SlideShare a Scribd company logo
1 of 46
Download to read offline
ภาคพิเศษ
เพือช่วยในการศึกษาค้นคว้านำมาปฏิบติ
  ่                              ั

สวนสรุปหลักเกณฑ์วธการระงับอธิกรณ์
 ่               ิี
     แผนผังที่ ๑ สรุปวิธการทางสงฆ์เพือจัดการอธิกรณ์
                        ี           ่

           ตารางอธิบายอธิกรณ์ ๔ และอธิกรณสมถะ ๗

     แผนผังที่ ๒ วธการลงโทษ ทีเ่ กิดเพราะเหตุอาชีวะหรือปาติโมกข์
                  ิี

     แผนผังที่ ๓ วธการลงโทษ ทเกิดเพราะเหตุมรรคหรือปฏิปทา
                  ิี         ่ี

สวนช่วยศึกษาค้นคว้าสิกขาบททีมลกษณะเดียวกัน
 ่                          ่ ีั

สวนดัชนี (ชวยค้นหาคำ โดยเรียงตามลำดับอักษร)
 ่         ่
     ดชนีเนือเรืองพระวินย
      ั ้ ่             ั

     ดชนีเนือเรืองพระธรรม
      ั ้ ่

     ดชนีชอเฉพาะ (อสาธารณนาม)
      ั ่ื
ถุงลม

            “ภิกษุ! ภิกษุในกรณีน้ี ย่อมเล่าเรียนปริยตธรรม (นานาชนิด)ั ิ
คือ สุตตะ เคยยะ เวยยากรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาตกะ
อัพภูตธัมมะ เวทัลละ; เธอใช้เวลาทั้งวันให้เปลืองไปด้วยการเรียน
ธรรมนั้น ต้องเลิกร้างจากการหลีกเร้น ไม่ประกอบซึ่งธรรมเป็นเครื่อง
สงบใจในภายใน. ภิกษุน้ี เราเรียกว่า ผมากไปด้วยปริยติ (นกเรียน)
                                                         ู้                ั ั
ยังมิใช่ธรรมวิหารี (ผอยูด้วยธรรม).
                          ู้ ่
            อี ก อย่ า งหนึ ่ ง , ภิ ก ษุ แสดงธรรมตามที ่ ไ ด้ ฟ ั ง ได้ เ รี ย นมา
แก่คนอืนโดยพิสดาร, เธอใช้เวลาทังวันให้เปลืองไปด้วยการบัญญัติ ธรรมนัน
         ่                                 ้                                          ้
ต้ อ งเลิ ก ร้ า งจากการหลี ก เร้ น ไม่ ป ระกอบซึ ่ ง ธรรมเป็ น เครื ่ อ ง
สงบใจในภายใน. ภิกษุน้ี เราเรียกว่า ผมากไปด้วยบัญญัติ (นกแต่ง)
                                                      ู้                          ั
ยังมิใช่ธรรมวิหารี (ผอยูด้วยธรรม).
                          ู้ ่
                 ี
            อกอย่างหนึง, ภิกษุ ทำการสาธยายธรรมตามทีได้ฟง ได้เรียน
                              ่                                           ่ ั
มาโดยพิสดาร,เธอใช้เวลาทั้งวันให้เปลืองไปด้วยการสาธยาย ธรรมนั้น
ต้ อ งเลิ ก ร้ า งจากการหลี ก เร้ น ไม ่ ประกอบซึ ่ ง ธรรม เป็ น เครื ่ อ ง
สงบใจในภายใน. ภกษุน้ี เราเรียกว่า ผมากไปด้วยการสวด (นักสวด)
                                  ิ                ู้
                                ู้ ่ ้
ยังมิใช่ ธรรมวิหารี (ผอยูดวยธรรม).
               ี
            อกอย่างหนึง, ภิกษุ คิดพล่านไปในธรรมตามทีได้ฟง ได้เรียนมา,
                            ่                                           ่ ั
เธอใช้ เ วลาทั ้ ง วั น ให้ เ ปลื อ งไป                     ด้ ว ยการคิ ด พล่ า นใน
ธรรมนั้น ต้องเลิกร้างจากการหลีกเร้น ไม่ประกอบซึ่งธรรมเป็นเครื่อง
                                    ิ
สงบใจ ในภายใน. ภกษุน้ี เราเรียกว่า ผมากไปด้วยการคิด (นกคิด) ู้                      ั
                         ู้ ่
ยังมิใช่ธรรมวิหารี (ผอยูด้วยธรรม).
                                       (พระไตรปิฎกบาลี สยามรัฐ ๒๒ / ๙๘ / ๗๓ )

                                                                                  ซือสัตย์ตอพระพุทธองค์
                                                                                    ่      ่
                                                                                  ซอตรงต่อพระธรรมวินย
                                                                                   ่ื                ั
                                                                                  ให้พระสงฆ์เป็นใหญ่
                                                                                  ใฝ่ใจพระนิพพาน ฯ .
๔๗๕


     ส่วนสรุปหลักเกณฑ์วธการระงับอธิกรณ์
                       ิ ี
          เพื่อให้ผู้ศึกษามองเห็นภาพโดยรวมของระบบอธิกรณ์ทั้งหมด
          คือ ตงแต่การเกิดอธิกรณ์ จนถึงอธิกรณ์ระงับ อย่างย่อ ๆ
                ้ั
          (ซึ่งเป็นภาพโดยรวมของแผนผังที่ ๑, ๒ และ ๓ นั่นเอง)
          สามารถทีจะบรรยายออกเป็นแผนภาพได้ดงนี้
                      ่                        ั

    แผนภาพรวมโดยย่อ ของ อธิกรณ์และการระงับอธิกรณ์




ข้อสังเกต จากพระพุทธดำรัสใน สามคามสูตร (ดูหน้า ๓๘๙) มีการแบ่งเหตุความวิวาทเป็น ๒ ส่วน ซึ่งจะระงับ
โดยไม่ตองอาบัตและต้องอาบัติ ในการต้องอาบัตจงสามารถจัดกลุมได้จากเหตุตามเรืองทีเกิดขึน ๒ สวนนี้ คอ ๑.เรือง
         ้       ิ                           ิึ                ่                  ่ ่ ้        ่     ื    ่
ที่เกิดเพราะเหตุ อาชีวะอันยิ่งหรือปาติโมกข์อันยิ่ง และ ๒.เรื่องอันเกิดในสงฆ์ที่เกิดเพราะเหตุ มรรคหรือปฏิปทา.
๔๗๗
,             ,           ,
                                                                            ,         -   -
                                                                    .
.                                                                   .
.                                                                                .
.                                                                                                               (       -
.                                                                           )                           (           )
                                                                                                                            .
                        .
.                               .
.
.
                                                                                                                            .
                                        ,
                    ,

    ,                           ,




                                                                    .

                            ,       ,           ,           ,                                     ,
        ,                                                               .       , .                   , .
                                                                                                                            .
                .                                   .
.                           .
.                                                                                                                               (
                                                        ,


                                                                ,
                                            ,
            ,
๔๗๙
                                 (                )


    ,                ,                                                                            ,
                                                              ,               ,
        ,
                                                                          ,           ,
            :-                           :-                                               ,       ,
                                                          ,           ,           ,           ,
                                                                  (                           )

(                    )




                     ,


                         .

                             ,       ,        (       )




                 )
                         .
๔๘๑
.                               .                                               .
    (                   )       (           ,                           )           (

                    ,                               ,               ,                            ,
            ,               ,                                   ,                                ,

(       )                                               (           )           (           )+


                                    .                                       .                    .




                                                (           )




                .
                .

                            -
                            -
๔๘๓




                                .                                             .
                )           (                         )               (                                       )

                                    ,                                                             ,
                    ,                                     ,               ,                           ,
,
        (           )       (           )                         (               )


                        .



                (                                             )



                                                                                              ,               ,
                                            ( .   )                                       (               )


    (       )




                                             (                                    )

                                    (       ,     )
                                                                      (               ,           )
รักษาพรหมจรรย์ไว้ดวยน้ำตา
                                        ้

                  “ภิกษุ ทั้งหลาย ! บรรพชิตรูปใด จะเป็นภิกษุหรือภิกษุณีก็ตาม,
แม้จะทุกข์กายทุกข์ใจ ถึงน้ำตานองหน้า รองไห้อยู่ กยังสูประพฤติพรหมจรรย์
                                             ้                 ็ ้
ให้บรสุทธิ์บรบูรณอยู่ไดก็มี ข้อที่น่าสรรเสริญเธอให้เหมาะสมแก่ธรรมที่เธอได้มี
      ิ        ิ ์                 ้
ในบัดนี้ มอยูหาอย่าง. หาอย่างอะไรบ้างเล่า ? หาอย่างคือ :-
           ี ่ ้                 ้                     ้
        (๑) ธรรมทีชอว่า ศรัทธา ในกุศลธรรมทังหลาย กได้มแล้วแก่เธอ.
                      ่ ่ื                         ้             ็ ี
        (๒) ธรรมทีชอว่า หริ ในกุศลธรรมทังหลาย กได้มแล้วแก่เธอ.
                         ่ ่ื          ิ       ้             ็ ี
        (๓) ธรรมทีชอว่า โอตตัปปะ ในกุศลธรรมทังหลาย กได้มแล้วแก่เธอ.
                          ่ ่ื                             ้        ็ ี
        (๔) ธรรมทีชอว่า วรยะ ในกุศลธรรมทังหลาย กได้มแล้วแก่เธอ.
                       ่ ่ื          ิิ          ้              ็ ี
        (๕) ธรรมทีชอว่า ปญญา ในกุศลธรรมทังหลาย ก็ได้มแล้วแก่เธอ.
                        ่ ่ื         ั               ้               ี
                  ภิกษุ ทั้งหลาย ! บรรพชิตรูปใด จะเป็นภิกษุหรือภิกษุณีก็ตาม,
แม้จะทุกข์กายทุกข์ใจ ถงน้ำตานองหน้า รองไห้อยู่ กยงสูประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสทธิ์
                               ึ         ้               ็ั ้               ุ
บริบูรณ์อยู่ได้ก็มี ข้อที่น่าสรรเสริญเธอให้เหมาะสมแก่ธรรมที่เธอได้มีในบัดนี้
หาอย่างเหล่านีแล.”
 ้              ้
                                           (พระไตรปิฎกบาลี สยามรัฐ ๒๒ / ๕ / ๔ )
ภาคพิเศษ : ส่วนช่วยศึกษาค้นคว้าสิกขาบททีมลกษณะเดียวกัน
                                        ่ ีั                                                        ๔๘๕

ส่วนช่วยศึกษาค้นคว้าสิกขาบททีมลกษณะเดียวกัน
                             ่ ีั
      จัดกลุมสิกขาบทเพือการศึกษาค้นคว้า ตามลักษณะดังนี้ คอ :-
            ่             ่                                  ื
         ก. กลุมสิกขาบทเกียวกับนิสสัย ๔ (ปจจัยเครืองอาศัยของบรรพชิต)
                  ่                   ่        ั      ่
         ข. กลุมสิกขาบทเกียวกับอกรณียกิจ ๔ (กจทีบรรพชิตไม่ควรทำ)
                    ่               ่             ิ ่
         ค. กลุมสิกขาบทเกียวกับอาจารวิบติ (ผดจรรยามารยาทของสมณะ)
                ่             ่               ั ิ
         ง. กลุมสิกขาบทเกียวกับทิฏฐิวบติ (ความเห็นผิด)
              ่             ่           ิ ั
         จ. กลุมสิกขาบทเกียวกับอาชีววิบติ (การเลียงชีพทีผดของบรรพชิต)
                        ่         ่         ั      ้    ่ ิ
         ฉ. กลุมสิกขาบทเกียวกับสังฆสามัคคี (ความพร้อมเพรียงในหมูสงฆ์)
                      ่         ่                               ่

                    ก. กลุมสิกขาบทเกียวกับนิสสัย ๔
                          ่           ่
                    (ปัจจัยเครืองอาศัยของบรรพชิต)
                               ่

                   ๑. สกขาบทเกียวกับอาหารการขบฉัน
                       ิ      ่
                  “บรรพชาอาศัยโภชนะ คือคำข้าวที่พึงได้ด้วยกำลังปลีแข้ง
       เธอพึงทำความอุตสาหะในโภชนะ คือคำข้าวที่พึงได้ด้วยกำลังปลีแข้งจนตลอดชีวิต
         อติเรกลาภ คือ ภตถวายสงฆ์ ภตเฉพาะสงฆ์ การนิมนต์ ภตถวายตามสลาก
                        ั              ั                       ั
               ภัตถวายในปักษ์ ภัตถวายในวันอุโบสถ ภัตถวายในวันปาฎิบท”
                          (นิสสัย ๔ มหาวรรค ภาค.๑/ ดูหน้า ๒๒๒)

- ภกษุฉนอาหารทีเขายังไม่ได้ให้ ลวงช่องปาก(ปาจิตตีย์ วรรคที่ ๔, ขอ๑๐/ หน้า ๑๒๓)
    ิ ั         ่               ่                               ้
- ภกษุไม่อาพาธฉันอาหารประณีตทีขอมาเพือประโยชน์ตน (ปาจิตตีย์ ว.๔, ๙/ ๑๒๒)
      ิ                           ่      ่
        ิ
- ภกษุไม่อาพาธขอแกงหรือข้าวสุกเพือประโยชนตน (ทุกกฏ เสขิยะ ว.๒, ๑๑/ ๑๘๖)
                                     ่      ์
     ิ ั                            ้ ้ ุ                     ้
- ภกษุรบ และฉันบิณฑบาต โดยไม่เอือเฟือ (ทกกฏ เสขิยะ ว.๒, ขอ๑,๕ /๑๘๔, ๑๘๕)
          ิ ั
- ภกษุรบบิณฑบาตจนล้น (ขอบบาตร) (ทุกกฏ เสขิยะ วรรค ๒, ๔ /๑๘๕)
- เขาปวารณาให้นำไปตามปรารถนาภิกษุรบยิงกว่า ๓ บาตร (ปาจิตตีย์ ว. ๔, ๔/ ๑๑๗)
                                       ั ่
           ิ ึ    ั                                  ุ
- ภกษุพงศึกษาว่า จกรับบิณฑบาตพอเหมาะกับแกง (ทกกฏ เสขิยะ ว.๒, ๓/ ๑๘๕)
หมายเหตุ (-) เป็นสิกขาบททีเป็นขอห้าม โดยจะแสดง : (ประเภทของโทษ คมภีรหรือวรรคที,่ ขอที่ / หน้าของหนังสือนี)
                          ่       ้                                 ั ์                ้                 ้
              (-)ทตนบรรทัดเป็นระดับ อาทิพรหมจาริยาสิกขา, (-)ทยอเข้ามาเป็นบางส่วนของ อภิสมาจาริกาสิกขา
                    ่ี ้                                     ่ี ่
              (-)อกษรเอน เป็นลกษณะพฤติกรรมทีควรถูกสงฆ์ลงโทษ, หรือขอห้ามทีมในพระไตรปิฎกทีอนๆ
                  ั             ั              ่                        ้        ่ ี               ่ ่ื
          (*) อกษรเอนเป็นขอทีทรงอนุญาต โดยจะแสดง : (ชอคัมภีร์ / หน้าของหนังสือเล่มนี) ควรจะดูใจความเต็ม..
                ั           ้ ่                        ่ื                            ้
๔๘๖                                          ประมวลพระพุทธบัญญัติ   อริยวินย จากพระไตรปิฎก
                                                                           ั


- ภิกษุไม่ได้รบนิมนต์รบอาหารในสกุลทีสงฆ์สมมติวาเป็นเสกขะ(ปาฏิเทสนียะ ๓/๑๗๘)
              ั       ั            ่          ่

- ภกษุฉนอาหารทีทำการสังสม (เก็บไว้คางคืน) (ปาจิตตีย์ วรรค ๔, ขอ ๘ / หน้า๑๒๑)
   ิ ั           ่      ่             ้                       ้
* ทรงอนุญาตแสวงหาเสบียงเดินทางได้, แต่ไม่อนุญาตเงิน (เภสัชชขันธ์ มหา.๒/ ๒๕๓)
      - ภกษุเก็บอาหารค้างคืนในทีอยู่ (ทุกกฏ เภสัชชขันธ์ มหา.๒/ ๒๕๑)
             ิ                  ่
      - ภกษุหงต้มอาหารในทีอยู่ (ทุกกฏ เภสัชชขันธ์ มหา.๒/ ๒๕๑)
            ิ ุ            ่
      - ภกษุหงต้มอาหารด้วยตนเอง (ทกกฏ เภสัชชขันธ์ มหา.๒/ ๒๕๑)
           ิ ุ                          ุ
      - ฉนผลไม้ทเก็บมาเองโดยให้คนประเคนทีหลัง (ทุกกฏ เภสัช. มหา.๒/ ๒๕๒)
         ั         ่ี

* ทรงอนุญาตฉันภัต ๖ อย่าง มฉนในทีนมนต์ เป็นต้น (เภสัช. มหา.๒/ ๓๒๗)
                             ี ั        ่ ิ
- ภกษุฉนเป็นหมู่ เว้นแต่ในสมัยทีทรงอนุญาต (ปาจิตตีย์ วรรค ๔, ขอ๒/ หน้า๑๑๔)
         ิ ั                        ่                             ้
- ภกษุรับนิมนต์แล้ว เว้นโภชนะนัน ฉนโภชนะอืน (ปาจิตตีย์ ว. ๔, ๓/ ๑๑๖)
       ิ                           ้ ั        ่
   ั                      ั            ่ ิ
- ฉนเสร็จแล้วห้ามภัตแล้ว ฉนอาหารทีมใช่เดน(ปาจิตตีย์ ว.๔, ๕/๑๑๙; เภสัช. มหา. ๒/ ๒๕๒)
- ภกษุมใช่ผอาพาธฉันอาหารในโรงทานยิงกว่าครังหนึง (ปาจิตตีย์ ว.๔, ๑/ ๑๑๓)
          ิ ิ ู้                            ่   ้ ่
     ิ           ่ ี ั
- ภกษุอยูในป่าทีมภยฉันอาหารทีเขาไม่ได้บอกให้รไว้กอน (ปาฏิเทสนียะ ๔/ ๑๗๙)
             ่                   ่               ู้ ่
- ภกษุฉนอาหารในเวลาวิกาล (คอหลังเทียงไป) (ปาจิตตีย์ วรรค ๔, ขอ๗/ หน้า๑๒๑)
   ิ ั                     ื       ่                         ้

      ๒. สกขาบทเกียวกับเครืองนุงห่ม และบริขารอืนๆ
          ิ       ่        ่ ่                 ่
                                “บรรพชาอาศัยผ้าบังสุกล
                                                     ุ
                  เธอพึงทำความอุตสาหะในผ้าบังสุกลนันจนตลอดชีวต
                                                   ุ ้             ิ
        อติเรกลาภ คือ ผ้าเปลือกไม้ ผ้าฝ้าย ผ้าไหม ผ้าขนสัตว์ ผ้าป่าน ผ้าเจือกัน”
                         (นสสัย ๔ มหาวรรค ภาค ๑/ ดูหน้า ๒๒๒)
                           ิ

สกขาบทเกียวกับเครืองนุมห่ม
  ิ        ่            ่ ่
                    ี                             ี
* ทรงอนุญาตคหบดีจวร, และอนุญาตผ้าจีวร ๖ ชนิด (จวรขันธ์ มหา.๒ /๒๖๐)
               ้
* ทรงอนุญาตสียอมจีวรทีทำจากรากลำต้นเปลือกใบดอกผลต้นไม้ (จวรขันธ์ มหา.๒ /๒๖๑)
                         ่                                 ี
      - ภกษุใช้จวรมีสท่ีไม่สมควร (ทุกกฏ จวรขันธ์ มหา.๒ /๒๖๖)
         ิ       ี    ี                  ี
ภาคพิเศษ : ส่วนช่วยศึกษาค้นคว้าสิกขาบททีมลกษณะเดียวกัน
                                        ่ ีั                                    ๔๘๗


* ทรงอนุญาตให้ใช้ไตรจีวร (จีวรขันธ์ มหาวรรค ภาค ๒ / ดูหน้า ๒๖๑)
- ภกษุอยูปราศจากไตรจีวร แม้สนราตรีหนึง (นสสัคคิยปาจิตตีย์ วรรค๑, ขอ๒/ หน้า๕๓)
   ิ      ่                  ้ิ        ่ ิ                          ้
     ิ
- ภกษุอยูในป่าทีมภยเก็บจีวรไว้ในบ้านเกิน ๖ ราตรี (นสสัคคิยปาจิตตีย์ ว.๓, ๙/ ๘๔)
             ่  ่ ี ั                                ิ
       - ภกษุมแต่จวร กบสบงเข้าบ้าน เว้นมีเหตุจำเป็น ๕ (ทกกฏ จวร. มหา.๒/ ๒๖๓)
            ิ ี ี ั                                     ุ     ี
- ภกษุขอจีวรต่อคฤหัสถ์ผมใช่ญาติ นอกจากสมัยฯ (นสสัคคิยปาจิตตีย์ ว.๑, ๖/ ๕๗)
          ิ             ู้ ิ                     ิ
- ภกษุจวรฉิบหายรับจีวรจากผูทมใช่ญาติเกินกำหนด (นสสัคคิยปาจิตตีย์ ว.๑, ๗/ ๕๙)
       ิ ี                     ้ ่ี ิ              ิ
- ผทมใช่ญาติเตรียมจ่ายจีวรแก่ภกษุๆไปกำหนดจีวร (นสสัคคิยปาจิตตีย์ ว.๑, ๘/ ๖๐)
    ู้ ่ี ิ                         ิ                ิ
   ู้ ิ                                 ิ
- ผมใช่ญาติ๒คนเตรียมจ่ายจีวรแก่ภกษุๆให้รวมกันจ่ายจีวรดี(นสสัคคิยปาจิตตีย์ ว.๑, ๙/ ๖๑)
                                                          ิ
- ภกษุทวงจีวรจากผูรบฝากผูอนให้จายจีวร เกิน ๖ครัง(นสสัคคิยปาจิตตีย์ ว.๑, ๑๐/ ๖๒)
        ิ          ้ั        ้ ่ื         ่     ้ ิ
- ภกษุขอด้ายมาเองแล้ว ยงช่างหูกให้ทอจีวร (นสสัคคิยปาจิตตีย์ ว.๓, ๖/ ๘๐)
            ิ              ั                  ิ
- ผมใช่ญาติให้ชางหูกทอจีวรแก่ภกษุๆสังช่างให้ทอให้ดี(นสสัคคิยปาจิตตีย์ ว.๓, ๗/ ๘๑)
     ู้ ิ      ่                      ิ     ่          ิ

- ภกษุทำจีวรมีประมาณเท่าสุคตจีวร หรือยิงกว่า (ปาจิตตีย์ ว.๙, ๑๐/ ๑๗๕)
   ิ                                      ่
- ภกษุไม่ทำให้เสียสีอย่างใดอย่างหนึงก่อน ใช้จวรใหม่ (ปาจิตตีย์ ว.๖, ๘/ ๑๔๓)
     ิ                                ่       ี
          ้               ั         ึ       ุ   ี
       - ผาทุกผืนทีไม่ได้ตดภิกษุไม่พงใช้ (ทกกฏ จวร. มหา.๒/ หน้า๒๖๑ และ๒๖๓)
                   ่

- ภกษุทรงอติเรกจีวรไว้ยงกว่า ๑๐ วน (นสสัคคิยปาจิตตีย์ วรรค๑, ขอ ๑/ ดูหน้า๕๓)
    ิ                   ่ิ         ั ิ                           ้
- ภกษุวกปจีวรเองแก่สหธรรมิก แล้วใช้จวรทียงไม่ให้เขาถอน (ปาจิตตีย์ ว.๖, ๙/ ๑๔๔)
   ิ ิ ั                               ี ่ั
- ภกษุเก็บอกาลจีวรไว้เกิน ๑ เดือน (นสสัคคิยปาจิตตีย์ ว.๑, ๓/ ๕๕)
      ิ                              ิ
- ภกษุเก็บอัจเจกจีวรไว้เกินสมัยทีเป็นจีวรกาล (นสสัคคิยปาจิตตีย์ ว.๓, ๘/ ๘๒)
        ิ                       ่              ิ

                        ี
* ทรงอนุญาตผ้าต่างๆ (จวรขันธ์ มหาวรรค ภาค๒/ ดูหน้า ๒๖๓)
- ภกษุแสวงหา-ทำผ้าอาบน้ำฝนเกินเวลาทีทรงกำหนด(นสสัคคิยปาจิตตีย์ ว.๓, ๔/ ๗๙)
   ิ                                 ่          ิ
- ทำผ้าปูนง,ผาปิดฝี,ผาอาบน้ำฝนมีขนาดเกินกำหนด(ปาจิตตีย์ ว.๙, ๗-๙/ ๑๗๒-๑๗๔)
           ่ั ้      ้
          ิ ่              ่ี ี
       - ภกษุหมผ้าขนสัตว์ทมขนอยูดานนอก (ทุกกฏ ขททกวัตถุ. จล.๒/ ๓๐๖)
                                 ่ ้              ุ           ุ
- ภกษุถอขนเจียมไปด้วยมือตนเองเกิน ๓ โยชน์ (นสสัคคิยปาจิตตีย์ ว.๒, ๖/ ๗๐)
     ิ ื                                     ิ
๔๘๘                                        ประมวลพระพุทธบัญญัติ   อริยวินย จากพระไตรปิฎก
                                                                         ั


- สิกขาบทเกียวกับการหล่อสันถัต ๕ เรือง (นสสัคคิยปาจิตตีย์ ว.๒, ขอ๑-๕/ ๖๕-๖๘)
             ่                     ่      ิ                     ้
         ิ               ่ ั
      - ภกษุใช้ประคตเอวทีถกสวยงามมีทรวดทรงต่างๆ (ทกกฏ ขททกวัตถุ. จล.๒/ ๓๑๕)
                                                     ุ       ุ      ุ
      - ภกษุเข้าบ้านโดยไม่มประคตเอว (ทกกฏ ขททกวัตถุ. จลวรรค ภาค๒/ ๓๑๕)
           ิ                 ี          ุ     ุ            ุ

สกขาบทเรืองบริขารอืนๆ
  ิ           ่           ่
                                                          ุ
* ทรงอนุญาตบาตร ๒ชนิดคือ บาตรเหล็กและบาตรดิน (ขททกวัตถุขนธ์ จล.๒/ ๓๐๗)ั ุ
        - ใช้กะโหลกน้ำเต้า,หม้อกระเบือง,กะโหลกหัวผีเป็นบาตร(ทกกฏ ขททก. จล.๒/ ๓๐๗)
                                      ้                         ุ        ุ   ุ
- ภกษุทรงอติเรกบาตรไว้เกิน ๑๐ วน (นสสัคคิยปาจิตตีย์ วรรค ๓, ขอ๑/ ดูหน้า ๗๖)
      ิ                              ั ิ                               ้
- ภกษุบาตรมีแผลหย่อน ๕ ให้จายบาตรใหม่ (นสสัคคิยปาจิตตีย์ วรรค๓,ขอ๒/หน้า๗๖)
    ิ                          ่               ิ                           ้
 * ทรงอนุญาตถุงบาตร ,สายโยก,บงเวียน,เชิงรองบาตร (ขุททกวัตถุ. จล. ๒/ ๓๐๗)
                                 ั                                ุ
            ิ
        - ภกษุเก็บหรือผึงแดดบาตรทังทีเปียกน้ำ, ผงบาตรในทีรอนนาน, วางบาตรริมตังไม้,
                        ่          ้ ่           ่ึ         ่้                 ่
          วางบาตรบนเตียงตังบนตักบนร่ม, ผลักประตูเมือมือถือบาตร, แขวนบาตร , ใช้บาตร
                            ่                       ่
          รองรับเศษอาหารบ้างน้ำบ้วนปากบ้าง (ทุกกฏ ขททกวัตถุ. จล.๒/ ดูหน้า ๓๐๗)
                                                      ุ             ุ

* ทรงอนุญาตและห้ามต่างๆ เกียวกับรองเท้า (จมมขันธ์ มหาวรรค ภาค๒/ หน้า๒๔๐)
                             ่              ั
      - ภกษุสวมรองเท้าเข้าบ้าน เว้นแต่อาพาธ (ทกกฏ จมมขันธ์. มหา.๒/ หน้า๒๔๓)
         ิ                                        ุ     ั
* ทรงอนุญาตและห้ามเกียวกับการใช้รม (ขททกวัตถุ. จล.๒/ ๓๑๓)
                       ่               ่ ุ          ุ
* ทรงอนุญาตมีดตัดผ้า, ปลอกมีด, เข็ม, กล่องเข็ม ฯลฯ (ขททกวัตถุ. จล.๒/ ๓๐๘)
                                                          ุ       ุ
- ภกษุให้ทำกล่องเข็มแล้วด้วยกระดูก, งา, เขาสัตว์ (ปาจิตตีย์ วรรค ๙, ขอ ๔/ ๑๖๙)
   ิ                                                                 ้
                          ุ         ุ้        ุ             ุ
* ทรงอนุญาตผ้ากรองน้ำ, ถงใส่ของ, มง ฯลฯ (ขททกวัตถุ. จล.๒/ หน้า๓๐๙)
           ิ                    ี ้             ุ     ุ         ุ
      - ภกษุเดินทางไกลโดยไม่มผากรองน้ำ (ทกกฏ ขททกวัตถุ. จล.๒/ ๓๐๙)


            ๓. สกขาบทเกียวกับเสนาสนะ ทอยูอาศัย
                ิ      ่              ่ี ่
                             “บรรพชาอาศัยเสนาสนะโคนไม้
              เธอพึงทำความอุตสาหะในเสนาสนะ คือโคนไม้นนจนตลอดชีวต
                                                        ั้          ิ
             อติเรกลาภ คือ วิหาร เรือนมุงแถบเดียว ปราสาท เรือนโล้น ถ้ำ”
                       (นสสัย ๔ มหาวรรค ภาค๑ / ดูหน้า ๒๒๒)
                          ิ
ภาคพิเศษ : ส่วนช่วยศึกษาค้นคว้าสิกขาบททีมลกษณะเดียวกัน
                                        ่ ีั                                ๔๘๙

* ทรงอนุญาตรุกขมูลเสนาสนะ(อยูโคนไม้)ตลอด๘เดือน (ภิกขุวภงค์ ภาค๑/ ดหน้า ๓๘)
                                   ่                             ิ ั           ู
           ิั               ู้ ่ ่    ั          ุ
* ทรงบัญญัตวตรของภิกษุผอยูปา ฯลฯ (วตตขันธ์ จลวรรค ภาค ๒/ ดูหน้า๓๔๐)
                                                               ุ
* ทรงอนุญาตเสนาสนะ (ที่อยู่อาศัย) ๕ ชนิด (เสนาสนะขันธ์ จล.๒/ ๓๑๙)
                      ้
* ทรงอนุญาตวัจกุฎี (หองส้วม) และส่วนประกอบอืนๆ (ขททกวัตถุ. จล.๒/ ๓๑๘)
                                               ่         ุ             ุ
                                                           ุ
* ทรงอนุญาตชันตาฆร (เรือนไฟ) และส่วนประกอบอืนๆ (ขททกวัตถุ. จล.๒/ ๓๐๙)
                                                     ่                   ุ
* ทรงอนุญาตกัปปยภูมิ และส่วนประกอบอืนๆ (เภสัชชขันธ์ มหาวรรค ภาค๒/ ๒๕๒)
                ิ                         ่
                              ่ ่ ่ั                         ุ
* ทรงอนุญาตให้ใช้ปราสาท สวนทีนงนอนให้ทำให้ควรก่อน(ขททกวัตถุ. จล.๒/ ๓๒๕)    ุ
* ทรงอนุญาตหอฉัน ศาลาตังเตา และส่วนประกอบอืนๆ (เสนาสน. จล.๒/ ๓๒๐)
                          ้                        ่                 ุ
                                                                  ุ
* ทรงอนุญาตโรงไม้แบบ (กฐินศาลา) และส่วนประกอบอืนๆ (ขททกวัตถุ. จล.๒/ ๓๐๙)
                                                       ่                     ุ
* ทรงอนุญาตสมมติสมา และรายละเอียดอืนๆ (อโบสถ. มหา. ๒/ ๒๒๕)
                    ี                   ่    ุ

                                        ิ ู้ ู                        ุ
* ทรงอนุญาตสมมติให้นวกรรม (สมมติภกษุผดแลการก่อสร้าง)(เสนาสน. จล.๒/ ๓๒๖)
     ิ          ิ ่                                                 ั
- ภกษุสร้างกุฏเพือตนด้วยการขอ ใหญ่เกิน หรือไม่ให้สงฆ์แสดงที่ (สงฆาทิเสส ๖/๓๑)
   ิ
- ภกษุสร้างวิหารมีเจ้าภาพสร้างถวายเพือตน ไม่ได้ให้สงฆ์แสดงที่ (สงฆาทิเสส ๖/๓๓)
                                      ่                           ั
- ภกษุอำนวยให้พอกหลังคาวิหารเกิน ๓ ชน (ปาจิตตีย์ วรรค ๒, ขอ ๙/ หน้า ๑๐๔)
       ิ                                  ้ั                    ้
            ิ          ิ ิ     ุ    ุ           ุ
         - ภกษุสร้างกุฏดนเผา (ทกกฏ ขททกวัตถุ. จล. ๒/ ๓๑๘)

                            ่ั
* ทรงอนุญาตเตียง, ตงสำหรับนัง หลายชนิด (เสนาสนะขันธ์ จลวรรค ภาค ๒/ ๓๑๙)
                                    ่                      ุ
- ภกษุให้ทำเตียง, ตงใหม่มเท้าสูงเกิน ๘ นวด้วยนิวพระสุคต (ปาจิตตีย์ ว.๙, ๕/ ๑๗๐)
   ิ                  ่ั         ี       ้ิ     ้
- ภกษุใหัทำเตียง, ตงเป็นของหุมนุน(ยดด้วยนุน)(ปาจิตตีย์ ว. ๙, ขอ ๖/ ดหน้า ๑๗๑)
     ิ                   ่ั        ้ ่ ั    ่                  ้      ู
       ิ
- ภกษุวางเตียงตังฟูกเก้าอีของสงฆ์ไว้กลางแจ้ง หลีกไปไม่เก็บ (ปาจิตตีย์ ว.๒, ๔/ ๙๙)
                    ่          ้
- ภกษุปลาดทีนอนไว้ในวิหารของสงฆ์ หลีกไปไม่เก็บ (ปาจิตตีย์ ว.๒, ๕/ ๑๐๐)
         ิ ู      ่
              ิ ้
           - ภกษุยายของใช้ประจำอยูเสนาสนะหนึงไปใช้ทอน (ทุกกฏ เสนาสนะ. จล. ๒/ ๓๒๖)
                                      ่       ่    ่ี ่ื                ุ

* ทรงบัญญตขอวัตรในการรักษาเสนาสนะ (เสนาสนะ. จล. ๒/ ๓๒๖, วตตขันธ์. จล.๒/๓๔๑)
         ั ิ้                                ุ           ั         ุ
๔๙๐                                          ประมวลพระพุทธบัญญัติ   อริยวินย จากพระไตรปิฎก
                                                                           ั


               ๔. สิกขาบทเกียวกับเภสัช ยารักษาโรค
                           ่
                             “บรรพชาอาศัยยา คือ น้ำมูตรเน่า
                เธอพึงทำความอุตสาหะในยา คือ น้ำมูตรเน่านั้นจนตลอดชีวิต
                   อติเรกลาภ คือ เนยข้น เนยใส น้ำมัน น้ำผึ้ง น้ำอ้อย”
                         (นิสสัย ๔ มหาวรรค ภาค๑ / ดูหน้า ๒๒๒)

 * ทรงอนุญาตใช้และเก็บเภสัชต่างๆได้ตลอดชีพ (เภสัชชขันธ์ มหาวรรค ภาค๒/ ๒๔๕)
 * ทรงอนุญาตฉันเภสัช ๕ ได้ท้งในกาลและในวิกาล (เภสัชชขันธ์ มหา.๒/ ๒๔๕)
                             ั
 * ทรงอนุญาตน้ำปานะ (เภสัชชขันธ์ มหา.๒/ ๒๕๓)(ควรชัววันหนึงคืนหนึง ดหน้า๒๕๕)
                                                   ่       ่     ่ ู
 - ภกษุรบเภสัช ๕ เก็บไว้เกิน ๗ วน (นสสัคคิยปาจิตตีย์ ว.๓, ๓/ ๗๘)
    ิ ั                         ั ิ


             ข.กลุมสิกขาบทเกียวกับอกรณียกิจ ๔
                 ่           ่
                   (สงทีบรรพชิตไม่ควรทำ)
                     ่ิ ่

            ๑. สกขาบทเกียวกับการประพฤติผดในกาม
                ิ       ่               ิ
        “ภกษุผอปสมบทแล้วไม่พงเสพเมถุนธรรม โดยทีสุดแม้กบสัตว์เดรัชฉานตัวเมีย
           ิ ู้ ุ               ึ                    ่    ั
             ภิกษุใดเสพเมถุนธรรม ย่อมไม่เป็นสมณะ ไม่เป็นเชื้อสายพระศากบุตร...
       เปรียบเหมือนคนถูกตัดศีรษะ ไม่อาจมีชวิตอยู่ได้ โดยการต่อศีรษะเข้ากับร่างกายนั้น
                                           ี
                     การเสพเมถุนธรรมนัน อนเธอไม่พงกระทำจนตลอดชีวต”
                                      ้ ั          ึ                ิ
                        (อกรณียกิจ มหาวรรค ภาค ๑/ ดูหน้า ๒๒๒)

 สกขาบทเนืองด้วยกาย
   ิ            ่
         ิ
 - ภกษุเสพเมถุนโดยทีสดแม้ในดิรจฉานตัวเมีย (ปาราชิก ขอ ๑/ ดูหน้า ๗)
                         ุ่         ั                         ้
       ิ                ้ ิ ้                        ั ั              ้
 - ภกษุปล่อยสุกกะ(นำอสุจ)ดวยความจงใจ เว้นไว้แต่ฝน (สงฆาทิเสส ขอ๑/ หน้า ๒๔)
     ิ                                                    ู้ ิ ั
 - ภกษุกำหนัดแล้วจับต้องกาย(อวัยวะใดๆ) ของมาตุคาม(ผหญง) (สงฆาทิเสส ๒/ ๒๕)
              ิ    ู
           - ภกษุ ถกต้ององค์กำเนิดโคตัวเมียด้วยจิตกำหนัด (ถลลัจจัย จมม. มหา.๒/ ๒๔๒)
                                                            ุ       ั
 - ภกษุผเดียวนังในทีลบคืออาสนะกำบังกับมาตุคามผูเดียว (อนิยต ขอ๑/ หน้า๔๗)
     ิ ู้       ่ ่ั                            ้              ้
    ิ ู้
 - ภกษุผเดียวนังในอาสนะหากำบังไม่เลยทีเดียวกับมาตุคามผูเดียว (อนิยต ขอ ๒/ ๔๙)
              ่                                       ้              ้
ภาคพิเศษ : ส่วนช่วยศึกษาค้นคว้าสิกขาบททีมลกษณะเดียวกัน
                                        ่ ีั                                             ๔๙๑

- ภิกษุนงในทีลบคือในอาสนะกำบังกับมาตุคาม(ผหญง) (ปาจิตตีย์ ว.๕, ๔/ หน้า๑๒๘)
        ่ั ่ ั                             ู้ ิ
- ภกษุผเดียวนังในทีลบกับมาตุคาม(ผหญิง)ผเดียว (ปาจิตตีย์ วรรค ๕, ขอ๕/ ๑๒๙)
    ิ ู้       ่ ่ั               ู้    ู้                        ้
          ิ ่ั                  ้ ิ             ุ               ุ
      - ภกษุนงบนม้ายาวเดียวกับผูหญงหรือกระเทย (ทกกฏ เสนาสนะ. จล. ๒/ ๓๒๕)
- ภกษุสำเร็จการนอนร่วมกับมาตุคาม(ผหญิง) (ปาจิตตีย์ วรรค ๑, ขอ ๖/ ดูหน้า ๙๑)
   ิ                                ู้                         ้
- ภกษุชกชวนแล้วเดินทางไกลด้วยกันกับมาตุคาม ฯ (ปาจิตตีย์ ว.๗, ๗/ ๑๕๑)
     ิ ั
          ิ
       - ภกษุกราบไหว้ลกรับอัญชลีกรรมสามีจกรรมแก่มาตุคาม( ทกกฏ ภกขุน.จล.๒/๓๕๕)
                      ุ                  ิ                  ุ ิ ี ุ
       - ภกษุทำกิจกรรมทีไม่สมควรต่างๆ กับผูหญิง ( > ดูหน้า ๔๕, ๒๘๐, ๓๑๘)
             ิ           ่                 ้
       - ภกษุมอาบัติมาก ไม่ฉลาด มารยาทไม่สมควร: ลงนิยสกรรม (กมม. จล. ๑/๒๗๙)
            ิ ี                                                  ั ุ
สกขาบทเนืองด้วยวาจา
  ิ        ่
      ิ        ิ
- ภกษุกำหนัดมีจตแปรปรวนพูดเคาะมาตุคามด้วยวาจาชัวหยาบ (สงฆาทิเสส ๓/ ๒๖)
                                                 ่           ั
    ิ                                 ้                    ั
- ภกษุกำหนัดพูดให้หญิงบำเรอตนด้วยกาม ดวยคำพาดพิงเมถุน (สงฆาทิเสส ๔/ ๒๘)
- ภกษุแสดงธรรมแก่มาตุคามเกิน๖คำ เว้นแต่มบรษรูเดียงสาอยู่ (ปาจิตตีย์ ๑,๗/ ๙๒)
        ิ                               ี ุุ ้
- สกขาบททีเกียวกับภิกษุณี (นสสัคคิยปาจิตตีย์ ว.๑, ๔-๕/ ๕๖-๕๗; ว.๒, ๗/ ๗๑; ปาจิตตีย์
   ิ       ่ ่              ิ
  ว.๓/ ๑๐๖-๑๑๒; ปาฏิเทสนียะ ๑-๒/ ๑๗๖-๑๗๘; ภกขุนขนธ์ จล. ๒/๓๕๔-๓๕๗)
                                                   ิ ีั ุ

       ๒. สกขาบทเกียวกับถือเอาสิงของทีเจ้าของมิได้ให้
           ิ      ่            ่     ่
        “ภกษุผ้อปสมบทแล้วไม่พึงถือเอาสิ่งของทีเจ้าของมิได้ให้ โดยส่วนแห่งจิตคิดจะลัก
           ิ ูุ                                    ่
        ภิกษุใดถือเอาสิ่งของที่เจ้าของมิได้ให้ โดยส่วนแห่งจิตคิดจะลัก ๑ บาทบ้าง ควรแก่
        ๑ บาทบ้าง เกินกว่า ๑ บาทบ้าง ย่อมไม่เป็นสมณะ ไม่เป็นเชื้อสายพระศากบุตร...
         เปรียบเหมือนใบไม้เหยวเหลืองหลุดจากขั้วแล้ว ไม่อาจเป็นของเขียวสดต่อไปได้
                             ี่
             การถือเอาสิ่งของที่เจ้าของมิได้ให้นั้น อันเธอไม่พึงกระทำจนตลอดชีวิต”
                          (อกรณียกิจ มหาวรรค ภาค ๑/ ดูหน้า ๒๒๒)

- ภกษุถอเอาทรัพย์อนเจ้าของไม่ได้ให้ โดยส่วนแห่งความเป็นขโมย (ปาราชิก ๒/ ๑๒)
      ิ ื            ั
- ภกษุนอมลาภทีเขาน้อมไว้จะถวายสงฆ์มาเพือตน (นสสัคคิยปาจิตตีย์ ว.๓, ๑๐/ ๘๕)
       ิ ้        ่                           ่       ิ
- ภกษุรอยูนอมลาภทีเขาน้อมไปจะถวายสงฆ์มาเพือบุคคล (ปาจิตตีย์ ว.๘, ๑๒/ ๑๖๔)
     ิ ู้ ่ ้          ่                          ่
            ิ                   ุ
         - ภกษุสละของสงฆ์ให้แก่บคคล (ถลลัจจัย เสนาสนะ. จุล.๒/ ๓๒๕, มหาโจร ๕ หน้า๒๒)
                                        ุ
- ภกษุ เก็บ,ให้เก็บของมีคาทีตกอยู่ เว้นแต่ในวัดทีอยูในทีอยูพก(ปาจิตตีย์ ว.๙, ๒/ ๑๖๗)
   ิ                     ่ ่                    ่ ่ ่ ่ ั
๔๙๒                                           ประมวลพระพุทธบัญญัติ   อริยวินย จากพระไตรปิฎก
                                                                            ั


      ๓. สิกขาบทเกียวกับการจงใจพรากสัตว์เสียจากชีวต
                   ่                              ิ
      “ภิกษุผู้อุปสมบทแล้ว ไม่พึงจงใจพรากสัตว์เสียจากชีวิต โดยที่สุดกระทั่งมดดำมดแดง
                 ภกษุใดจงใจพรากกายมนุษย์จากชีวตโดยทีสดกระทังยังครรภ์ให้ตกไป
                   ิ                             ิ     ุ่      ่
          ย่อมไม่เป็นสมณะ ไม่เป็นเชื้อสาย พระศากบุตร...เปรียบเหมือนแผ่นศิลาหนา
                  แตกออกเป็น ๒ เสี่ยงจะประสานให้สนิทเป็นแผ่นเดียวกันอีกไม่ได้
            การจงใจพรากกายมนุษย์เสียจากชีวิต อนเธอไม่พึงกระทำจนตลอดชีวิต”
                                                   ั
                          (อกรณียกิจ มหาวรรค ภาค ๑/ ดูหน้า ๒๒๒)

- ภกษุจงใจพรากกายมนุษย์จากชีวต ฯลฯ (ปาราชิก ขอ ๓/ ดหน้า ๑๖)
         ิ                               ิ                 ้           ู
- ภกษุแกล้งพรากสัตว์เสียจากชีวต (ปาจิตตีย์ วรรค ๗, ขอ ๑/ ดูหน้า ๑๔๖)
      ิ                                ิ                       ้
- ภกษุรอยูบริโภคน้ำมีตวสัตว์ (ปาจิตตีย์ วรรค ๗, ขอ ๒/ ดูหน้า ๑๔๗)
     ิ ู้ ่                    ั                         ้
- ภกษุรอยูวาน้ำมีตวสัตว์ รดหรือให้รด ซงหญ้าหรือดิน (ปาจิตตีย์ ว.๒, ๑๐/ ๑๐๕)
           ิ ู้ ่ ่      ั                      ่ึ
- ภกษุพรากภูตคาม (ตดทำลายต้นไม้) (ปาจิตตีย์ วรรค ๒, ขอ ๑/ ๙๖)
   ิ                         ั                                       ้
- ภกษุขดหรือให้ขด ซงปฐพี (ปาจิตตีย์ วรรค ๑, ขอ ๑๐/ ดหน้า ๙๕)
        ิ ุ             ุ ่ึ                         ้           ู
                 ิ                  ุ      ุ       ั ุ                   ู
             - ภกษุเผากองหญ้า (ทกกฏ ขททกวัตถุขนธ์ จลวรรค ภาค ๒/ ดหน้า ๓๑๖)
                                                       ั
* ทรงอนุญาตจำพรรษาเพราะภิกษุเหยียบต้นข้าว,สตว์ตาย (วสสูปนายิกา. มหา. ๑/ ๒๓๒)
                                                                   ั
             - ภกษุฉนเนือสัตว์ทเขาฆ่าเจาะจงเพือถวายภิกษุ (ทกกฏ เภสัชช. มหา.๒/ ๒๕๑)
                ิ ั ้            ่ี           ่              ุ

 ๔. สิกขาบทเกียวกับการพูดเท็จ, ส่อเสียด, หยาบ, เพ้อเจ้อ
             ่
                      “ภกษุผ้อปสมบทแล้ว ไม่พึงกล่าวอวดอุตตริมนุสสธรรม
                        ิ ูุ
               โดยที่สุดพูดว่าข้าพเจ้ายินดีในเรือนว่าง ภกษุใดมีความปรารถนาชั่ว
                                                        ิ
              ถกความอยากครอบงำ กล่าวอวดอุตริมนุสสธรรมที่ไม่มอยู่ ไม่เป็นจริง
                ู                                                  ี
       คือ ฌานก็ดี วิโมกข์ก็ดี สมาธิก็ดี สมาบัติก็ดี มรรคก็ดี ผลก็ดี ย่อมไม่เป็นสมณะ
         ไม่เป็นเชื้อสายพระศากบุตร... เปรียบเหมือนต้นตาลยอดด้วนที่ไม่อาจงอกได้ตอไป ่
              การกล่าวอวดอุตริมนุสสธรรมนั้น อนเธอไม่พึงกระทำจนตลอดชีวิต”
                                                  ั
                           (อกรณียกิจ มหาวรรค ภาค ๑/ ดูหน้า ๒๒๒)

- ภกษุใดไม่รเฉพาะ กล่าวอวดอุตตริมนุสสธรรมฯ นอมเข้ามาในตน (ปาราชิก ๔/ ๑๙)
   ิ         ู้                               ้
- ภกษุจงใจจะพูดให้คลาดจากความจริง (ปาจิตตีย์ วรรค๑,ขอ๑/หน้า๘๖)
     ิ                                              ้
          ั
       - รบคำจะจำพรรษาทีใดแล้วไม่จำพรรษาในทีนน (ทกกฏ วสสูปนายิกา. มหา.๑/ ๒๓๕)
                        ่                   ่ ้ั ุ    ั
ภาคพิเศษ : ส่วนช่วยศึกษาค้นคว้าสิกขาบททีมลกษณะเดียวกัน
                                        ่ ีั                                             ๔๙๓

- ภิกษุพดส่อเสียดภิกษุ (พดให้ภิกษุทะเลาะกัน) (ปาจิตตีย์ ว.๑, ๓/ ๘๗)
         ู               ู
- ภกษุพดโอมสวาท (พดคำเสียดแทงให้เจ็บใจ) (ปาจิตตีย์ ว.๑, ๒/ ๘๗)
     ิ ู              ู
            ิ ่
       - ภกษุดาปริภาษคฤหัสถ์: ลงปฏิสารณียกรรม (จมปยย. มหา.๒/ ๒๖๘, กมมขันธ์ จล.๑/ ๒๘๑)
                                                 ั                 ั        ุ
- พดล้อเล่นอุปสัมบัน,อนุปสัมบันด้วยอักโกสวัตถุ (ทพภาสิต วภงค์ปาจิตตีย์ ว.๑, ๒/๘๘)
   ู                                               ุ         ิ ั
       - ภกษุพดคุยเดรัชฉานกถา, พดแก่งแย่ง, ลอลวงฯ ( > ดู มชฌิมศีล มหาศีล หน้า ๓๗๒)
           ิ ู                     ู           ่           ั


                ค.กลุมสิกขาบทเกียวกับอาจารวิบติ
                      ่         ่            ั
                  (ผดจรรยามารยาทของสมณะ)
                    ิ
- ภกษุขดหรือให้ผอนขุด ซงปฐพี (ปาจิตตีย์ วรรค. ๑, ขอ ๑๐/ หน้า ๙๕)
                   ิ ุ            ู้ ่ื           ่ึ                                   ้
- ภกษุพรากภูตคาม (ตดทำลายต้นไม้) (ปาจิตตีย์ วรรค ๒, ขอ๑/ หน้า๙๖)
                 ิ                             ั                                           ้
- ภกษุมใช่ผอาพาธ มงการผิง ตดหรือให้ตดซึงไฟ เว้นมีปจจัย(ปาจิตตีย์ ว. ๖, ๖/ ๑๔๑)
         ิ ิ ู้                         ุ่              ิ         ิ ่                ั
- ภกษุดมสุราและเมรัย (ปาจิตตีย์ วรรค ๖, ขอ ๑/ หน้า ๑๓๕)
             ิ ่ื                                                        ้
- ภกษุหวเราะในน้ำ (ปาจิตตีย์ วรรค ๖, ขอ ๓/ หน้า ๑๓๗)
              ิ ั                                                    ้
                     - ภกษุข้นต้นไม้ มกิจขึนได้สงชัวบุรษฯ (ทุกกฏ ขททกวัตถุ. จล.๒/ หน้า ๓๑๖)
                          ิ ึ                    ี ้          ู ่ ุ                ุ         ุ
- ภกษุยงหย่อนกึงเดือนอาบน้ำเว้นแต่สมัย, เว้นปจจันตชนบท (ปาจิตตีย์ ว.๖,๗/๑๔๒)
     ิ ั                        ่                                              ั
- ภกษุไม่ได้รบบอกก่อนก้าวล่วงธรณีเข้าไปในห้องของกษัตริย์ (ปาจิตตีย์ ว.๙, ๑/ ๑๖๖)
      ิ                       ั
- ภกษุนงแทรกแซงในตระกูลทีมคน ๒ คน (คอสตรีกบบุรษ) (ปาจิตตีย์ ว. ๕, ๓/ ๑๒๗)
          ิ ่ั                                         ่ ี             ื         ั ุ
        ิ ั
- ภกษุชกชวนแล้วเดินทางไกลกับผูเป็นโจรหรือมาตุคาม(ปาจิตตีย์ ว. ๗, ๖-๗/๑๕๐-๑๕๑)
                                                            ้
- ภกษุไปเพือดูเสนาอันยกออกแล้ว เว้นแต่มปจจัย (ปาจิตตีย์ ว. ๕, ๘/ ๑๓๒)
               ิ            ่                                              ี ั
- ถาปัจจัยบางอย่างเพือจะไปสูเสนามี, อยูในเสนาเกิน ๓ คน (ปาจิตตีย์ ว. ๕, ๙/ ๑๓๓)
   ้                                       ่         ่             ่                     ื
- ภกษุอยูในเสนา ไปสูสนามรบ, ทีพกพล, ทีจดขบวนทัพ (ปาจิตตีย์ ว. ๕, ๑๐/ ๑๓๔)
           ิ            ่                    ่             ่ ั         ่ั

- ภกษุรอยูยงบุคคลมีปหย่อน ๒๐ ให้อปสมบท (ปาจิตตีย์ วรรค ๗, ขอ ๕/ หน้า๑๔๙)
    ิ ู้ ่ ั           ี          ุ                         ้
- ภกษุนอนร่วมกับอนุปสัมบัน(ผไม่ได้อปสมบท)เกิน ๓ คืน (ปาจิตตีย์ ว. ๑, ๕/ ๙๐)
     ิ                       ู้     ุ
- ภกษุยงอนุปสัมบัน(ผไม่ได้อปสมบท)ให้กล่าวธรรมโดยบท (ปาจิตตีย์ ว. ๑, ๔/ ๘๙)
   ิ ั              ู้     ุ
๔๙๔                                         ประมวลพระพุทธบัญญัติ   อริยวินย จากพระไตรปิฎก
                                                                          ั


 - ภิกษุให้ของเคียวของกินแก่นกบวชอืนด้วยมือของตน (ปาจิตตีย์ วรรค ๕, ขอ๑/ ๑๒๔)
                 ้           ั    ่                                  ้
        - ภกษุสมาทานการเปลือยกายแบบเดียรถีย์ (ถลลัจจัย จวรขันธ์ มหา. ๒/ ๒๖๕)
           ิ                                    ุ       ี
        - ภกษุตดองคชาติ (ถลลัจจย ขททกวัตถุขันธ์ จลวรรค ภาค ๒/ หน้า ๓๐๗)
             ิ ั           ุ    ั ุ               ุ

 - ภกษุไม่ลาภิกษุ เข้าสูบานในเวลาวิกาล เว้นมีกิจรีบด่วน (ปาจิตตีย์ ว. ๙, ๓/ ๑๖๘)
     ิ                   ่ ้
 - ภกษุรบนิมนต์แล้วไม่บอกลาภิกษุ เป็นผูเทียวไปในตระกูล (ปาจิตตีย์ ว. ๕, ๖/ ๑๓๐)
    ิ ั                                    ้ ่
             ิ ุ่                              ุ                 ุ
       - ภกษุนงห่มผ้าแบบคฤหัสถ์ (ทุกกฏ ขททกวัตถุ. จลวรรค ภาค ๒/ หน้า ๓๑๖)
               ิ                                 ุ       ุ              ุ
       - ภกษุใช้เครืองประดับแบบคฤหัสถ์ (ทกกฏ ขททกวัตถุ. จล. ๒/ ดหน้า ๓๐๔)
                     ่                                                            ู
              ิ ู ้        ั                           ุ       ุ
       - ภกษุดฟอนรำ, ขบร้อง, บรรเลงดนตรี (ทกกฏ ขททกวัตถุ. จล. ๒/ ๓๐๕)       ุ
          ิ ั                     ้                        ุ         ุ
       - ภกษุขบธรรม (สวดมนต์) ดวยเสียงอันยาว (ทกกฏ ขททกวัตถุ. จล. ๒/ ๓๐๕)       ุ
                   ิ                   ั                     ู
       - ภกษุเว้นขาดจากการฟ้อนรำ ขบร้อง ประโคม ดการเล่น (นยาย, เพลง, ชกมวยิ
         กฬาฯ) เล่นการพนัน, นอนทีนอนสูงใหญ่, ประดับตกแต่งร่างกาย, รบเงินทอง,
           ี                        ่                                               ั
         ขาวเปลือกเนือดิบ,หญง,ทาส, แพะแกะไก่สกรช้างโคม้า,ทนาทีสวน,พดเดรัชฉานกถา
                 ้     ้     ิ                     ุ               ่ี ่       ู
         กล่าวคำแก่งแย่งกัน ฯลฯ ( > ดู จลศีล มชฌิมศีล มหาศีล หน้า ๓๖๘-๓๗๘)
                                         ุ           ั

 - สิกขาบทในเสขิยวัตรทัง ๗๕ ขอ (ทุกกฏ ภกขุวิภงค์ ภาค ๒/ ดูหน้า ๑๘๑ - ๑๙๑)
                         ้       ้           ิ    ั
       * ทรงบัญญัตการบริหารสรีระ (ผม,ขน,เล็บ,การอาบน้ำฯลฯ) (ขททกวัตถุ. จล.๒/๓๐๔-๓๑๘)
                  ิ                                          ุ          ุ
       * ทรงบัญญตวตร ๑๔ (ขอปฏิบตทีพงกระทำ) (วตตักขันธ์ จล. ๒/ ๓๓๕-๓๔๙)
                 ัิั        ้       ั ิ ่ ึ         ั          ุ


                ง. กลุมสิกขาบทเกียวกับทิฏฐิวบติ
                     ่           ่          ิ ั
                          (ความเห็นผิด)
 - กล่าวว่าธรรมทีตรัสว่าอันตรายไม่อาจทำอันตรายแก่ผเสพได้จริง(ปาจิตตีย์ ว.๗,๘/๑๕๒)
                 ่                                ู้
 - ภกษุรอยูกนร่วม,อยูรวม,นอนด้วยกันกับภิกษุผกล่าวอย่างนัน(ปาจิตตีย์ ว.๗,๙/ ๑๕๓)
     ิ ู้ ่ ิ        ่่                     ู้          ้
    ิ ู้ ่
 - ภกษุรอยูให้สามเณรผูกล่าวอย่างนันอุปฏฐาก,กนร่วม,นอนร่วม(ปาจิตตีย์ ว.๗,๙/ ๑๕๔)
                        ้          ้ ั         ิ
 - ภกษุกนสิกขาบท (ปาจิตตีย์ วรรค ๘, ขอ ๒/ ดูหน้า ๑๕๖)
      ิ ่                              ้
ภาคพิเศษ : ส่วนช่วยศึกษาค้นคว้าสิกขาบททีมลกษณะเดียวกัน
                                        ่ ีั                                    ๔๙๕

- ภิกษุแสดงความไม่เอือเฟือ (ปาจิตตีย์ วรรค ๖, ขอ ๔/ หน้า ๑๓๘)
                         ้ ้                          ้
   ู                                          ึ
- ถกว่ากล่าวโดยชอบธรรมกลับพูดว่าจะยังไม่ศกษาในสิกขาบทนี้(ปาจิตตีย์ ว.๘,๑/๑๕๕)
- เคยฟังปาติโมกข์แต่พดว่าเพิงรูวามีขอนี,้ ปาจิตตียเพราะแสร้งหลง(ปาจิตตีย์ ว.๘,๓ /๑๕๗)
                       ู     ่ ้่ ้                 ์
       - ภกษุผตองอาบัตแล้วไม่เห็นอาบัตไม่ทำคืนอาบัต,ิ หรือภิกษุผมความเห็นผิดว่า
           ิ ู้ ้         ิ               ิ                     ู้ ี
        ธรรมทีตรัสว่าอันตรายไม่อาจอันตรายแก่ผเสพ : ลงอุกเขปนียกรรม(กมม. จล.๑/๒๘๓)
              ่                                  ู้                  ั ุ
* ทรงให้ถอนิสยในอุปชฌาย์อาจารย์ ๕ปี,ประฌาม,ขอขมา (มหาขันธ์ มหา.๑/๒๐๕-๒๑๔)
          ื ั        ั


                 จ.กลุมสิกขาบทเกียวกับอาชีววิบติ
                     ่              ่         ั
                  (การเลียงชีพทีผดของบรรพชิต)
                         ้      ่ ิ
สกขาบทเกียวกับการซือขายแลกเปลียนใช้เงินทอง
 ิ       ่         ้          ่
- ภกษุรบ ให้รบ หรือยินดีเงินทองอันเขาเก็บไว้ให้ (นสสัคคิยปาจิตตีย์ ว.๒, ๘/ ๗๓)
     ิ ั      ั                                    ิ
- ภกษุซอขายด้วยรูปยะ(เงินตรา)มประการต่างๆ (นสสัคคิยปาจิตตีย์ ว.๒, ๙/ ๗๓)
    ิ ้ื              ิ         ี                ิ
- ภกษุถงการแลกเปลียนมีประการต่างๆ (นสสัคคิยปาจิตตีย์ วรรค ๒, ขอ ๑๐/หน้า๗๔)
   ิ ึ              ่                   ิ                        ้
      ิ                                ิ ิ
* ให้ยนดีของกัปปิยะจากกัปปิยภัณฑ์ แต่มให้ยนดี,แสวงหาทองเงิน(เภสัช. มหา.๒/ ๒๕๓)
* ทรงอนุญาตทวงจีวรจากไวยาวัจจกรผูรบฝากทรัพย์ (> นสสัคคิยปาจิตตีย์ ๑,๑๐/ ๖๒)
                                    ้ั                ิ
สกขาบทเกียวกับการแสดงคุณพิเศษ
 ิ       ่
- ภกษุใดไม่รเฉพาะ กล่าวอวดอุตตริมนุสสธรรมฯ นอมเข้ามาในตน (ปาราชิก ๔/ ๑๙)
     ิ      ู้                                ้
- ภกษุบอกอุตตริมนุสสธรรมทีมจริงแก่อนุปสัมบัน(ผมได้บวช) (ปาจิตตีย์ ว.๑, ๘/ ๙๓)
   ิ                       ่ ี                  ู้ ิ
          ิ                                 ุ        ุ    ั ุ
       - ภกษุแสดงอิทธิปาฏิหารย์แก่คฤหัสถ์ (ทกกฏ ขททกวัตถุขนธ์ จล. ๒/ ๓๐๗)
สิกขาบทเกียวกับการประจบ, ประพฤติอนาจาร, ลอลวง
         ่                               ่
- ภกษุประทุษร้ายตระกูลประจบคฤหัสถ์สงฆ์สวดห้าม ๓ ครัง (สงฆาทิเสส ๑๓/ /๔๒)
    ิ                                                  ้ ั
- ภกษุชกสือชายหญิงในความเป็นเมีย,เป็นชู,้ หรือแก่หญิงแพศยา(สงฆาทิเสส ๕ /๒๙)
   ิ ั ่                                                     ั
         ิ
      - ภกษุประพฤติอนาจารประจบคฤหัสถ์(ทกกฏ ขททกวัตถุ. จล. ๓๑๘ ด๔๔, ๒๘๐)
                                           ุ      ุ        ุ      ู
๔๙๖                                      ประมวลพระพุทธบัญญัติ   อริยวินย จากพระไตรปิฎก
                                                                       ั


      - ไม่ละอายประพฤติเลวทรามประจบคฤหัสถ์ : ลงปัพพชนียกรรม(กัมมขันธ์.จล.๒/๒๘๐)
                                                                       ุ
      - ภกษุรบใช้เป็นทูตนำข่าว,ลอลวงชาวบ้าน,หมอทายโชคลาง, ทายลักษณะสิงของ
            ิ ั                  ่                                         ่
                                                  ู
        ทายแพ้ชนะ, โหราศาสตร์, ทายดินฟ้าอากาศ, ดฤกษ์ยาม, หมอผี หมอยา ฯลฯ
               ั             ั ิ
        ( > ดูลกษณะในจุลศีล มชฌมศีล มหาศีล หน้า ๓๗๓-๓๗๗)
          ิ                                     ุ    ุ            ุ
      - ภกษุเรียน,สอนโลกายตะ หรือเดรัชฉานวิชา (ทกกฏ ขททกวัตถุ. จล. ๒/ ๓๑๗)

 สิกขาบทเกียวกับการขอ และการสังให้ผอนทำ
          ่                  ่     ู้ ่ื
 - ภกษุขอเกินกว่าทีเขากำหนดปวารณา หรือเกิน ๔ เดือน (ปาจิตตีย์ ว.๕, ๗/ ๑๓๑)
             ิ            ่
 - ภกษุมากไปด้วยการขอแรงและวัสดุกอสร้าง(> ดตนบัญญัตสงฆาทิเสส ขอ๖/หน้า ๓๑)
    ิ                                        ่           ู ้  ิั       ้
 - ภกษุขอจีวรต่อคฤหัสถ์ทมใช่ญาติ (นสสัคคิยปาจิตตีย์ ว.๑, ขอ ๖-๑๐/ ๕๗-๖๓)
         ิ                   ่ี ิ                ิ               ้
 - ภกษุขอด้ายมาเองแล้วให้ชางหูกทอจีวร (นสสัคคิยปาจิตตีย์ วรรค ๓, ขอ ๖/หน้า๘๐)
       ิ                          ่                    ิ             ้
 - ภกษุบาตรมีแผลหย่อน ๕ ให้จายบาตรใหม่ (นสสัคคิยปาจิตตีย์ ว.๓, ๒/ ๗๗)
               ิ                    ่                     ิ
 - ภกษุมใช่ผอาพาธขออาหารปราณีตเพือประโยชน์ตนแล้วฉัน (ปาจิตตีย์ ว.๔, ๙/ ๑๒๒)
      ิ ิ ู้                                   ่
 - ภกษุส่งให้ผอนรับทองเงิน แทนตน (นสสัคคิยปาจิตตีย์ ว.๓, ขอ ๘/ ๗๒)
           ิ ั ู้ ่ื                               ิ               ้
 - ภกษุรอยูวาน้ำมีตัวสัตว์ สั่งให้ผ้อนรดหญ้าหรือดิน (ปาจิตตีย์ ว.๒, ๑๐/ ๑๐๕)
            ิ ู้ ่ ่                  ู ่ื
 * กัปปิยโวหารให้ผอนขุดดิน ( > ดูท่อนาบัตปาจิตตีย์ ว.๑, ๑๐/ ๙๕)
                       ู้ ่ื               ี         ิ
 * กัปปิยโวหารให้ผอนพรากต้นไม้ ( > ดูที่อนาบัตปาจิตตีย์ ว.๒, ๑/ ๙๖)
                     ู้ ่ื                                  ิ


             ฉ. กลุมสิกขาบทเกียวกับสังฆสามัคคี
                  ่          ่
                (ความพร้อมเพรียงในหมูสงฆ์)
                                      ่
 สกขาบทเกียวกับการไม่ทำสงฆ์ให้แตกกัน
  ิ      ่
 - ภกษุพยายามทำลายสงฆ์ให้แตก สงฆ์หาม ๓ ครัง ยงไม่เลิก (สงฆาทิเสส ๑๐/ ๓๗)
    ิ                                 ้       ้ ั           ั
 - ภกษุผประพฤติตามภิกษุผทำลายสงฆ์ สงฆ์หาม ๓ ครัง (สังฆาทิเสส ขอ ๑๑/ ๓๙)
      ิ ู้                 ู้             ้         ้               ้
           ิ                  ู้                ุ
        - ภกษุประพฤติตามภิกษุผทำสงฆ์ให้แตกกัน (ถลลัจจัย สงฆเภทขันธ์ จล. ๒/ ๓๓๒)
                                                         ั            ุ
ภาคพิเศษ : ส่วนช่วยศึกษาค้นคว้าสิกขาบททีมลกษณะเดียวกัน
                                        ่ ีั                                ๔๙๗

- ภิกษุฉนเป็นหมู่ (ปาจิตตีย์ วรรค ๔, ขอ ๒/ หน้า ๑๑๔ ดเชิงอรรถหน้า ๑๑๖ประกอบ)
        ั                             ้              ู
สกขาบทเกียวกับการไม่ให้เกิดการวิวาทกัน
 ิ      ่
- ภกษุมโทสะตามกำจัดภิกษุดวยอาบัตปาราชิกทีไม่มมล (สงฆาทิเสส ๘/ หน้า ๓๔)
       ิ ี                      ้   ิ           ่ ี ู ั
- ภกษุมโทสะถือเอาเลสตามกำจัดภิกษุดวยอาบัตปาราชิกทีไม่มมล(สงฆาทิเสส ๙/ ๓๖)
    ิ ี                               ้       ิ      ่ ี ู ั
- ภกษุกำจัดภิกษุดวยอาบัตสงฆาทิเสสทีไม่มมล (ปาจิตตีย์ วรรค๘, ขอ ๖/ หน้า ๑๕๙)
     ิ             ้        ิั          ่ ี ู                  ้
            ิ             ิ
         - ภกษุโจทอาบัตโดยไม่ขอโอกาสก่อน(ทกกฏ อโบสถขันธ์ มหา.๑/หน้า ๒๒๗ข้อ๒๒)
                                            ุ    ุ
- ภกษุกอความรำคาญ(สงสัยว่าเป็นอาบัต)แก่ภกษุอน (ปาจิตตีย์ ว. ๘, ขอ๗/ หน้า๑๖๐)
   ิ ่                                   ิ ิ ่ื                    ้
              ูุ     ิ ู้      ้ ู                    ุ          ้
         > ดคณสมบัตผโจทและผูถกโจท (ปาฏิโมกขฐปนขันธ์ จลวรรค ขอ ๒/ หน้า ๓๕๓)


- ภกษุบอกอาบัตชวหยาบของภิกษุแก่ผไม่ได้บวช (ปาจิตตีย์ วรรค ๑, ๙/ หน้า ๙๔)
    ิ          ิ ่ั                ู้
- ภกษุรอยูปกปิดอาบัตชวหยาบของภิกษุ (ปาจิตตีย์ วรรค ๗, ขอ ๔/ หน้า ๑๔๘)
   ิ ู้ ่           ิ ่ั                               ้
* ทรงอนุญาตให้สวดปาติโมกข์ทกกึงเดือน (อโบสถ. มหาวรรค ๑ / หน้า๒๒๔-๒๒๕)
                           ุ ่         ุ

- ภกษุพดส่อเสียด (ยให้ทะเลาะกัน) (ปาจิตตีย์ วรรค ๑, ขอ ๓/ หน้า ๘๘)
      ิ ู             ุ                                ้
- ภกษุแอบฟังความของภิกษุผทะเลาะกัน (ปาจิตตีย์ วรรค ๘, ขอ ๘/ หน้า ๑๖๑)
       ิ                      ู้                            ้
- ภกษุโพนทะนาบ่นว่า(ภกษุททำหน้าทีโดยธรรมทีสงฆ์สมมติ) (ปาจิตตีย์ ๒, ๓/๙๘)
    ิ                    ิ ่ี         ่          ่
- ภกษุตเตียนภิกษุวาสอนภิกษุณเพราะเห็นแก่ลาภ (ปาจิตตีย์ ว.๓, ขอ ๔/ หน้า ๑๐๘)
   ิ ิ              ่            ี                              ้
            ิ ่                                            ั ุ
         - ภกษุกอการทะเลาะวิวาทก่ออธิกรณ์: ลงตัชชนียกรรม (กมม. จล. ๑/ หน้า๒๗๗)
สกขาบทเกียวกับการเคารพซึงกันและกัน
 ิ      ่              ่
- ภกษุเป็นผูวายากสอนยาก สงฆ์หาม๓ ครังไม่ละเลิก (สงฆาทิเสส ขอ ๑๒/ หน้า ๔๑)
     ิ       ้่               ้       ้          ั            ้
- ภกษุเป็นผูให้ลำบาก(คอ พดเฉไฉเมือถูกสอบสวน) (ปาจิตตีย์ ว.๒, ขอ ๒/ หน้า ๙๗)
   ิ       ้          ื ู        ่                              ้
* ทรงอนุญาตปวารณากันและกัน(คอให้ภกษุอนว่ากล่าวตักเตือนได้) (ปวารณา. มหา.๑/๒๓๖)
                                ื ิ ่ื

- ภกษุรอยูฟนอธิกรณ์ททำเสร็จแล้วตามธรรม (ปาจิตตีย์ วรรค ๗, ขอ ๓/ หน้า ๑๔๗)
   ิ ู้ ่ ้ื           ่ี                                     ้
- มอบฉันทะเพือกรรมอันเป็นธรรมแล้วพูดบ่นว่าในภายหลัง (ปาจิตตีย์ ว. ๘, ๙/ ๑๖๒)
               ่
          ิ
- กำลังวินจฉัยเรืองในสงฆ์อยูไม่ให้ฉนทะลุกจากอาสนะหลีกไปเสีย(ปาจิตตีย์ ว.๘,๑๐/๑๖๓)
                 ่         ่       ั
๔๙๘                                       ประมวลพระพุทธบัญญัติ   อริยวินย จากพระไตรปิฎก
                                                                        ั


 - ภิกษุรวมกับสงฆ์ให้จวรแก่ภกษุแล้วติเตียนภายหลัง (ปาจิตตีย์ ว.๘, ๑๑/ หน้า ๑๖๔)
         ่                    ี   ิ
                       ั ิั     ้       ั ิ ่ ่ ่
       * ทรงบัญญตวตร ๑๔ ขอปฏิบตตอกัน, ตอสิงต่างๆ (วตตักขันธ์ จล.๒/๓๓๕-๓๔๙)
                                                        ั        ุ
       - ภกษุไม่ให้กราบไหว้,ลกรับ,การทำอัญชลีกรรม,การทำสามีจกรรม,อาสนะทีเลิศ
              ิ                     ุ                          ิ            ่
           นำอันเลิศ,บณฑบาตอันเลิศ ตามลำดับผูแก่กว่า(ทกกฏ เสนาสน. จล.๒/๓๒๑-๓๒๓)
            ้            ิ                       ้    ุ            ุ
       * ทรงอนุญาตผูสอนธรรมวินยอ่อนกว่านังอาสนะเสมอหรือสูงกว่าผูฟง และให้
                            ้         ั        ่                       ้ ั
           ภกษุผมอาสนะเสมอกันระหว่าง๒พรรษานังรวมกันได้ (เสนาสน. จล. ๒/ ๓๒๔)
                ิ ู้ ี                             ่                 ุ
       - ภกษุสงฆ์ ไม่พยาบาลภิกษุอาพาธ (ทกกฏ จวรขันธ์ มหา.๒/ ๒๖๔)
          ิ                             ุ    ี

 สกขาบทเกียวกับการไม่ทำตัวให้เป็นทีรงเกียจ
  ิ      ่                         ่ั
 - ภกษุโกรธน้อยใจให้ประหาร(ทำร้าย)ภกษุ (ปาจิตตีย์ วรรค ๘, ขอ ๔/ หน้า ๑๕๘)
          ิ                            ิ                       ้
 - ภกษุโกรธน้อยใจเงือหอกคือฝ่ามือแก่ภกษุ (ปาจิตตีย์ วรรค ๘, ขอ ๕/ หน้า ๑๕๙)
        ิ           ้                    ิ                       ้
 - เป็นปาจิตตียในเพราะจีด้วยนิวมือ (ปาจิตตีย์ วรรค ๖, ขอ ๒/ หน้า ๑๓๖)
               ์         ้      ้                      ้
 - ภกษุโกรธขัดใจฉุดคร่าให้ฉดคร่าภิกษุจากวิหารของสงฆ์ (ปาจิตตีย์ ว.๒, ๙/ หน้า๑๐๒)
    ิ                         ุ
 - ภกษุรอยูนอนแทรกภิกษุผเข้าไปอยูกอนในวิหารสงฆ์ฯ (ปาจิตตีย์ ว. ๒, ๖/ หน้า๑๐๑)
      ิ ู้ ่               ู้      ่ ่
 - ภกษุนงนอนทับเตียงตังทีอยูบนร้านในวิหารสงฆ์ (ปาจิตตีย์ ว. ๒, ขอ ๘/ หน้า ๑๐๓)
       ิ ่ั             ่ ่ ่                                      ้

 - ภกษให้จวรแก่ภกษุเองแล้วโกรธน้อยใจชิงเอามา (นสสัคคิยปาจิตตีย์ ว.๓, ๕/ หน้า๘๐)
    ิ ุ ี            ิ                              ิ
 - ภกษุชวนภิกษุไปบิณฑบาตด้วยกันแล้วไล่กลับ (ปาจิตตีย์ วรรค๕, ขอ ๒/ หน้า ๑๒๖)
       ิ                                                            ้
      ิ ู้ ่                    ิ ่ี ้            ั
 - ภกษุรอยูเพ่งจะหาโทษพูดให้ภกษุทหามภัตแล้ว ฉนของมิใช่เดน(ปาจิตตีย์ ว.๔, ๖/๑๒๐)
 - ภกษุใดหลอนซึงภิกษุ เป็นปาจิตตีย์ (ปาจิตตีย์ วรรค ๖, ขอ ๕/ หน้า ๑๓๙)
           ิ           ่                                  ้
 - ภกษุซอนหรือให้ซอนบริขารของภิกษุแม้เพือจะหัวเราะ (ปาจิตตีย์ ว.๖,๑๐/ หน้า๑๔๕)
     ิ ่                 ่                    ่
         ิ                             ้ ่ื                     ้
 - ภกษุเพ่งโพนทะนาแลดูบาตรของผูอน (ทุกกฏ เสขิยะ วรรค๒, ขอ ๑๒/ หน้า ๑๘๖)
                ิ                  ั            ุ       ุ         ุ
             - มใช่เพราะเหตุอาพาธ ฉนกระเทียม (ทกกฏ ขททกวัตถุ. จล.๒/ หน้า ๓๑๗)
                  ิ ั
             - ภกษุฉนหรือดืมในภาชนะเดียวกัน, นอนร่วมเตียง,รวมเครืองลาด,หรือ
                            ่                                 ่       ่
                   ้                 ุ
                ผาห่มผืนเดียวกัน (ทกกฏ ขททกวัตถุขนธ์ จลวรรค ภาค ๒/ หน้า ๓๑๑)
                                            ุ         ั ุ
3.ภาคพิเศษแผนผังกลุ่มสิกขาดัชนีหน้า473 516
3.ภาคพิเศษแผนผังกลุ่มสิกขาดัชนีหน้า473 516
3.ภาคพิเศษแผนผังกลุ่มสิกขาดัชนีหน้า473 516
3.ภาคพิเศษแผนผังกลุ่มสิกขาดัชนีหน้า473 516
3.ภาคพิเศษแผนผังกลุ่มสิกขาดัชนีหน้า473 516
3.ภาคพิเศษแผนผังกลุ่มสิกขาดัชนีหน้า473 516
3.ภาคพิเศษแผนผังกลุ่มสิกขาดัชนีหน้า473 516
3.ภาคพิเศษแผนผังกลุ่มสิกขาดัชนีหน้า473 516
3.ภาคพิเศษแผนผังกลุ่มสิกขาดัชนีหน้า473 516
3.ภาคพิเศษแผนผังกลุ่มสิกขาดัชนีหน้า473 516
3.ภาคพิเศษแผนผังกลุ่มสิกขาดัชนีหน้า473 516
3.ภาคพิเศษแผนผังกลุ่มสิกขาดัชนีหน้า473 516
3.ภาคพิเศษแผนผังกลุ่มสิกขาดัชนีหน้า473 516
3.ภาคพิเศษแผนผังกลุ่มสิกขาดัชนีหน้า473 516
3.ภาคพิเศษแผนผังกลุ่มสิกขาดัชนีหน้า473 516
3.ภาคพิเศษแผนผังกลุ่มสิกขาดัชนีหน้า473 516
3.ภาคพิเศษแผนผังกลุ่มสิกขาดัชนีหน้า473 516
3.ภาคพิเศษแผนผังกลุ่มสิกขาดัชนีหน้า473 516
3.ภาคพิเศษแผนผังกลุ่มสิกขาดัชนีหน้า473 516
3.ภาคพิเศษแผนผังกลุ่มสิกขาดัชนีหน้า473 516

More Related Content

What's hot

สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อนสมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อนniralai
 
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)Ballista Pg
 
บทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีบทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีTongsamut vorasan
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะอุษณีษ์ ศรีสม
 
บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี
บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี
บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี Panuwat Beforetwo
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
บทสวด
บทสวดบทสวด
บทสวดsanunya
 
กิจกรรมหน้าเสาธง
กิจกรรมหน้าเสาธงกิจกรรมหน้าเสาธง
กิจกรรมหน้าเสาธงniralai
 
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลรวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลChavalit Deeudomwongsa
 
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasatiTongsamut vorasan
 
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์Nhui Srr
 
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้Theeraphisith Candasaro
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมniralai
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrareciteTongsamut vorasan
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14Tongsamut vorasan
 

What's hot (19)

สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อนสมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
 
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
 
บทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีบทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปี
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
 
บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี
บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี
บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
มนต์พิธี
มนต์พิธีมนต์พิธี
มนต์พิธี
 
บทสวดมนต์
บทสวดมนต์บทสวดมนต์
บทสวดมนต์
 
บทสวด
บทสวดบทสวด
บทสวด
 
กิจกรรมหน้าเสาธง
กิจกรรมหน้าเสาธงกิจกรรมหน้าเสาธง
กิจกรรมหน้าเสาธง
 
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลรวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
 
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
 
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
 
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
 
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
 
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011 Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
 

Viewers also liked

12 Zodiac Animals Hanzi Re-creation
12 Zodiac Animals Hanzi Re-creation 12 Zodiac Animals Hanzi Re-creation
12 Zodiac Animals Hanzi Re-creation Ping Wu
 
Dispenca e materialit semestri IV Kumanovë
Dispenca e materialit semestri IV KumanovëDispenca e materialit semestri IV Kumanovë
Dispenca e materialit semestri IV KumanovëRamadan Ademi
 
sweet_magic_final_2
sweet_magic_final_2sweet_magic_final_2
sweet_magic_final_2sweet magic
 
"Hvordan sikre kunden i usikre tider"
"Hvordan sikre kunden i usikre tider" "Hvordan sikre kunden i usikre tider"
"Hvordan sikre kunden i usikre tider" Solv AS
 
Croissance durable : les bénéfices de l'économie circulaire pour la filière b...
Croissance durable : les bénéfices de l'économie circulaire pour la filière b...Croissance durable : les bénéfices de l'économie circulaire pour la filière b...
Croissance durable : les bénéfices de l'économie circulaire pour la filière b...Justine Laurent
 
Netværksdagen 2016 - Bruun &Partnere - Ingeniørstuderende anno 2016
Netværksdagen 2016 - Bruun  &Partnere - Ingeniørstuderende anno 2016Netværksdagen 2016 - Bruun  &Partnere - Ingeniørstuderende anno 2016
Netværksdagen 2016 - Bruun &Partnere - Ingeniørstuderende anno 2016Lars Friis Farsøe
 
Inbound marketing
Inbound marketingInbound marketing
Inbound marketingH1.cz
 
Tulevaisuuden oppiminen 060912
Tulevaisuuden oppiminen 060912Tulevaisuuden oppiminen 060912
Tulevaisuuden oppiminen 060912Sanna Brauer
 
Exploração Ilegal da Madeira - Jornal Notícias
Exploração Ilegal da Madeira  - Jornal Notícias Exploração Ilegal da Madeira  - Jornal Notícias
Exploração Ilegal da Madeira - Jornal Notícias Rogério Marques Júnior
 
Arany János - Divatosan online, hogyan tűnjünk ki neten - Divatmarketing konf...
Arany János - Divatosan online, hogyan tűnjünk ki neten - Divatmarketing konf...Arany János - Divatosan online, hogyan tűnjünk ki neten - Divatmarketing konf...
Arany János - Divatosan online, hogyan tűnjünk ki neten - Divatmarketing konf...Janos Arany
 
On the Price of Oil - May 2016 Hanke Globe Asia (1)
On the Price of Oil - May 2016 Hanke Globe Asia (1)On the Price of Oil - May 2016 Hanke Globe Asia (1)
On the Price of Oil - May 2016 Hanke Globe Asia (1)Anshul Subramanya
 
Žiniasklaidos planavimas. Tendencijos
Žiniasklaidos planavimas. TendencijosŽiniasklaidos planavimas. Tendencijos
Žiniasklaidos planavimas. TendencijosEuroRSCGPR
 
New Housing Projects in Wagholi Annex Pune
New Housing Projects in Wagholi Annex PuneNew Housing Projects in Wagholi Annex Pune
New Housing Projects in Wagholi Annex PuneAbisky Ritkriti
 
Call me VL-11 28.11.2012 Ole Kassow
Call me VL-11 28.11.2012 Ole KassowCall me VL-11 28.11.2012 Ole Kassow
Call me VL-11 28.11.2012 Ole KassowOle Kassow
 
Arbres à Palabres avril 2016 - journal interne de Prêt à Partir par François ...
Arbres à Palabres avril 2016 - journal interne de Prêt à Partir par François ...Arbres à Palabres avril 2016 - journal interne de Prêt à Partir par François ...
Arbres à Palabres avril 2016 - journal interne de Prêt à Partir par François ...François Piot
 

Viewers also liked (20)

Ubv 19999
Ubv 19999Ubv 19999
Ubv 19999
 
12 Zodiac Animals Hanzi Re-creation
12 Zodiac Animals Hanzi Re-creation 12 Zodiac Animals Hanzi Re-creation
12 Zodiac Animals Hanzi Re-creation
 
Dispenca e materialit semestri IV Kumanovë
Dispenca e materialit semestri IV KumanovëDispenca e materialit semestri IV Kumanovë
Dispenca e materialit semestri IV Kumanovë
 
sweet_magic_final_2
sweet_magic_final_2sweet_magic_final_2
sweet_magic_final_2
 
"Hvordan sikre kunden i usikre tider"
"Hvordan sikre kunden i usikre tider" "Hvordan sikre kunden i usikre tider"
"Hvordan sikre kunden i usikre tider"
 
Botswana
BotswanaBotswana
Botswana
 
Croissance durable : les bénéfices de l'économie circulaire pour la filière b...
Croissance durable : les bénéfices de l'économie circulaire pour la filière b...Croissance durable : les bénéfices de l'économie circulaire pour la filière b...
Croissance durable : les bénéfices de l'économie circulaire pour la filière b...
 
Netværksdagen 2016 - Bruun &Partnere - Ingeniørstuderende anno 2016
Netværksdagen 2016 - Bruun  &Partnere - Ingeniørstuderende anno 2016Netværksdagen 2016 - Bruun  &Partnere - Ingeniørstuderende anno 2016
Netværksdagen 2016 - Bruun &Partnere - Ingeniørstuderende anno 2016
 
Inbound marketing
Inbound marketingInbound marketing
Inbound marketing
 
Tulevaisuuden oppiminen 060912
Tulevaisuuden oppiminen 060912Tulevaisuuden oppiminen 060912
Tulevaisuuden oppiminen 060912
 
Exploração Ilegal da Madeira - Jornal Notícias
Exploração Ilegal da Madeira  - Jornal Notícias Exploração Ilegal da Madeira  - Jornal Notícias
Exploração Ilegal da Madeira - Jornal Notícias
 
Arany János - Divatosan online, hogyan tűnjünk ki neten - Divatmarketing konf...
Arany János - Divatosan online, hogyan tűnjünk ki neten - Divatmarketing konf...Arany János - Divatosan online, hogyan tűnjünk ki neten - Divatmarketing konf...
Arany János - Divatosan online, hogyan tűnjünk ki neten - Divatmarketing konf...
 
On the Price of Oil - May 2016 Hanke Globe Asia (1)
On the Price of Oil - May 2016 Hanke Globe Asia (1)On the Price of Oil - May 2016 Hanke Globe Asia (1)
On the Price of Oil - May 2016 Hanke Globe Asia (1)
 
Žiniasklaidos planavimas. Tendencijos
Žiniasklaidos planavimas. TendencijosŽiniasklaidos planavimas. Tendencijos
Žiniasklaidos planavimas. Tendencijos
 
New Housing Projects in Wagholi Annex Pune
New Housing Projects in Wagholi Annex PuneNew Housing Projects in Wagholi Annex Pune
New Housing Projects in Wagholi Annex Pune
 
Kako delati igre?
Kako delati igre?Kako delati igre?
Kako delati igre?
 
Call me VL-11 28.11.2012 Ole Kassow
Call me VL-11 28.11.2012 Ole KassowCall me VL-11 28.11.2012 Ole Kassow
Call me VL-11 28.11.2012 Ole Kassow
 
Roy Shaff (Author) MBTI Theory and Education Presentation
Roy Shaff (Author) MBTI Theory and Education PresentationRoy Shaff (Author) MBTI Theory and Education Presentation
Roy Shaff (Author) MBTI Theory and Education Presentation
 
Arbres à Palabres avril 2016 - journal interne de Prêt à Partir par François ...
Arbres à Palabres avril 2016 - journal interne de Prêt à Partir par François ...Arbres à Palabres avril 2016 - journal interne de Prêt à Partir par François ...
Arbres à Palabres avril 2016 - journal interne de Prêt à Partir par François ...
 
Verve In Bloom Blogging Basics
Verve In Bloom Blogging BasicsVerve In Bloom Blogging Basics
Verve In Bloom Blogging Basics
 

3.ภาคพิเศษแผนผังกลุ่มสิกขาดัชนีหน้า473 516

  • 1. ภาคพิเศษ เพือช่วยในการศึกษาค้นคว้านำมาปฏิบติ ่ ั สวนสรุปหลักเกณฑ์วธการระงับอธิกรณ์ ่ ิี แผนผังที่ ๑ สรุปวิธการทางสงฆ์เพือจัดการอธิกรณ์ ี ่ ตารางอธิบายอธิกรณ์ ๔ และอธิกรณสมถะ ๗ แผนผังที่ ๒ วธการลงโทษ ทีเ่ กิดเพราะเหตุอาชีวะหรือปาติโมกข์ ิี แผนผังที่ ๓ วธการลงโทษ ทเกิดเพราะเหตุมรรคหรือปฏิปทา ิี ่ี สวนช่วยศึกษาค้นคว้าสิกขาบททีมลกษณะเดียวกัน ่ ่ ีั สวนดัชนี (ชวยค้นหาคำ โดยเรียงตามลำดับอักษร) ่ ่ ดชนีเนือเรืองพระวินย ั ้ ่ ั ดชนีเนือเรืองพระธรรม ั ้ ่ ดชนีชอเฉพาะ (อสาธารณนาม) ั ่ื
  • 2. ถุงลม “ภิกษุ! ภิกษุในกรณีน้ี ย่อมเล่าเรียนปริยตธรรม (นานาชนิด)ั ิ คือ สุตตะ เคยยะ เวยยากรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาตกะ อัพภูตธัมมะ เวทัลละ; เธอใช้เวลาทั้งวันให้เปลืองไปด้วยการเรียน ธรรมนั้น ต้องเลิกร้างจากการหลีกเร้น ไม่ประกอบซึ่งธรรมเป็นเครื่อง สงบใจในภายใน. ภิกษุน้ี เราเรียกว่า ผมากไปด้วยปริยติ (นกเรียน) ู้ ั ั ยังมิใช่ธรรมวิหารี (ผอยูด้วยธรรม). ู้ ่ อี ก อย่ า งหนึ ่ ง , ภิ ก ษุ แสดงธรรมตามที ่ ไ ด้ ฟ ั ง ได้ เ รี ย นมา แก่คนอืนโดยพิสดาร, เธอใช้เวลาทังวันให้เปลืองไปด้วยการบัญญัติ ธรรมนัน ่ ้ ้ ต้ อ งเลิ ก ร้ า งจากการหลี ก เร้ น ไม่ ป ระกอบซึ ่ ง ธรรมเป็ น เครื ่ อ ง สงบใจในภายใน. ภิกษุน้ี เราเรียกว่า ผมากไปด้วยบัญญัติ (นกแต่ง) ู้ ั ยังมิใช่ธรรมวิหารี (ผอยูด้วยธรรม). ู้ ่ ี อกอย่างหนึง, ภิกษุ ทำการสาธยายธรรมตามทีได้ฟง ได้เรียน ่ ่ ั มาโดยพิสดาร,เธอใช้เวลาทั้งวันให้เปลืองไปด้วยการสาธยาย ธรรมนั้น ต้ อ งเลิ ก ร้ า งจากการหลี ก เร้ น ไม ่ ประกอบซึ ่ ง ธรรม เป็ น เครื ่ อ ง สงบใจในภายใน. ภกษุน้ี เราเรียกว่า ผมากไปด้วยการสวด (นักสวด) ิ ู้ ู้ ่ ้ ยังมิใช่ ธรรมวิหารี (ผอยูดวยธรรม). ี อกอย่างหนึง, ภิกษุ คิดพล่านไปในธรรมตามทีได้ฟง ได้เรียนมา, ่ ่ ั เธอใช้ เ วลาทั ้ ง วั น ให้ เ ปลื อ งไป ด้ ว ยการคิ ด พล่ า นใน ธรรมนั้น ต้องเลิกร้างจากการหลีกเร้น ไม่ประกอบซึ่งธรรมเป็นเครื่อง ิ สงบใจ ในภายใน. ภกษุน้ี เราเรียกว่า ผมากไปด้วยการคิด (นกคิด) ู้ ั ู้ ่ ยังมิใช่ธรรมวิหารี (ผอยูด้วยธรรม). (พระไตรปิฎกบาลี สยามรัฐ ๒๒ / ๙๘ / ๗๓ ) ซือสัตย์ตอพระพุทธองค์ ่ ่ ซอตรงต่อพระธรรมวินย ่ื ั ให้พระสงฆ์เป็นใหญ่ ใฝ่ใจพระนิพพาน ฯ .
  • 3. ๔๗๕ ส่วนสรุปหลักเกณฑ์วธการระงับอธิกรณ์ ิ ี เพื่อให้ผู้ศึกษามองเห็นภาพโดยรวมของระบบอธิกรณ์ทั้งหมด คือ ตงแต่การเกิดอธิกรณ์ จนถึงอธิกรณ์ระงับ อย่างย่อ ๆ ้ั (ซึ่งเป็นภาพโดยรวมของแผนผังที่ ๑, ๒ และ ๓ นั่นเอง) สามารถทีจะบรรยายออกเป็นแผนภาพได้ดงนี้ ่ ั แผนภาพรวมโดยย่อ ของ อธิกรณ์และการระงับอธิกรณ์ ข้อสังเกต จากพระพุทธดำรัสใน สามคามสูตร (ดูหน้า ๓๘๙) มีการแบ่งเหตุความวิวาทเป็น ๒ ส่วน ซึ่งจะระงับ โดยไม่ตองอาบัตและต้องอาบัติ ในการต้องอาบัตจงสามารถจัดกลุมได้จากเหตุตามเรืองทีเกิดขึน ๒ สวนนี้ คอ ๑.เรือง ้ ิ ิึ ่ ่ ่ ้ ่ ื ่ ที่เกิดเพราะเหตุ อาชีวะอันยิ่งหรือปาติโมกข์อันยิ่ง และ ๒.เรื่องอันเกิดในสงฆ์ที่เกิดเพราะเหตุ มรรคหรือปฏิปทา.
  • 4.
  • 6. , , , , - - . . . . . . ( - . ) ( ) . . . . . . . , , , , . , , , , , , . , . , . . . . . . . ( , , , ,
  • 7. ๔๗๙ ( ) , , , , , , , , :- :- , , , , , , ( ) ( ) , . , , ( ) ) .
  • 8.
  • 10. . . . ( ) ( , ) ( , , , , , , , , ( ) ( ) ( )+ . . . ( ) . . - -
  • 11. ๔๘๓ . . ) ( ) ( ) , , , , , , , ( ) ( ) ( ) . ( ) , , ( . ) ( ) ( ) ( ) ( , ) ( , )
  • 12. รักษาพรหมจรรย์ไว้ดวยน้ำตา ้ “ภิกษุ ทั้งหลาย ! บรรพชิตรูปใด จะเป็นภิกษุหรือภิกษุณีก็ตาม, แม้จะทุกข์กายทุกข์ใจ ถึงน้ำตานองหน้า รองไห้อยู่ กยังสูประพฤติพรหมจรรย์ ้ ็ ้ ให้บรสุทธิ์บรบูรณอยู่ไดก็มี ข้อที่น่าสรรเสริญเธอให้เหมาะสมแก่ธรรมที่เธอได้มี ิ ิ ์ ้ ในบัดนี้ มอยูหาอย่าง. หาอย่างอะไรบ้างเล่า ? หาอย่างคือ :- ี ่ ้ ้ ้ (๑) ธรรมทีชอว่า ศรัทธา ในกุศลธรรมทังหลาย กได้มแล้วแก่เธอ. ่ ่ื ้ ็ ี (๒) ธรรมทีชอว่า หริ ในกุศลธรรมทังหลาย กได้มแล้วแก่เธอ. ่ ่ื ิ ้ ็ ี (๓) ธรรมทีชอว่า โอตตัปปะ ในกุศลธรรมทังหลาย กได้มแล้วแก่เธอ. ่ ่ื ้ ็ ี (๔) ธรรมทีชอว่า วรยะ ในกุศลธรรมทังหลาย กได้มแล้วแก่เธอ. ่ ่ื ิิ ้ ็ ี (๕) ธรรมทีชอว่า ปญญา ในกุศลธรรมทังหลาย ก็ได้มแล้วแก่เธอ. ่ ่ื ั ้ ี ภิกษุ ทั้งหลาย ! บรรพชิตรูปใด จะเป็นภิกษุหรือภิกษุณีก็ตาม, แม้จะทุกข์กายทุกข์ใจ ถงน้ำตานองหน้า รองไห้อยู่ กยงสูประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสทธิ์ ึ ้ ็ั ้ ุ บริบูรณ์อยู่ได้ก็มี ข้อที่น่าสรรเสริญเธอให้เหมาะสมแก่ธรรมที่เธอได้มีในบัดนี้ หาอย่างเหล่านีแล.” ้ ้ (พระไตรปิฎกบาลี สยามรัฐ ๒๒ / ๕ / ๔ )
  • 13. ภาคพิเศษ : ส่วนช่วยศึกษาค้นคว้าสิกขาบททีมลกษณะเดียวกัน ่ ีั ๔๘๕ ส่วนช่วยศึกษาค้นคว้าสิกขาบททีมลกษณะเดียวกัน ่ ีั จัดกลุมสิกขาบทเพือการศึกษาค้นคว้า ตามลักษณะดังนี้ คอ :- ่ ่ ื ก. กลุมสิกขาบทเกียวกับนิสสัย ๔ (ปจจัยเครืองอาศัยของบรรพชิต) ่ ่ ั ่ ข. กลุมสิกขาบทเกียวกับอกรณียกิจ ๔ (กจทีบรรพชิตไม่ควรทำ) ่ ่ ิ ่ ค. กลุมสิกขาบทเกียวกับอาจารวิบติ (ผดจรรยามารยาทของสมณะ) ่ ่ ั ิ ง. กลุมสิกขาบทเกียวกับทิฏฐิวบติ (ความเห็นผิด) ่ ่ ิ ั จ. กลุมสิกขาบทเกียวกับอาชีววิบติ (การเลียงชีพทีผดของบรรพชิต) ่ ่ ั ้ ่ ิ ฉ. กลุมสิกขาบทเกียวกับสังฆสามัคคี (ความพร้อมเพรียงในหมูสงฆ์) ่ ่ ่ ก. กลุมสิกขาบทเกียวกับนิสสัย ๔ ่ ่ (ปัจจัยเครืองอาศัยของบรรพชิต) ่ ๑. สกขาบทเกียวกับอาหารการขบฉัน ิ ่ “บรรพชาอาศัยโภชนะ คือคำข้าวที่พึงได้ด้วยกำลังปลีแข้ง เธอพึงทำความอุตสาหะในโภชนะ คือคำข้าวที่พึงได้ด้วยกำลังปลีแข้งจนตลอดชีวิต อติเรกลาภ คือ ภตถวายสงฆ์ ภตเฉพาะสงฆ์ การนิมนต์ ภตถวายตามสลาก ั ั ั ภัตถวายในปักษ์ ภัตถวายในวันอุโบสถ ภัตถวายในวันปาฎิบท” (นิสสัย ๔ มหาวรรค ภาค.๑/ ดูหน้า ๒๒๒) - ภกษุฉนอาหารทีเขายังไม่ได้ให้ ลวงช่องปาก(ปาจิตตีย์ วรรคที่ ๔, ขอ๑๐/ หน้า ๑๒๓) ิ ั ่ ่ ้ - ภกษุไม่อาพาธฉันอาหารประณีตทีขอมาเพือประโยชน์ตน (ปาจิตตีย์ ว.๔, ๙/ ๑๒๒) ิ ่ ่ ิ - ภกษุไม่อาพาธขอแกงหรือข้าวสุกเพือประโยชนตน (ทุกกฏ เสขิยะ ว.๒, ๑๑/ ๑๘๖) ่ ์ ิ ั ้ ้ ุ ้ - ภกษุรบ และฉันบิณฑบาต โดยไม่เอือเฟือ (ทกกฏ เสขิยะ ว.๒, ขอ๑,๕ /๑๘๔, ๑๘๕) ิ ั - ภกษุรบบิณฑบาตจนล้น (ขอบบาตร) (ทุกกฏ เสขิยะ วรรค ๒, ๔ /๑๘๕) - เขาปวารณาให้นำไปตามปรารถนาภิกษุรบยิงกว่า ๓ บาตร (ปาจิตตีย์ ว. ๔, ๔/ ๑๑๗) ั ่ ิ ึ ั ุ - ภกษุพงศึกษาว่า จกรับบิณฑบาตพอเหมาะกับแกง (ทกกฏ เสขิยะ ว.๒, ๓/ ๑๘๕) หมายเหตุ (-) เป็นสิกขาบททีเป็นขอห้าม โดยจะแสดง : (ประเภทของโทษ คมภีรหรือวรรคที,่ ขอที่ / หน้าของหนังสือนี) ่ ้ ั ์ ้ ้ (-)ทตนบรรทัดเป็นระดับ อาทิพรหมจาริยาสิกขา, (-)ทยอเข้ามาเป็นบางส่วนของ อภิสมาจาริกาสิกขา ่ี ้ ่ี ่ (-)อกษรเอน เป็นลกษณะพฤติกรรมทีควรถูกสงฆ์ลงโทษ, หรือขอห้ามทีมในพระไตรปิฎกทีอนๆ ั ั ่ ้ ่ ี ่ ่ื (*) อกษรเอนเป็นขอทีทรงอนุญาต โดยจะแสดง : (ชอคัมภีร์ / หน้าของหนังสือเล่มนี) ควรจะดูใจความเต็ม.. ั ้ ่ ่ื ้
  • 14. ๔๘๖ ประมวลพระพุทธบัญญัติ อริยวินย จากพระไตรปิฎก ั - ภิกษุไม่ได้รบนิมนต์รบอาหารในสกุลทีสงฆ์สมมติวาเป็นเสกขะ(ปาฏิเทสนียะ ๓/๑๗๘) ั ั ่ ่ - ภกษุฉนอาหารทีทำการสังสม (เก็บไว้คางคืน) (ปาจิตตีย์ วรรค ๔, ขอ ๘ / หน้า๑๒๑) ิ ั ่ ่ ้ ้ * ทรงอนุญาตแสวงหาเสบียงเดินทางได้, แต่ไม่อนุญาตเงิน (เภสัชชขันธ์ มหา.๒/ ๒๕๓) - ภกษุเก็บอาหารค้างคืนในทีอยู่ (ทุกกฏ เภสัชชขันธ์ มหา.๒/ ๒๕๑) ิ ่ - ภกษุหงต้มอาหารในทีอยู่ (ทุกกฏ เภสัชชขันธ์ มหา.๒/ ๒๕๑) ิ ุ ่ - ภกษุหงต้มอาหารด้วยตนเอง (ทกกฏ เภสัชชขันธ์ มหา.๒/ ๒๕๑) ิ ุ ุ - ฉนผลไม้ทเก็บมาเองโดยให้คนประเคนทีหลัง (ทุกกฏ เภสัช. มหา.๒/ ๒๕๒) ั ่ี * ทรงอนุญาตฉันภัต ๖ อย่าง มฉนในทีนมนต์ เป็นต้น (เภสัช. มหา.๒/ ๓๒๗) ี ั ่ ิ - ภกษุฉนเป็นหมู่ เว้นแต่ในสมัยทีทรงอนุญาต (ปาจิตตีย์ วรรค ๔, ขอ๒/ หน้า๑๑๔) ิ ั ่ ้ - ภกษุรับนิมนต์แล้ว เว้นโภชนะนัน ฉนโภชนะอืน (ปาจิตตีย์ ว. ๔, ๓/ ๑๑๖) ิ ้ ั ่ ั ั ่ ิ - ฉนเสร็จแล้วห้ามภัตแล้ว ฉนอาหารทีมใช่เดน(ปาจิตตีย์ ว.๔, ๕/๑๑๙; เภสัช. มหา. ๒/ ๒๕๒) - ภกษุมใช่ผอาพาธฉันอาหารในโรงทานยิงกว่าครังหนึง (ปาจิตตีย์ ว.๔, ๑/ ๑๑๓) ิ ิ ู้ ่ ้ ่ ิ ่ ี ั - ภกษุอยูในป่าทีมภยฉันอาหารทีเขาไม่ได้บอกให้รไว้กอน (ปาฏิเทสนียะ ๔/ ๑๗๙) ่ ่ ู้ ่ - ภกษุฉนอาหารในเวลาวิกาล (คอหลังเทียงไป) (ปาจิตตีย์ วรรค ๔, ขอ๗/ หน้า๑๒๑) ิ ั ื ่ ้ ๒. สกขาบทเกียวกับเครืองนุงห่ม และบริขารอืนๆ ิ ่ ่ ่ ่ “บรรพชาอาศัยผ้าบังสุกล ุ เธอพึงทำความอุตสาหะในผ้าบังสุกลนันจนตลอดชีวต ุ ้ ิ อติเรกลาภ คือ ผ้าเปลือกไม้ ผ้าฝ้าย ผ้าไหม ผ้าขนสัตว์ ผ้าป่าน ผ้าเจือกัน” (นสสัย ๔ มหาวรรค ภาค ๑/ ดูหน้า ๒๒๒) ิ สกขาบทเกียวกับเครืองนุมห่ม ิ ่ ่ ่ ี ี * ทรงอนุญาตคหบดีจวร, และอนุญาตผ้าจีวร ๖ ชนิด (จวรขันธ์ มหา.๒ /๒๖๐) ้ * ทรงอนุญาตสียอมจีวรทีทำจากรากลำต้นเปลือกใบดอกผลต้นไม้ (จวรขันธ์ มหา.๒ /๒๖๑) ่ ี - ภกษุใช้จวรมีสท่ีไม่สมควร (ทุกกฏ จวรขันธ์ มหา.๒ /๒๖๖) ิ ี ี ี
  • 15. ภาคพิเศษ : ส่วนช่วยศึกษาค้นคว้าสิกขาบททีมลกษณะเดียวกัน ่ ีั ๔๘๗ * ทรงอนุญาตให้ใช้ไตรจีวร (จีวรขันธ์ มหาวรรค ภาค ๒ / ดูหน้า ๒๖๑) - ภกษุอยูปราศจากไตรจีวร แม้สนราตรีหนึง (นสสัคคิยปาจิตตีย์ วรรค๑, ขอ๒/ หน้า๕๓) ิ ่ ้ิ ่ ิ ้ ิ - ภกษุอยูในป่าทีมภยเก็บจีวรไว้ในบ้านเกิน ๖ ราตรี (นสสัคคิยปาจิตตีย์ ว.๓, ๙/ ๘๔) ่ ่ ี ั ิ - ภกษุมแต่จวร กบสบงเข้าบ้าน เว้นมีเหตุจำเป็น ๕ (ทกกฏ จวร. มหา.๒/ ๒๖๓) ิ ี ี ั ุ ี - ภกษุขอจีวรต่อคฤหัสถ์ผมใช่ญาติ นอกจากสมัยฯ (นสสัคคิยปาจิตตีย์ ว.๑, ๖/ ๕๗) ิ ู้ ิ ิ - ภกษุจวรฉิบหายรับจีวรจากผูทมใช่ญาติเกินกำหนด (นสสัคคิยปาจิตตีย์ ว.๑, ๗/ ๕๙) ิ ี ้ ่ี ิ ิ - ผทมใช่ญาติเตรียมจ่ายจีวรแก่ภกษุๆไปกำหนดจีวร (นสสัคคิยปาจิตตีย์ ว.๑, ๘/ ๖๐) ู้ ่ี ิ ิ ิ ู้ ิ ิ - ผมใช่ญาติ๒คนเตรียมจ่ายจีวรแก่ภกษุๆให้รวมกันจ่ายจีวรดี(นสสัคคิยปาจิตตีย์ ว.๑, ๙/ ๖๑) ิ - ภกษุทวงจีวรจากผูรบฝากผูอนให้จายจีวร เกิน ๖ครัง(นสสัคคิยปาจิตตีย์ ว.๑, ๑๐/ ๖๒) ิ ้ั ้ ่ื ่ ้ ิ - ภกษุขอด้ายมาเองแล้ว ยงช่างหูกให้ทอจีวร (นสสัคคิยปาจิตตีย์ ว.๓, ๖/ ๘๐) ิ ั ิ - ผมใช่ญาติให้ชางหูกทอจีวรแก่ภกษุๆสังช่างให้ทอให้ดี(นสสัคคิยปาจิตตีย์ ว.๓, ๗/ ๘๑) ู้ ิ ่ ิ ่ ิ - ภกษุทำจีวรมีประมาณเท่าสุคตจีวร หรือยิงกว่า (ปาจิตตีย์ ว.๙, ๑๐/ ๑๗๕) ิ ่ - ภกษุไม่ทำให้เสียสีอย่างใดอย่างหนึงก่อน ใช้จวรใหม่ (ปาจิตตีย์ ว.๖, ๘/ ๑๔๓) ิ ่ ี ้ ั ึ ุ ี - ผาทุกผืนทีไม่ได้ตดภิกษุไม่พงใช้ (ทกกฏ จวร. มหา.๒/ หน้า๒๖๑ และ๒๖๓) ่ - ภกษุทรงอติเรกจีวรไว้ยงกว่า ๑๐ วน (นสสัคคิยปาจิตตีย์ วรรค๑, ขอ ๑/ ดูหน้า๕๓) ิ ่ิ ั ิ ้ - ภกษุวกปจีวรเองแก่สหธรรมิก แล้วใช้จวรทียงไม่ให้เขาถอน (ปาจิตตีย์ ว.๖, ๙/ ๑๔๔) ิ ิ ั ี ่ั - ภกษุเก็บอกาลจีวรไว้เกิน ๑ เดือน (นสสัคคิยปาจิตตีย์ ว.๑, ๓/ ๕๕) ิ ิ - ภกษุเก็บอัจเจกจีวรไว้เกินสมัยทีเป็นจีวรกาล (นสสัคคิยปาจิตตีย์ ว.๓, ๘/ ๘๒) ิ ่ ิ ี * ทรงอนุญาตผ้าต่างๆ (จวรขันธ์ มหาวรรค ภาค๒/ ดูหน้า ๒๖๓) - ภกษุแสวงหา-ทำผ้าอาบน้ำฝนเกินเวลาทีทรงกำหนด(นสสัคคิยปาจิตตีย์ ว.๓, ๔/ ๗๙) ิ ่ ิ - ทำผ้าปูนง,ผาปิดฝี,ผาอาบน้ำฝนมีขนาดเกินกำหนด(ปาจิตตีย์ ว.๙, ๗-๙/ ๑๗๒-๑๗๔) ่ั ้ ้ ิ ่ ่ี ี - ภกษุหมผ้าขนสัตว์ทมขนอยูดานนอก (ทุกกฏ ขททกวัตถุ. จล.๒/ ๓๐๖) ่ ้ ุ ุ - ภกษุถอขนเจียมไปด้วยมือตนเองเกิน ๓ โยชน์ (นสสัคคิยปาจิตตีย์ ว.๒, ๖/ ๗๐) ิ ื ิ
  • 16. ๔๘๘ ประมวลพระพุทธบัญญัติ อริยวินย จากพระไตรปิฎก ั - สิกขาบทเกียวกับการหล่อสันถัต ๕ เรือง (นสสัคคิยปาจิตตีย์ ว.๒, ขอ๑-๕/ ๖๕-๖๘) ่ ่ ิ ้ ิ ่ ั - ภกษุใช้ประคตเอวทีถกสวยงามมีทรวดทรงต่างๆ (ทกกฏ ขททกวัตถุ. จล.๒/ ๓๑๕) ุ ุ ุ - ภกษุเข้าบ้านโดยไม่มประคตเอว (ทกกฏ ขททกวัตถุ. จลวรรค ภาค๒/ ๓๑๕) ิ ี ุ ุ ุ สกขาบทเรืองบริขารอืนๆ ิ ่ ่ ุ * ทรงอนุญาตบาตร ๒ชนิดคือ บาตรเหล็กและบาตรดิน (ขททกวัตถุขนธ์ จล.๒/ ๓๐๗)ั ุ - ใช้กะโหลกน้ำเต้า,หม้อกระเบือง,กะโหลกหัวผีเป็นบาตร(ทกกฏ ขททก. จล.๒/ ๓๐๗) ้ ุ ุ ุ - ภกษุทรงอติเรกบาตรไว้เกิน ๑๐ วน (นสสัคคิยปาจิตตีย์ วรรค ๓, ขอ๑/ ดูหน้า ๗๖) ิ ั ิ ้ - ภกษุบาตรมีแผลหย่อน ๕ ให้จายบาตรใหม่ (นสสัคคิยปาจิตตีย์ วรรค๓,ขอ๒/หน้า๗๖) ิ ่ ิ ้ * ทรงอนุญาตถุงบาตร ,สายโยก,บงเวียน,เชิงรองบาตร (ขุททกวัตถุ. จล. ๒/ ๓๐๗) ั ุ ิ - ภกษุเก็บหรือผึงแดดบาตรทังทีเปียกน้ำ, ผงบาตรในทีรอนนาน, วางบาตรริมตังไม้, ่ ้ ่ ่ึ ่้ ่ วางบาตรบนเตียงตังบนตักบนร่ม, ผลักประตูเมือมือถือบาตร, แขวนบาตร , ใช้บาตร ่ ่ รองรับเศษอาหารบ้างน้ำบ้วนปากบ้าง (ทุกกฏ ขททกวัตถุ. จล.๒/ ดูหน้า ๓๐๗) ุ ุ * ทรงอนุญาตและห้ามต่างๆ เกียวกับรองเท้า (จมมขันธ์ มหาวรรค ภาค๒/ หน้า๒๔๐) ่ ั - ภกษุสวมรองเท้าเข้าบ้าน เว้นแต่อาพาธ (ทกกฏ จมมขันธ์. มหา.๒/ หน้า๒๔๓) ิ ุ ั * ทรงอนุญาตและห้ามเกียวกับการใช้รม (ขททกวัตถุ. จล.๒/ ๓๑๓) ่ ่ ุ ุ * ทรงอนุญาตมีดตัดผ้า, ปลอกมีด, เข็ม, กล่องเข็ม ฯลฯ (ขททกวัตถุ. จล.๒/ ๓๐๘) ุ ุ - ภกษุให้ทำกล่องเข็มแล้วด้วยกระดูก, งา, เขาสัตว์ (ปาจิตตีย์ วรรค ๙, ขอ ๔/ ๑๖๙) ิ ้ ุ ุ้ ุ ุ * ทรงอนุญาตผ้ากรองน้ำ, ถงใส่ของ, มง ฯลฯ (ขททกวัตถุ. จล.๒/ หน้า๓๐๙) ิ ี ้ ุ ุ ุ - ภกษุเดินทางไกลโดยไม่มผากรองน้ำ (ทกกฏ ขททกวัตถุ. จล.๒/ ๓๐๙) ๓. สกขาบทเกียวกับเสนาสนะ ทอยูอาศัย ิ ่ ่ี ่ “บรรพชาอาศัยเสนาสนะโคนไม้ เธอพึงทำความอุตสาหะในเสนาสนะ คือโคนไม้นนจนตลอดชีวต ั้ ิ อติเรกลาภ คือ วิหาร เรือนมุงแถบเดียว ปราสาท เรือนโล้น ถ้ำ” (นสสัย ๔ มหาวรรค ภาค๑ / ดูหน้า ๒๒๒) ิ
  • 17. ภาคพิเศษ : ส่วนช่วยศึกษาค้นคว้าสิกขาบททีมลกษณะเดียวกัน ่ ีั ๔๘๙ * ทรงอนุญาตรุกขมูลเสนาสนะ(อยูโคนไม้)ตลอด๘เดือน (ภิกขุวภงค์ ภาค๑/ ดหน้า ๓๘) ่ ิ ั ู ิั ู้ ่ ่ ั ุ * ทรงบัญญัตวตรของภิกษุผอยูปา ฯลฯ (วตตขันธ์ จลวรรค ภาค ๒/ ดูหน้า๓๔๐) ุ * ทรงอนุญาตเสนาสนะ (ที่อยู่อาศัย) ๕ ชนิด (เสนาสนะขันธ์ จล.๒/ ๓๑๙) ้ * ทรงอนุญาตวัจกุฎี (หองส้วม) และส่วนประกอบอืนๆ (ขททกวัตถุ. จล.๒/ ๓๑๘) ่ ุ ุ ุ * ทรงอนุญาตชันตาฆร (เรือนไฟ) และส่วนประกอบอืนๆ (ขททกวัตถุ. จล.๒/ ๓๐๙) ่ ุ * ทรงอนุญาตกัปปยภูมิ และส่วนประกอบอืนๆ (เภสัชชขันธ์ มหาวรรค ภาค๒/ ๒๕๒) ิ ่ ่ ่ ่ั ุ * ทรงอนุญาตให้ใช้ปราสาท สวนทีนงนอนให้ทำให้ควรก่อน(ขททกวัตถุ. จล.๒/ ๓๒๕) ุ * ทรงอนุญาตหอฉัน ศาลาตังเตา และส่วนประกอบอืนๆ (เสนาสน. จล.๒/ ๓๒๐) ้ ่ ุ ุ * ทรงอนุญาตโรงไม้แบบ (กฐินศาลา) และส่วนประกอบอืนๆ (ขททกวัตถุ. จล.๒/ ๓๐๙) ่ ุ * ทรงอนุญาตสมมติสมา และรายละเอียดอืนๆ (อโบสถ. มหา. ๒/ ๒๒๕) ี ่ ุ ิ ู้ ู ุ * ทรงอนุญาตสมมติให้นวกรรม (สมมติภกษุผดแลการก่อสร้าง)(เสนาสน. จล.๒/ ๓๒๖) ิ ิ ่ ั - ภกษุสร้างกุฏเพือตนด้วยการขอ ใหญ่เกิน หรือไม่ให้สงฆ์แสดงที่ (สงฆาทิเสส ๖/๓๑) ิ - ภกษุสร้างวิหารมีเจ้าภาพสร้างถวายเพือตน ไม่ได้ให้สงฆ์แสดงที่ (สงฆาทิเสส ๖/๓๓) ่ ั - ภกษุอำนวยให้พอกหลังคาวิหารเกิน ๓ ชน (ปาจิตตีย์ วรรค ๒, ขอ ๙/ หน้า ๑๐๔) ิ ้ั ้ ิ ิ ิ ุ ุ ุ - ภกษุสร้างกุฏดนเผา (ทกกฏ ขททกวัตถุ. จล. ๒/ ๓๑๘) ่ั * ทรงอนุญาตเตียง, ตงสำหรับนัง หลายชนิด (เสนาสนะขันธ์ จลวรรค ภาค ๒/ ๓๑๙) ่ ุ - ภกษุให้ทำเตียง, ตงใหม่มเท้าสูงเกิน ๘ นวด้วยนิวพระสุคต (ปาจิตตีย์ ว.๙, ๕/ ๑๗๐) ิ ่ั ี ้ิ ้ - ภกษุใหัทำเตียง, ตงเป็นของหุมนุน(ยดด้วยนุน)(ปาจิตตีย์ ว. ๙, ขอ ๖/ ดหน้า ๑๗๑) ิ ่ั ้ ่ ั ่ ้ ู ิ - ภกษุวางเตียงตังฟูกเก้าอีของสงฆ์ไว้กลางแจ้ง หลีกไปไม่เก็บ (ปาจิตตีย์ ว.๒, ๔/ ๙๙) ่ ้ - ภกษุปลาดทีนอนไว้ในวิหารของสงฆ์ หลีกไปไม่เก็บ (ปาจิตตีย์ ว.๒, ๕/ ๑๐๐) ิ ู ่ ิ ้ - ภกษุยายของใช้ประจำอยูเสนาสนะหนึงไปใช้ทอน (ทุกกฏ เสนาสนะ. จล. ๒/ ๓๒๖) ่ ่ ่ี ่ื ุ * ทรงบัญญตขอวัตรในการรักษาเสนาสนะ (เสนาสนะ. จล. ๒/ ๓๒๖, วตตขันธ์. จล.๒/๓๔๑) ั ิ้ ุ ั ุ
  • 18. ๔๙๐ ประมวลพระพุทธบัญญัติ อริยวินย จากพระไตรปิฎก ั ๔. สิกขาบทเกียวกับเภสัช ยารักษาโรค ่ “บรรพชาอาศัยยา คือ น้ำมูตรเน่า เธอพึงทำความอุตสาหะในยา คือ น้ำมูตรเน่านั้นจนตลอดชีวิต อติเรกลาภ คือ เนยข้น เนยใส น้ำมัน น้ำผึ้ง น้ำอ้อย” (นิสสัย ๔ มหาวรรค ภาค๑ / ดูหน้า ๒๒๒) * ทรงอนุญาตใช้และเก็บเภสัชต่างๆได้ตลอดชีพ (เภสัชชขันธ์ มหาวรรค ภาค๒/ ๒๔๕) * ทรงอนุญาตฉันเภสัช ๕ ได้ท้งในกาลและในวิกาล (เภสัชชขันธ์ มหา.๒/ ๒๔๕) ั * ทรงอนุญาตน้ำปานะ (เภสัชชขันธ์ มหา.๒/ ๒๕๓)(ควรชัววันหนึงคืนหนึง ดหน้า๒๕๕) ่ ่ ่ ู - ภกษุรบเภสัช ๕ เก็บไว้เกิน ๗ วน (นสสัคคิยปาจิตตีย์ ว.๓, ๓/ ๗๘) ิ ั ั ิ ข.กลุมสิกขาบทเกียวกับอกรณียกิจ ๔ ่ ่ (สงทีบรรพชิตไม่ควรทำ) ่ิ ่ ๑. สกขาบทเกียวกับการประพฤติผดในกาม ิ ่ ิ “ภกษุผอปสมบทแล้วไม่พงเสพเมถุนธรรม โดยทีสุดแม้กบสัตว์เดรัชฉานตัวเมีย ิ ู้ ุ ึ ่ ั ภิกษุใดเสพเมถุนธรรม ย่อมไม่เป็นสมณะ ไม่เป็นเชื้อสายพระศากบุตร... เปรียบเหมือนคนถูกตัดศีรษะ ไม่อาจมีชวิตอยู่ได้ โดยการต่อศีรษะเข้ากับร่างกายนั้น ี การเสพเมถุนธรรมนัน อนเธอไม่พงกระทำจนตลอดชีวต” ้ ั ึ ิ (อกรณียกิจ มหาวรรค ภาค ๑/ ดูหน้า ๒๒๒) สกขาบทเนืองด้วยกาย ิ ่ ิ - ภกษุเสพเมถุนโดยทีสดแม้ในดิรจฉานตัวเมีย (ปาราชิก ขอ ๑/ ดูหน้า ๗) ุ่ ั ้ ิ ้ ิ ้ ั ั ้ - ภกษุปล่อยสุกกะ(นำอสุจ)ดวยความจงใจ เว้นไว้แต่ฝน (สงฆาทิเสส ขอ๑/ หน้า ๒๔) ิ ู้ ิ ั - ภกษุกำหนัดแล้วจับต้องกาย(อวัยวะใดๆ) ของมาตุคาม(ผหญง) (สงฆาทิเสส ๒/ ๒๕) ิ ู - ภกษุ ถกต้ององค์กำเนิดโคตัวเมียด้วยจิตกำหนัด (ถลลัจจัย จมม. มหา.๒/ ๒๔๒) ุ ั - ภกษุผเดียวนังในทีลบคืออาสนะกำบังกับมาตุคามผูเดียว (อนิยต ขอ๑/ หน้า๔๗) ิ ู้ ่ ่ั ้ ้ ิ ู้ - ภกษุผเดียวนังในอาสนะหากำบังไม่เลยทีเดียวกับมาตุคามผูเดียว (อนิยต ขอ ๒/ ๔๙) ่ ้ ้
  • 19. ภาคพิเศษ : ส่วนช่วยศึกษาค้นคว้าสิกขาบททีมลกษณะเดียวกัน ่ ีั ๔๙๑ - ภิกษุนงในทีลบคือในอาสนะกำบังกับมาตุคาม(ผหญง) (ปาจิตตีย์ ว.๕, ๔/ หน้า๑๒๘) ่ั ่ ั ู้ ิ - ภกษุผเดียวนังในทีลบกับมาตุคาม(ผหญิง)ผเดียว (ปาจิตตีย์ วรรค ๕, ขอ๕/ ๑๒๙) ิ ู้ ่ ่ั ู้ ู้ ้ ิ ่ั ้ ิ ุ ุ - ภกษุนงบนม้ายาวเดียวกับผูหญงหรือกระเทย (ทกกฏ เสนาสนะ. จล. ๒/ ๓๒๕) - ภกษุสำเร็จการนอนร่วมกับมาตุคาม(ผหญิง) (ปาจิตตีย์ วรรค ๑, ขอ ๖/ ดูหน้า ๙๑) ิ ู้ ้ - ภกษุชกชวนแล้วเดินทางไกลด้วยกันกับมาตุคาม ฯ (ปาจิตตีย์ ว.๗, ๗/ ๑๕๑) ิ ั ิ - ภกษุกราบไหว้ลกรับอัญชลีกรรมสามีจกรรมแก่มาตุคาม( ทกกฏ ภกขุน.จล.๒/๓๕๕) ุ ิ ุ ิ ี ุ - ภกษุทำกิจกรรมทีไม่สมควรต่างๆ กับผูหญิง ( > ดูหน้า ๔๕, ๒๘๐, ๓๑๘) ิ ่ ้ - ภกษุมอาบัติมาก ไม่ฉลาด มารยาทไม่สมควร: ลงนิยสกรรม (กมม. จล. ๑/๒๗๙) ิ ี ั ุ สกขาบทเนืองด้วยวาจา ิ ่ ิ ิ - ภกษุกำหนัดมีจตแปรปรวนพูดเคาะมาตุคามด้วยวาจาชัวหยาบ (สงฆาทิเสส ๓/ ๒๖) ่ ั ิ ้ ั - ภกษุกำหนัดพูดให้หญิงบำเรอตนด้วยกาม ดวยคำพาดพิงเมถุน (สงฆาทิเสส ๔/ ๒๘) - ภกษุแสดงธรรมแก่มาตุคามเกิน๖คำ เว้นแต่มบรษรูเดียงสาอยู่ (ปาจิตตีย์ ๑,๗/ ๙๒) ิ ี ุุ ้ - สกขาบททีเกียวกับภิกษุณี (นสสัคคิยปาจิตตีย์ ว.๑, ๔-๕/ ๕๖-๕๗; ว.๒, ๗/ ๗๑; ปาจิตตีย์ ิ ่ ่ ิ ว.๓/ ๑๐๖-๑๑๒; ปาฏิเทสนียะ ๑-๒/ ๑๗๖-๑๗๘; ภกขุนขนธ์ จล. ๒/๓๕๔-๓๕๗) ิ ีั ุ ๒. สกขาบทเกียวกับถือเอาสิงของทีเจ้าของมิได้ให้ ิ ่ ่ ่ “ภกษุผ้อปสมบทแล้วไม่พึงถือเอาสิ่งของทีเจ้าของมิได้ให้ โดยส่วนแห่งจิตคิดจะลัก ิ ูุ ่ ภิกษุใดถือเอาสิ่งของที่เจ้าของมิได้ให้ โดยส่วนแห่งจิตคิดจะลัก ๑ บาทบ้าง ควรแก่ ๑ บาทบ้าง เกินกว่า ๑ บาทบ้าง ย่อมไม่เป็นสมณะ ไม่เป็นเชื้อสายพระศากบุตร... เปรียบเหมือนใบไม้เหยวเหลืองหลุดจากขั้วแล้ว ไม่อาจเป็นของเขียวสดต่อไปได้ ี่ การถือเอาสิ่งของที่เจ้าของมิได้ให้นั้น อันเธอไม่พึงกระทำจนตลอดชีวิต” (อกรณียกิจ มหาวรรค ภาค ๑/ ดูหน้า ๒๒๒) - ภกษุถอเอาทรัพย์อนเจ้าของไม่ได้ให้ โดยส่วนแห่งความเป็นขโมย (ปาราชิก ๒/ ๑๒) ิ ื ั - ภกษุนอมลาภทีเขาน้อมไว้จะถวายสงฆ์มาเพือตน (นสสัคคิยปาจิตตีย์ ว.๓, ๑๐/ ๘๕) ิ ้ ่ ่ ิ - ภกษุรอยูนอมลาภทีเขาน้อมไปจะถวายสงฆ์มาเพือบุคคล (ปาจิตตีย์ ว.๘, ๑๒/ ๑๖๔) ิ ู้ ่ ้ ่ ่ ิ ุ - ภกษุสละของสงฆ์ให้แก่บคคล (ถลลัจจัย เสนาสนะ. จุล.๒/ ๓๒๕, มหาโจร ๕ หน้า๒๒) ุ - ภกษุ เก็บ,ให้เก็บของมีคาทีตกอยู่ เว้นแต่ในวัดทีอยูในทีอยูพก(ปาจิตตีย์ ว.๙, ๒/ ๑๖๗) ิ ่ ่ ่ ่ ่ ่ ั
  • 20. ๔๙๒ ประมวลพระพุทธบัญญัติ อริยวินย จากพระไตรปิฎก ั ๓. สิกขาบทเกียวกับการจงใจพรากสัตว์เสียจากชีวต ่ ิ “ภิกษุผู้อุปสมบทแล้ว ไม่พึงจงใจพรากสัตว์เสียจากชีวิต โดยที่สุดกระทั่งมดดำมดแดง ภกษุใดจงใจพรากกายมนุษย์จากชีวตโดยทีสดกระทังยังครรภ์ให้ตกไป ิ ิ ุ่ ่ ย่อมไม่เป็นสมณะ ไม่เป็นเชื้อสาย พระศากบุตร...เปรียบเหมือนแผ่นศิลาหนา แตกออกเป็น ๒ เสี่ยงจะประสานให้สนิทเป็นแผ่นเดียวกันอีกไม่ได้ การจงใจพรากกายมนุษย์เสียจากชีวิต อนเธอไม่พึงกระทำจนตลอดชีวิต” ั (อกรณียกิจ มหาวรรค ภาค ๑/ ดูหน้า ๒๒๒) - ภกษุจงใจพรากกายมนุษย์จากชีวต ฯลฯ (ปาราชิก ขอ ๓/ ดหน้า ๑๖) ิ ิ ้ ู - ภกษุแกล้งพรากสัตว์เสียจากชีวต (ปาจิตตีย์ วรรค ๗, ขอ ๑/ ดูหน้า ๑๔๖) ิ ิ ้ - ภกษุรอยูบริโภคน้ำมีตวสัตว์ (ปาจิตตีย์ วรรค ๗, ขอ ๒/ ดูหน้า ๑๔๗) ิ ู้ ่ ั ้ - ภกษุรอยูวาน้ำมีตวสัตว์ รดหรือให้รด ซงหญ้าหรือดิน (ปาจิตตีย์ ว.๒, ๑๐/ ๑๐๕) ิ ู้ ่ ่ ั ่ึ - ภกษุพรากภูตคาม (ตดทำลายต้นไม้) (ปาจิตตีย์ วรรค ๒, ขอ ๑/ ๙๖) ิ ั ้ - ภกษุขดหรือให้ขด ซงปฐพี (ปาจิตตีย์ วรรค ๑, ขอ ๑๐/ ดหน้า ๙๕) ิ ุ ุ ่ึ ้ ู ิ ุ ุ ั ุ ู - ภกษุเผากองหญ้า (ทกกฏ ขททกวัตถุขนธ์ จลวรรค ภาค ๒/ ดหน้า ๓๑๖) ั * ทรงอนุญาตจำพรรษาเพราะภิกษุเหยียบต้นข้าว,สตว์ตาย (วสสูปนายิกา. มหา. ๑/ ๒๓๒) ั - ภกษุฉนเนือสัตว์ทเขาฆ่าเจาะจงเพือถวายภิกษุ (ทกกฏ เภสัชช. มหา.๒/ ๒๕๑) ิ ั ้ ่ี ่ ุ ๔. สิกขาบทเกียวกับการพูดเท็จ, ส่อเสียด, หยาบ, เพ้อเจ้อ ่ “ภกษุผ้อปสมบทแล้ว ไม่พึงกล่าวอวดอุตตริมนุสสธรรม ิ ูุ โดยที่สุดพูดว่าข้าพเจ้ายินดีในเรือนว่าง ภกษุใดมีความปรารถนาชั่ว ิ ถกความอยากครอบงำ กล่าวอวดอุตริมนุสสธรรมที่ไม่มอยู่ ไม่เป็นจริง ู ี คือ ฌานก็ดี วิโมกข์ก็ดี สมาธิก็ดี สมาบัติก็ดี มรรคก็ดี ผลก็ดี ย่อมไม่เป็นสมณะ ไม่เป็นเชื้อสายพระศากบุตร... เปรียบเหมือนต้นตาลยอดด้วนที่ไม่อาจงอกได้ตอไป ่ การกล่าวอวดอุตริมนุสสธรรมนั้น อนเธอไม่พึงกระทำจนตลอดชีวิต” ั (อกรณียกิจ มหาวรรค ภาค ๑/ ดูหน้า ๒๒๒) - ภกษุใดไม่รเฉพาะ กล่าวอวดอุตตริมนุสสธรรมฯ นอมเข้ามาในตน (ปาราชิก ๔/ ๑๙) ิ ู้ ้ - ภกษุจงใจจะพูดให้คลาดจากความจริง (ปาจิตตีย์ วรรค๑,ขอ๑/หน้า๘๖) ิ ้ ั - รบคำจะจำพรรษาทีใดแล้วไม่จำพรรษาในทีนน (ทกกฏ วสสูปนายิกา. มหา.๑/ ๒๓๕) ่ ่ ้ั ุ ั
  • 21. ภาคพิเศษ : ส่วนช่วยศึกษาค้นคว้าสิกขาบททีมลกษณะเดียวกัน ่ ีั ๔๙๓ - ภิกษุพดส่อเสียดภิกษุ (พดให้ภิกษุทะเลาะกัน) (ปาจิตตีย์ ว.๑, ๓/ ๘๗) ู ู - ภกษุพดโอมสวาท (พดคำเสียดแทงให้เจ็บใจ) (ปาจิตตีย์ ว.๑, ๒/ ๘๗) ิ ู ู ิ ่ - ภกษุดาปริภาษคฤหัสถ์: ลงปฏิสารณียกรรม (จมปยย. มหา.๒/ ๒๖๘, กมมขันธ์ จล.๑/ ๒๘๑) ั ั ุ - พดล้อเล่นอุปสัมบัน,อนุปสัมบันด้วยอักโกสวัตถุ (ทพภาสิต วภงค์ปาจิตตีย์ ว.๑, ๒/๘๘) ู ุ ิ ั - ภกษุพดคุยเดรัชฉานกถา, พดแก่งแย่ง, ลอลวงฯ ( > ดู มชฌิมศีล มหาศีล หน้า ๓๗๒) ิ ู ู ่ ั ค.กลุมสิกขาบทเกียวกับอาจารวิบติ ่ ่ ั (ผดจรรยามารยาทของสมณะ) ิ - ภกษุขดหรือให้ผอนขุด ซงปฐพี (ปาจิตตีย์ วรรค. ๑, ขอ ๑๐/ หน้า ๙๕) ิ ุ ู้ ่ื ่ึ ้ - ภกษุพรากภูตคาม (ตดทำลายต้นไม้) (ปาจิตตีย์ วรรค ๒, ขอ๑/ หน้า๙๖) ิ ั ้ - ภกษุมใช่ผอาพาธ มงการผิง ตดหรือให้ตดซึงไฟ เว้นมีปจจัย(ปาจิตตีย์ ว. ๖, ๖/ ๑๔๑) ิ ิ ู้ ุ่ ิ ิ ่ ั - ภกษุดมสุราและเมรัย (ปาจิตตีย์ วรรค ๖, ขอ ๑/ หน้า ๑๓๕) ิ ่ื ้ - ภกษุหวเราะในน้ำ (ปาจิตตีย์ วรรค ๖, ขอ ๓/ หน้า ๑๓๗) ิ ั ้ - ภกษุข้นต้นไม้ มกิจขึนได้สงชัวบุรษฯ (ทุกกฏ ขททกวัตถุ. จล.๒/ หน้า ๓๑๖) ิ ึ ี ้ ู ่ ุ ุ ุ - ภกษุยงหย่อนกึงเดือนอาบน้ำเว้นแต่สมัย, เว้นปจจันตชนบท (ปาจิตตีย์ ว.๖,๗/๑๔๒) ิ ั ่ ั - ภกษุไม่ได้รบบอกก่อนก้าวล่วงธรณีเข้าไปในห้องของกษัตริย์ (ปาจิตตีย์ ว.๙, ๑/ ๑๖๖) ิ ั - ภกษุนงแทรกแซงในตระกูลทีมคน ๒ คน (คอสตรีกบบุรษ) (ปาจิตตีย์ ว. ๕, ๓/ ๑๒๗) ิ ่ั ่ ี ื ั ุ ิ ั - ภกษุชกชวนแล้วเดินทางไกลกับผูเป็นโจรหรือมาตุคาม(ปาจิตตีย์ ว. ๗, ๖-๗/๑๕๐-๑๕๑) ้ - ภกษุไปเพือดูเสนาอันยกออกแล้ว เว้นแต่มปจจัย (ปาจิตตีย์ ว. ๕, ๘/ ๑๓๒) ิ ่ ี ั - ถาปัจจัยบางอย่างเพือจะไปสูเสนามี, อยูในเสนาเกิน ๓ คน (ปาจิตตีย์ ว. ๕, ๙/ ๑๓๓) ้ ่ ่ ่ ื - ภกษุอยูในเสนา ไปสูสนามรบ, ทีพกพล, ทีจดขบวนทัพ (ปาจิตตีย์ ว. ๕, ๑๐/ ๑๓๔) ิ ่ ่ ่ ั ่ั - ภกษุรอยูยงบุคคลมีปหย่อน ๒๐ ให้อปสมบท (ปาจิตตีย์ วรรค ๗, ขอ ๕/ หน้า๑๔๙) ิ ู้ ่ ั ี ุ ้ - ภกษุนอนร่วมกับอนุปสัมบัน(ผไม่ได้อปสมบท)เกิน ๓ คืน (ปาจิตตีย์ ว. ๑, ๕/ ๙๐) ิ ู้ ุ - ภกษุยงอนุปสัมบัน(ผไม่ได้อปสมบท)ให้กล่าวธรรมโดยบท (ปาจิตตีย์ ว. ๑, ๔/ ๘๙) ิ ั ู้ ุ
  • 22. ๔๙๔ ประมวลพระพุทธบัญญัติ อริยวินย จากพระไตรปิฎก ั - ภิกษุให้ของเคียวของกินแก่นกบวชอืนด้วยมือของตน (ปาจิตตีย์ วรรค ๕, ขอ๑/ ๑๒๔) ้ ั ่ ้ - ภกษุสมาทานการเปลือยกายแบบเดียรถีย์ (ถลลัจจัย จวรขันธ์ มหา. ๒/ ๒๖๕) ิ ุ ี - ภกษุตดองคชาติ (ถลลัจจย ขททกวัตถุขันธ์ จลวรรค ภาค ๒/ หน้า ๓๐๗) ิ ั ุ ั ุ ุ - ภกษุไม่ลาภิกษุ เข้าสูบานในเวลาวิกาล เว้นมีกิจรีบด่วน (ปาจิตตีย์ ว. ๙, ๓/ ๑๖๘) ิ ่ ้ - ภกษุรบนิมนต์แล้วไม่บอกลาภิกษุ เป็นผูเทียวไปในตระกูล (ปาจิตตีย์ ว. ๕, ๖/ ๑๓๐) ิ ั ้ ่ ิ ุ่ ุ ุ - ภกษุนงห่มผ้าแบบคฤหัสถ์ (ทุกกฏ ขททกวัตถุ. จลวรรค ภาค ๒/ หน้า ๓๑๖) ิ ุ ุ ุ - ภกษุใช้เครืองประดับแบบคฤหัสถ์ (ทกกฏ ขททกวัตถุ. จล. ๒/ ดหน้า ๓๐๔) ่ ู ิ ู ้ ั ุ ุ - ภกษุดฟอนรำ, ขบร้อง, บรรเลงดนตรี (ทกกฏ ขททกวัตถุ. จล. ๒/ ๓๐๕) ุ ิ ั ้ ุ ุ - ภกษุขบธรรม (สวดมนต์) ดวยเสียงอันยาว (ทกกฏ ขททกวัตถุ. จล. ๒/ ๓๐๕) ุ ิ ั ู - ภกษุเว้นขาดจากการฟ้อนรำ ขบร้อง ประโคม ดการเล่น (นยาย, เพลง, ชกมวยิ กฬาฯ) เล่นการพนัน, นอนทีนอนสูงใหญ่, ประดับตกแต่งร่างกาย, รบเงินทอง, ี ่ ั ขาวเปลือกเนือดิบ,หญง,ทาส, แพะแกะไก่สกรช้างโคม้า,ทนาทีสวน,พดเดรัชฉานกถา ้ ้ ิ ุ ่ี ่ ู กล่าวคำแก่งแย่งกัน ฯลฯ ( > ดู จลศีล มชฌิมศีล มหาศีล หน้า ๓๖๘-๓๗๘) ุ ั - สิกขาบทในเสขิยวัตรทัง ๗๕ ขอ (ทุกกฏ ภกขุวิภงค์ ภาค ๒/ ดูหน้า ๑๘๑ - ๑๙๑) ้ ้ ิ ั * ทรงบัญญัตการบริหารสรีระ (ผม,ขน,เล็บ,การอาบน้ำฯลฯ) (ขททกวัตถุ. จล.๒/๓๐๔-๓๑๘) ิ ุ ุ * ทรงบัญญตวตร ๑๔ (ขอปฏิบตทีพงกระทำ) (วตตักขันธ์ จล. ๒/ ๓๓๕-๓๔๙) ัิั ้ ั ิ ่ ึ ั ุ ง. กลุมสิกขาบทเกียวกับทิฏฐิวบติ ่ ่ ิ ั (ความเห็นผิด) - กล่าวว่าธรรมทีตรัสว่าอันตรายไม่อาจทำอันตรายแก่ผเสพได้จริง(ปาจิตตีย์ ว.๗,๘/๑๕๒) ่ ู้ - ภกษุรอยูกนร่วม,อยูรวม,นอนด้วยกันกับภิกษุผกล่าวอย่างนัน(ปาจิตตีย์ ว.๗,๙/ ๑๕๓) ิ ู้ ่ ิ ่่ ู้ ้ ิ ู้ ่ - ภกษุรอยูให้สามเณรผูกล่าวอย่างนันอุปฏฐาก,กนร่วม,นอนร่วม(ปาจิตตีย์ ว.๗,๙/ ๑๕๔) ้ ้ ั ิ - ภกษุกนสิกขาบท (ปาจิตตีย์ วรรค ๘, ขอ ๒/ ดูหน้า ๑๕๖) ิ ่ ้
  • 23. ภาคพิเศษ : ส่วนช่วยศึกษาค้นคว้าสิกขาบททีมลกษณะเดียวกัน ่ ีั ๔๙๕ - ภิกษุแสดงความไม่เอือเฟือ (ปาจิตตีย์ วรรค ๖, ขอ ๔/ หน้า ๑๓๘) ้ ้ ้ ู ึ - ถกว่ากล่าวโดยชอบธรรมกลับพูดว่าจะยังไม่ศกษาในสิกขาบทนี้(ปาจิตตีย์ ว.๘,๑/๑๕๕) - เคยฟังปาติโมกข์แต่พดว่าเพิงรูวามีขอนี,้ ปาจิตตียเพราะแสร้งหลง(ปาจิตตีย์ ว.๘,๓ /๑๕๗) ู ่ ้่ ้ ์ - ภกษุผตองอาบัตแล้วไม่เห็นอาบัตไม่ทำคืนอาบัต,ิ หรือภิกษุผมความเห็นผิดว่า ิ ู้ ้ ิ ิ ู้ ี ธรรมทีตรัสว่าอันตรายไม่อาจอันตรายแก่ผเสพ : ลงอุกเขปนียกรรม(กมม. จล.๑/๒๘๓) ่ ู้ ั ุ * ทรงให้ถอนิสยในอุปชฌาย์อาจารย์ ๕ปี,ประฌาม,ขอขมา (มหาขันธ์ มหา.๑/๒๐๕-๒๑๔) ื ั ั จ.กลุมสิกขาบทเกียวกับอาชีววิบติ ่ ่ ั (การเลียงชีพทีผดของบรรพชิต) ้ ่ ิ สกขาบทเกียวกับการซือขายแลกเปลียนใช้เงินทอง ิ ่ ้ ่ - ภกษุรบ ให้รบ หรือยินดีเงินทองอันเขาเก็บไว้ให้ (นสสัคคิยปาจิตตีย์ ว.๒, ๘/ ๗๓) ิ ั ั ิ - ภกษุซอขายด้วยรูปยะ(เงินตรา)มประการต่างๆ (นสสัคคิยปาจิตตีย์ ว.๒, ๙/ ๗๓) ิ ้ื ิ ี ิ - ภกษุถงการแลกเปลียนมีประการต่างๆ (นสสัคคิยปาจิตตีย์ วรรค ๒, ขอ ๑๐/หน้า๗๔) ิ ึ ่ ิ ้ ิ ิ ิ * ให้ยนดีของกัปปิยะจากกัปปิยภัณฑ์ แต่มให้ยนดี,แสวงหาทองเงิน(เภสัช. มหา.๒/ ๒๕๓) * ทรงอนุญาตทวงจีวรจากไวยาวัจจกรผูรบฝากทรัพย์ (> นสสัคคิยปาจิตตีย์ ๑,๑๐/ ๖๒) ้ั ิ สกขาบทเกียวกับการแสดงคุณพิเศษ ิ ่ - ภกษุใดไม่รเฉพาะ กล่าวอวดอุตตริมนุสสธรรมฯ นอมเข้ามาในตน (ปาราชิก ๔/ ๑๙) ิ ู้ ้ - ภกษุบอกอุตตริมนุสสธรรมทีมจริงแก่อนุปสัมบัน(ผมได้บวช) (ปาจิตตีย์ ว.๑, ๘/ ๙๓) ิ ่ ี ู้ ิ ิ ุ ุ ั ุ - ภกษุแสดงอิทธิปาฏิหารย์แก่คฤหัสถ์ (ทกกฏ ขททกวัตถุขนธ์ จล. ๒/ ๓๐๗) สิกขาบทเกียวกับการประจบ, ประพฤติอนาจาร, ลอลวง ่ ่ - ภกษุประทุษร้ายตระกูลประจบคฤหัสถ์สงฆ์สวดห้าม ๓ ครัง (สงฆาทิเสส ๑๓/ /๔๒) ิ ้ ั - ภกษุชกสือชายหญิงในความเป็นเมีย,เป็นชู,้ หรือแก่หญิงแพศยา(สงฆาทิเสส ๕ /๒๙) ิ ั ่ ั ิ - ภกษุประพฤติอนาจารประจบคฤหัสถ์(ทกกฏ ขททกวัตถุ. จล. ๓๑๘ ด๔๔, ๒๘๐) ุ ุ ุ ู
  • 24. ๔๙๖ ประมวลพระพุทธบัญญัติ อริยวินย จากพระไตรปิฎก ั - ไม่ละอายประพฤติเลวทรามประจบคฤหัสถ์ : ลงปัพพชนียกรรม(กัมมขันธ์.จล.๒/๒๘๐) ุ - ภกษุรบใช้เป็นทูตนำข่าว,ลอลวงชาวบ้าน,หมอทายโชคลาง, ทายลักษณะสิงของ ิ ั ่ ่ ู ทายแพ้ชนะ, โหราศาสตร์, ทายดินฟ้าอากาศ, ดฤกษ์ยาม, หมอผี หมอยา ฯลฯ ั ั ิ ( > ดูลกษณะในจุลศีล มชฌมศีล มหาศีล หน้า ๓๗๓-๓๗๗) ิ ุ ุ ุ - ภกษุเรียน,สอนโลกายตะ หรือเดรัชฉานวิชา (ทกกฏ ขททกวัตถุ. จล. ๒/ ๓๑๗) สิกขาบทเกียวกับการขอ และการสังให้ผอนทำ ่ ่ ู้ ่ื - ภกษุขอเกินกว่าทีเขากำหนดปวารณา หรือเกิน ๔ เดือน (ปาจิตตีย์ ว.๕, ๗/ ๑๓๑) ิ ่ - ภกษุมากไปด้วยการขอแรงและวัสดุกอสร้าง(> ดตนบัญญัตสงฆาทิเสส ขอ๖/หน้า ๓๑) ิ ่ ู ้ ิั ้ - ภกษุขอจีวรต่อคฤหัสถ์ทมใช่ญาติ (นสสัคคิยปาจิตตีย์ ว.๑, ขอ ๖-๑๐/ ๕๗-๖๓) ิ ่ี ิ ิ ้ - ภกษุขอด้ายมาเองแล้วให้ชางหูกทอจีวร (นสสัคคิยปาจิตตีย์ วรรค ๓, ขอ ๖/หน้า๘๐) ิ ่ ิ ้ - ภกษุบาตรมีแผลหย่อน ๕ ให้จายบาตรใหม่ (นสสัคคิยปาจิตตีย์ ว.๓, ๒/ ๗๗) ิ ่ ิ - ภกษุมใช่ผอาพาธขออาหารปราณีตเพือประโยชน์ตนแล้วฉัน (ปาจิตตีย์ ว.๔, ๙/ ๑๒๒) ิ ิ ู้ ่ - ภกษุส่งให้ผอนรับทองเงิน แทนตน (นสสัคคิยปาจิตตีย์ ว.๓, ขอ ๘/ ๗๒) ิ ั ู้ ่ื ิ ้ - ภกษุรอยูวาน้ำมีตัวสัตว์ สั่งให้ผ้อนรดหญ้าหรือดิน (ปาจิตตีย์ ว.๒, ๑๐/ ๑๐๕) ิ ู้ ่ ่ ู ่ื * กัปปิยโวหารให้ผอนขุดดิน ( > ดูท่อนาบัตปาจิตตีย์ ว.๑, ๑๐/ ๙๕) ู้ ่ื ี ิ * กัปปิยโวหารให้ผอนพรากต้นไม้ ( > ดูที่อนาบัตปาจิตตีย์ ว.๒, ๑/ ๙๖) ู้ ่ื ิ ฉ. กลุมสิกขาบทเกียวกับสังฆสามัคคี ่ ่ (ความพร้อมเพรียงในหมูสงฆ์) ่ สกขาบทเกียวกับการไม่ทำสงฆ์ให้แตกกัน ิ ่ - ภกษุพยายามทำลายสงฆ์ให้แตก สงฆ์หาม ๓ ครัง ยงไม่เลิก (สงฆาทิเสส ๑๐/ ๓๗) ิ ้ ้ ั ั - ภกษุผประพฤติตามภิกษุผทำลายสงฆ์ สงฆ์หาม ๓ ครัง (สังฆาทิเสส ขอ ๑๑/ ๓๙) ิ ู้ ู้ ้ ้ ้ ิ ู้ ุ - ภกษุประพฤติตามภิกษุผทำสงฆ์ให้แตกกัน (ถลลัจจัย สงฆเภทขันธ์ จล. ๒/ ๓๓๒) ั ุ
  • 25. ภาคพิเศษ : ส่วนช่วยศึกษาค้นคว้าสิกขาบททีมลกษณะเดียวกัน ่ ีั ๔๙๗ - ภิกษุฉนเป็นหมู่ (ปาจิตตีย์ วรรค ๔, ขอ ๒/ หน้า ๑๑๔ ดเชิงอรรถหน้า ๑๑๖ประกอบ) ั ้ ู สกขาบทเกียวกับการไม่ให้เกิดการวิวาทกัน ิ ่ - ภกษุมโทสะตามกำจัดภิกษุดวยอาบัตปาราชิกทีไม่มมล (สงฆาทิเสส ๘/ หน้า ๓๔) ิ ี ้ ิ ่ ี ู ั - ภกษุมโทสะถือเอาเลสตามกำจัดภิกษุดวยอาบัตปาราชิกทีไม่มมล(สงฆาทิเสส ๙/ ๓๖) ิ ี ้ ิ ่ ี ู ั - ภกษุกำจัดภิกษุดวยอาบัตสงฆาทิเสสทีไม่มมล (ปาจิตตีย์ วรรค๘, ขอ ๖/ หน้า ๑๕๙) ิ ้ ิั ่ ี ู ้ ิ ิ - ภกษุโจทอาบัตโดยไม่ขอโอกาสก่อน(ทกกฏ อโบสถขันธ์ มหา.๑/หน้า ๒๒๗ข้อ๒๒) ุ ุ - ภกษุกอความรำคาญ(สงสัยว่าเป็นอาบัต)แก่ภกษุอน (ปาจิตตีย์ ว. ๘, ขอ๗/ หน้า๑๖๐) ิ ่ ิ ิ ่ื ้ ูุ ิ ู้ ้ ู ุ ้ > ดคณสมบัตผโจทและผูถกโจท (ปาฏิโมกขฐปนขันธ์ จลวรรค ขอ ๒/ หน้า ๓๕๓) - ภกษุบอกอาบัตชวหยาบของภิกษุแก่ผไม่ได้บวช (ปาจิตตีย์ วรรค ๑, ๙/ หน้า ๙๔) ิ ิ ่ั ู้ - ภกษุรอยูปกปิดอาบัตชวหยาบของภิกษุ (ปาจิตตีย์ วรรค ๗, ขอ ๔/ หน้า ๑๔๘) ิ ู้ ่ ิ ่ั ้ * ทรงอนุญาตให้สวดปาติโมกข์ทกกึงเดือน (อโบสถ. มหาวรรค ๑ / หน้า๒๒๔-๒๒๕) ุ ่ ุ - ภกษุพดส่อเสียด (ยให้ทะเลาะกัน) (ปาจิตตีย์ วรรค ๑, ขอ ๓/ หน้า ๘๘) ิ ู ุ ้ - ภกษุแอบฟังความของภิกษุผทะเลาะกัน (ปาจิตตีย์ วรรค ๘, ขอ ๘/ หน้า ๑๖๑) ิ ู้ ้ - ภกษุโพนทะนาบ่นว่า(ภกษุททำหน้าทีโดยธรรมทีสงฆ์สมมติ) (ปาจิตตีย์ ๒, ๓/๙๘) ิ ิ ่ี ่ ่ - ภกษุตเตียนภิกษุวาสอนภิกษุณเพราะเห็นแก่ลาภ (ปาจิตตีย์ ว.๓, ขอ ๔/ หน้า ๑๐๘) ิ ิ ่ ี ้ ิ ่ ั ุ - ภกษุกอการทะเลาะวิวาทก่ออธิกรณ์: ลงตัชชนียกรรม (กมม. จล. ๑/ หน้า๒๗๗) สกขาบทเกียวกับการเคารพซึงกันและกัน ิ ่ ่ - ภกษุเป็นผูวายากสอนยาก สงฆ์หาม๓ ครังไม่ละเลิก (สงฆาทิเสส ขอ ๑๒/ หน้า ๔๑) ิ ้่ ้ ้ ั ้ - ภกษุเป็นผูให้ลำบาก(คอ พดเฉไฉเมือถูกสอบสวน) (ปาจิตตีย์ ว.๒, ขอ ๒/ หน้า ๙๗) ิ ้ ื ู ่ ้ * ทรงอนุญาตปวารณากันและกัน(คอให้ภกษุอนว่ากล่าวตักเตือนได้) (ปวารณา. มหา.๑/๒๓๖) ื ิ ่ื - ภกษุรอยูฟนอธิกรณ์ททำเสร็จแล้วตามธรรม (ปาจิตตีย์ วรรค ๗, ขอ ๓/ หน้า ๑๔๗) ิ ู้ ่ ้ื ่ี ้ - มอบฉันทะเพือกรรมอันเป็นธรรมแล้วพูดบ่นว่าในภายหลัง (ปาจิตตีย์ ว. ๘, ๙/ ๑๖๒) ่ ิ - กำลังวินจฉัยเรืองในสงฆ์อยูไม่ให้ฉนทะลุกจากอาสนะหลีกไปเสีย(ปาจิตตีย์ ว.๘,๑๐/๑๖๓) ่ ่ ั
  • 26. ๔๙๘ ประมวลพระพุทธบัญญัติ อริยวินย จากพระไตรปิฎก ั - ภิกษุรวมกับสงฆ์ให้จวรแก่ภกษุแล้วติเตียนภายหลัง (ปาจิตตีย์ ว.๘, ๑๑/ หน้า ๑๖๔) ่ ี ิ ั ิั ้ ั ิ ่ ่ ่ * ทรงบัญญตวตร ๑๔ ขอปฏิบตตอกัน, ตอสิงต่างๆ (วตตักขันธ์ จล.๒/๓๓๕-๓๔๙) ั ุ - ภกษุไม่ให้กราบไหว้,ลกรับ,การทำอัญชลีกรรม,การทำสามีจกรรม,อาสนะทีเลิศ ิ ุ ิ ่ นำอันเลิศ,บณฑบาตอันเลิศ ตามลำดับผูแก่กว่า(ทกกฏ เสนาสน. จล.๒/๓๒๑-๓๒๓) ้ ิ ้ ุ ุ * ทรงอนุญาตผูสอนธรรมวินยอ่อนกว่านังอาสนะเสมอหรือสูงกว่าผูฟง และให้ ้ ั ่ ้ ั ภกษุผมอาสนะเสมอกันระหว่าง๒พรรษานังรวมกันได้ (เสนาสน. จล. ๒/ ๓๒๔) ิ ู้ ี ่ ุ - ภกษุสงฆ์ ไม่พยาบาลภิกษุอาพาธ (ทกกฏ จวรขันธ์ มหา.๒/ ๒๖๔) ิ ุ ี สกขาบทเกียวกับการไม่ทำตัวให้เป็นทีรงเกียจ ิ ่ ่ั - ภกษุโกรธน้อยใจให้ประหาร(ทำร้าย)ภกษุ (ปาจิตตีย์ วรรค ๘, ขอ ๔/ หน้า ๑๕๘) ิ ิ ้ - ภกษุโกรธน้อยใจเงือหอกคือฝ่ามือแก่ภกษุ (ปาจิตตีย์ วรรค ๘, ขอ ๕/ หน้า ๑๕๙) ิ ้ ิ ้ - เป็นปาจิตตียในเพราะจีด้วยนิวมือ (ปาจิตตีย์ วรรค ๖, ขอ ๒/ หน้า ๑๓๖) ์ ้ ้ ้ - ภกษุโกรธขัดใจฉุดคร่าให้ฉดคร่าภิกษุจากวิหารของสงฆ์ (ปาจิตตีย์ ว.๒, ๙/ หน้า๑๐๒) ิ ุ - ภกษุรอยูนอนแทรกภิกษุผเข้าไปอยูกอนในวิหารสงฆ์ฯ (ปาจิตตีย์ ว. ๒, ๖/ หน้า๑๐๑) ิ ู้ ่ ู้ ่ ่ - ภกษุนงนอนทับเตียงตังทีอยูบนร้านในวิหารสงฆ์ (ปาจิตตีย์ ว. ๒, ขอ ๘/ หน้า ๑๐๓) ิ ่ั ่ ่ ่ ้ - ภกษให้จวรแก่ภกษุเองแล้วโกรธน้อยใจชิงเอามา (นสสัคคิยปาจิตตีย์ ว.๓, ๕/ หน้า๘๐) ิ ุ ี ิ ิ - ภกษุชวนภิกษุไปบิณฑบาตด้วยกันแล้วไล่กลับ (ปาจิตตีย์ วรรค๕, ขอ ๒/ หน้า ๑๒๖) ิ ้ ิ ู้ ่ ิ ่ี ้ ั - ภกษุรอยูเพ่งจะหาโทษพูดให้ภกษุทหามภัตแล้ว ฉนของมิใช่เดน(ปาจิตตีย์ ว.๔, ๖/๑๒๐) - ภกษุใดหลอนซึงภิกษุ เป็นปาจิตตีย์ (ปาจิตตีย์ วรรค ๖, ขอ ๕/ หน้า ๑๓๙) ิ ่ ้ - ภกษุซอนหรือให้ซอนบริขารของภิกษุแม้เพือจะหัวเราะ (ปาจิตตีย์ ว.๖,๑๐/ หน้า๑๔๕) ิ ่ ่ ่ ิ ้ ่ื ้ - ภกษุเพ่งโพนทะนาแลดูบาตรของผูอน (ทุกกฏ เสขิยะ วรรค๒, ขอ ๑๒/ หน้า ๑๘๖) ิ ั ุ ุ ุ - มใช่เพราะเหตุอาพาธ ฉนกระเทียม (ทกกฏ ขททกวัตถุ. จล.๒/ หน้า ๓๑๗) ิ ั - ภกษุฉนหรือดืมในภาชนะเดียวกัน, นอนร่วมเตียง,รวมเครืองลาด,หรือ ่ ่ ่ ้ ุ ผาห่มผืนเดียวกัน (ทกกฏ ขททกวัตถุขนธ์ จลวรรค ภาค ๒/ หน้า ๓๑๑) ุ ั ุ