่ 2.เตรี ยมผูป่วยให้อยูในสภาพที่เหมาะสมก่อนการเคลื่อนย้าย หากไม่พร้อม ้ ควรแกไขหรือ**ให้การรักษาก่อน เช่น การหายใจช้า/ไม่หายใจ,ความดน ้ ั โลหิ ตตํ่า,ภาวะpneumothorax/hemothorax 3.เฝ้ าระวงและใหการรักษาต่อเนื่องตลอดเวลาที่เคลื่อนยาย สัญญาณชีพ,ยา, ั ้ ้ นํ้าเกลือ 4.ป้ องกันอันตรายจากการเคลื่อนย้ายโดยเฉพาะผูป่วยที่ไม่รู้สึกตัว ้ 5.ผูป่วยที่ใส่ chest drain ควรดูแลใหเ้ หมาะสมไม่ควรclamp สายตลอดเวลา ้ 6.มีบุคลากรที่เหมาะสมไปกบผป่วยั ู้ 7.เมื่อเคลื่อนยายไปถึงหน่วยงานใหม่แลว ควรตรวจวดสัญญาณชีพทนที ้ ้ ั ั
  40. THE END
Advertisement