SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
ICT และการจัดการเรียนการสอน e-Learning




          ผศ.ดร.เด่ นพงษ์ สุ ดภักดี
            ผูช่วยอธิ การบดีฝ่ายวิชาการ
              ้
                มหาวิทยาลัยขอนแก่น
การเรียนรู้ แบบ Constructivism
• การสร้างความรู ้ใหม่อนเนื่องมาจากการมีปฏิสมพันธ์
                           ั                           ั
  กับสิ่ งรอบข้าง
• การได้เห็น ได้ยน ได้รู้สึก ได้สมผัส จะถูกนามา
                      ิ               ั
  เชื่อมโยงกับความรู ้ที่มีอยูเ่ ดิม เพื่อสร้างความรู ้ใหม่
• การเรี ยนรู ้ที่ได้จากการถ่ายทอดความรู ้ของผูสอนเป็ น
                                                   ้
  หลัก
    Content Delivery – low efficiency learning
การเรียนรู้ แบบ Constructionism
• ผูเ้ รี ยนได้ลงมือทาจริ ง หรื อการเรี ยนรู้จาก
  ประสบการณ์
• การพูดนาเสนอ การโพสกระดานข่าว การวาดภาพ
  การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ฯลฯ



    Experience – medium efficiency learning
การเรียนรู้ แบบ Social Constructionism
• การเรี ยนรู้จากการสื่ อสารระหว่างกัน
• การระดมสมอง เสวนา พูดคุย ทาได้ท้ งการพบปะ
                                          ั
  ตามปกติ และผ่านระบบ e-Learning
• เป็ นการสร้างวัฒนธรรมการเรี ยนรู ้ นาไปสู่การเรี ยนรู ้
  ตลอดชีวต (Lifelong Learning)
              ิ
• เรี ยนรู ้จากการมีส่วนร่ วมกับการเรี ยนรู ้ของผูอื่น
                                                  ้
          Social – high efficiency learning
การเรียนรู้ โดยสรุป
• ควรเป็ นการเรี ยนรู้จากประสบการณ์จริ ง แทนที่จะเป็ น
  การป้ อนความรู ้ในสิ่ งที่ผสอนเห็นว่านักเรี ยนต้องรู ้
                             ู้
• ตระหนักว่าผูเ้ รี ยนสามารถเป็ นผูสอนที่ดีได้
                                   ้
• ผูสอนควรเปลี่ยนแนวคิดจากการทาตัวเองเป็ นแหล่ง
    ้
  รวบรวมองค์ความรู้ เป็ นผูสนับสนุนให้มีการเรี ยนรู้
                                ้
การเตรียมการสอนทีเ่ น้ นการเรียนรู้ ของผู้เรียนเป็ นสาคัญ
• วัตถุประสงค์การเรี ยนรู้
• ออกแบบการเรี ยนรู้ (learning design) ต้องสอดคล้อง
  กับวัตถุประสงค์การเรี ยนรู ้
• จัดการเนื้อหาตามสิ่ งที่ตองรู้ ควรรู้ และน่ารู ้
                           ้
• ไม่ควรสอนแบบบรรยายทุกเรื่ อง
• ทุกอย่างไม่จาเป็ นต้องออนไลน์
การออกแบบการเรียนรู้ (Learning Design)
• สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การเรี ยนรู ้
• เน้นกิจกรรมมากกว่าเนื้อหา
  การเรี ยนรู ้ร่วมกันเป็ นกลุ่ม
•
• มีงานหรื อการบ้านให้มีการหาข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่ง
  ต่างๆ
• มีการให้ขอมูลย้อนกลับ (feedback) อย่างสม่าเสมอ
             ้
• สอดแทรกคุณธรรม จริ ยธรรม และจรรยาบรรณ
กระบวนการและทักษะทีส่งเสริมการเรียนรู้
                       ่
• Problem Base Learning
• ฝึ กทักษะการทางานเป็ นทีม
• ทักษะการแก้ปัญหา
• เวปบอร์ดหรื อกิจกรรมออนไลน์รูปแบบอื่น
  (ประเมินผลความพยายาม)
• มีการทดสอบวัดความรู้เพื่อรักษาคุณภาพ
ระบบ e-Learning ควรเป็ นแบบไหน
• มีระบบการจัดการบทเรี ยนที่ดีและง่ายต่อการใช้งาน
• MOODLE เป็ น LMS ที่สนับสนุนกิจกรรมการเรี ยนรู ้
  เป็ นอย่างดี
• ผูสอนเป็ นผูออกแบบและสร้างบทเรี ยนด้วยตนเอง
    ้          ้
  โดยอาจจะมีผสนับสนุนด้านโสตฯ
                 ู้
• หน่วยงานสนับสนุน ส่ งเสริ มการสร้าง courseware ทั้ง
  วัสดุ อุปกรณ์ และงบประมาณ
ผู้สอนควรเน้ นทีจุดไหน
                               ่
•   ออกแบบและพัฒนาเนื้อหาในระบบ
•   ร่ วมพัฒนาแผนกลยุทธในการพัฒนาระบบ
•   ฝึ กการใช้งานเทคโนโลยีและโปรแกรมของระบบ
•   ศึกษาความต้องการของผูเ้ รี ยนและความคาดหวังต่อ
    ระบบ
สถาบันหรือหน่ วยงานควรเน้ นทีจุดไหน
                                   ่
• สนับสนุนให้มีการพัฒนาคุณภาพของเนื้อหาในระบบ
• สนับสนุนให้มีการพัฒนาและใช้งานเนื้อหาร่ วมกันใน
  ลักษณะ Portal และ Repository
• มีระบบสนับสนุนให้มีการพัฒนาเนื้อหาที่รวดเร็ วขึ้น
  (เลือกใช้ LMS ที่ใช้งานง่าย)
LMS คืออะไร
• LMS ย่อมาจาก Learning Management System ลักษณะของ LMS
• LMS เป็ นซอฟต์แวร์ ที่ทาหน้าที่บริ หารจัดการเรี ยน 1. กาหนดผู้ใช้ งาน
  การสอนผ่านเว็บ ประกอบด้วยเครื่ องมืออานวย          2. ระบบการสื อสาร
  ความสะดวกให้แก่ผสอน ผูเ้ รี ยน ผูดูแลระบบ โดย 3. แหล่งอ้างอิง
                      ู้             ้
  ผูสอนสามารถนาเนื้อหาและสื่ อการสอนใส่ ไว้ใน 4. การตรวจและให้ คะแนน
      ้
  โปรแกรมได้สะดวก                                    5. การติดตามพฤติกรรม
                                                        การเรียน
• ผูเ้ รี ยนและผูสอนสามารถใช้เครื่ องมือสื่ อสารที่
                 ้
                                                     6. การรายงานผล
  ระบบจัดไว้ให้ได้ ทุกองค์ประกอบ                     7. ระบบการสอน
• การเก็บบันทึกข้อมูล กิจกรรมการเรี ยนของผูเ้ รี ยน 8. ความสามารถในการ
  ไว้บนระบบเพื่อผูสอนสามารถนาไปวิเคราะห์
                    ้                                   นาเสนอ Rich Media
  ติดตามและประเมินผลการเรี ยนการสอนได้อย่างมี
  ประสิ ทธิภาพ
ข้ อดีของการใช้ LMS
• สามารถให้ความใส่ ใจกับเนื้อหาได้อย่างเต็มที่
• ผูสอนและผูดูแลระบบสามารถนาไฟล์ขอมูลประเภทต่าง
    ้          ้                       ้
  ๆ เข้าไปเก็บไว้ใน LMS ได้ทนที
                             ั
• การควบคุมการนาเสนอบทเรี ยน แบบฝึ กหัดและ
  แบบทดสอบ สามารถทาได้อย่างรวดเร็ วโดยไม่ตองใช้้
             ่
  โปรแกรมยุงยาก
• การพัฒนาระบบ LMS ต้องอาศัยทีมงานในการออกแบบ
  ระบบให้สอดคล้องกับความต้องการของสถาบัน
                   ่
  งบประมาณที่มีอยูให้เหมาะสมกับหน่วยงาน
มาตรการ SCORM
 SCORM (Shareable Content Object Reference Model) หมายความว่ ารู ปแบบ
 ทีทาให้ เนือหาทีได้ พฒนาขึนมาด้ วยมาตรฐานดังกล่ าว มีการแลกเปลียนข้ อมูลกัน
   ่        ้    ่ั        ้                                    ่
                                     ได้

องค์ ประกอบของ SCORM ใน LMS มี 2 ส่ วน คือ
  1.     การกาหนดมาตรฐานในการพัฒนาเนื้อหาชุดการเรี ยน
         (Learning Packaging Content)
  2.     การกาหนดให้ API ที่ทาให้การสื่ อสารส่ งสัญญาณ
         ระหว่างเนื้อหาที่เรี ยนกับระบบ รับส่ งคะแนนกันได้
MOODLE
Moodle (Modular Objected Dynamic Learning
Environment) คือระบบจัดการเรี ยนการสอน (LMS)
หรื อ ระบบจัดการคอร์ส (CMS) ที่ช่วยในการจัด
กิจกรรมการเรี ยนการสอนในระบบการเรี ยนแบบ
ออนไลน์ให้มีบรรยากาศเหมือนเรี ยนในห้องเรี ยนผ่าน
ระบบเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต ในระบบ open source
program (โปรแกรมเปิ ด สามารถแก้ไขได้ โดยไม่เสี ย
ค่าลิขสิ ทธิ์
ระบบ e-Learning มหาวิทยาลัยขอนแก่ น
http://e-learning.kku.ac.th/
อะไรคือ e-Courseware
• บทเรี ยนอิเล็กทรอนิกส์ เป็ นสื่ อที่ออกแบบและผลิตขึ้นโดย
  ใช้คอมพิวเตอร์เป็ นฐานในการผลิต
• มีการใช้สื่อประสม (multimedia) และการโต้ตอบกับ
  บทเรี ยนในลักษณะการมีปฏิสมพันธ์ (Interaction) โดยมี
                                  ั
  ผลป้ อนกลับไปยังผูเ้ รี ยนทันที
• มีการออกแบบกิจกรรมการเรี ยนการสอนให้ผเู้ รี ยนเกิด
  ประสบการณ์การเรี ยนรู้หลายๆ ทาง
• มีระบบการวัดผลประเมินผลจากการทาแบบฝึ กหัดและ
  แบบทดสอบด้วย
หลักการในการออกแบบและพัฒนา e-Courseware
• การออกแบบต้องสอดคล้องกับส่ วนประกอบต่างๆใน
  บทเรี ยน เช่นผูใช้บทเรี ยน เนื้อหาบทเรี ยน ฯลฯ
                 ้
• มีการทดสอบและประเมินประสิ ทธิภาพในระหว่าง
  ขั้นตอนการสร้าง
• การออกแบบอาศัยผูสอนที่เชี่ยวชาญด้านเนื้อหา เจ้าหน้าที่
                      ้
  เทคนิค และนักเทคโนโลยีการศึกษา ที่มีความเชี่ยวชาญ
  ทางด้านการเรี ยนการสอน ทางานร่ วมกัน
• การออกแบบจาเป็ นต้องอาศัยพื้นฐานทางด้านทฤษฎีและ
                                              ั
  หลักการทางจิตวิทยาการเรี ยนรู้มาประยุกต์กบการ
  ออกแบบบทเรี ยน ตอบสนองความต้องการของผูเ้ รี ยน
ขั้นตอนในการออกแบบและพัฒนา e-Courseware
1.   ขั้นเตรี ยมตัว
2.   ขั้นเลือกเนื้อหา
3.   ขั้นการวิเคราะห์หลักสู ตร (รายวิชา)
4.   ขั้นการวางแผนการสอน (รายวิชา)
5.   ขั้นการออกแบบบทเรี ยน
6.   ขั้นการทดลอง และการประเมินผล
7.   ขั้นการนาไปใช้จริ ง
ข้ อควรปฏิบัตทดสาหรับผู้สอน
                      ิ ี่ ี
• กระตุนการเรี ยนรู้ดวยกันของผูเ้ รี ยน
           ้            ้
• สร้างความตระหนักถึงความปลอดภัยในการใช้งานระบบ
• เริ่ มเล็กๆ แต่คิดให้ใหญ่ๆ
• ให้คาอธิบายทุกเอกสาร ไฟล์ หรื อสิ่ งที่เตรี ยมไว้ให้
  นักศึกษา
• สร้างความตระหนักให้นกศึกษาคิดก่อนทา คิดก่อนโพสต์
                            ั
• เปิ ดโอกาสให้นกศึกษาแสดงความเห็นเกี่ยวกับรู ปแบบของ
                    ั
  วิชา
• แลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ร่วมกับผูสอนอื่น
                              ้
ข้ อพึงระวังในการใช้ งาน e-Learning
• ไม่ตื่นเต้นกับสิ่ งที่ระบบ e-Learning มี
• ไม่คาดหวังว่าความน่าตื่นเต้นของระบบ e-Learning
  จะทาให้นกศึกษาเรี ยนรู้ได้มากขึ้น ดีข้ ึน
             ั
• ไม่ละเมิดลิขสิ ทธิ์
• ไม่ควรให้รายวิชามีแต่ PowerPoint ไฟล์
• ไม่กลัวที่จะลองว่าระบบทาอะไรได้บาง     ้
• ไม่เน้นความหวือหวา แต่ควรเน้นที่การเรี ยนรู ้ของผูที่
                                                    ้
  จะเข้ามาเรี ยน
แนวโน้ มในอนาคต
• มีการพัฒนาและออกแบบเนื้อหาและระบบอย่างรวดเร็ ว
• นา e-Learning ไปใช้ในการพัฒนาและฝึ กพนักงาน
• มีการพัฒนาเครื่ องมือที่สามารถทางานที่ซบซ้อนขึ้น แต่ใช้
                                           ั
  งานง่ายขึ้น
• การใช้ระบบ e-Learning สนับสนุนการศึกษาตามปกติมาก
  ขึ้น
• การศึกษาในระบบ e-Learning เป็ นส่ วนหนึ่งของงาน
• มีการใช้เนื้อหาในรู ปแบบ e-Learning เป็ นส่ วนหนึ่งของ
  ผลิตภัณฑ์
แนวโน้ มในอนาคต
• มีการพัฒนาเครื่ องมือในการพัฒนาเนื้อหาที่ง่ายขึ้น แต่
  สามารถทางานที่ซบซ้อนได้มากขึ้น
                    ั
• มีการใช้งานระบบ e-Learning ในการบริ หารจัดการ
  โครงการ (Project Management)
• มีการใช้งานเนื้อหา e-Learning ร่ วมกัน
Tips สาหรับผู้สอน
• ทางานให้สนุก
• ยอมรับกับงานที่เพิ่มขึ้น
• ไม่ตองคาดหวังความสาเร็ จและความสมบูรณ์
      ้
  เหมือนกับที่ท่านทาในห้องเรี ยน
• ค่อยๆ เพิมกิจกรรมออนไลน์ในกิจกรรมการสอน
           ่
• ติดตามเทคโนโลยีทางด้านนี้ (ท่านต้องเป็ นผูที่มี
                                               ้
  การศึกษาตลอดชีวตเพื่อเป็ นตัวอย่างที่ดีให้นกเรี ยนทา
                   ิ                         ั
  ตามอย่างที่เราคาดหวัง)
Tips สาหรับผู้สอน
• มีเอกสารที่ดี
• เตรี ยมใจกับการต้องอ่าน e-mail หรื อ webboard
  จานวนมาก
• อย่าลืมแทรกคุณธรรม จริ ยธรรม และจรรยาบรรณ
• อาจารย์ควรมีประสบการณ์ท้ งด้านเนื้อหาที่สอนและ
                             ั
  ประสบการณ์จดทาเนื้อหาในระบบ e-Learning
                ั

More Related Content

What's hot

ผลสำรวจความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพในการใช้อินเทอร์เน็ต
ผลสำรวจความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพในการใช้อินเทอร์เน็ตผลสำรวจความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพในการใช้อินเทอร์เน็ต
ผลสำรวจความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพในการใช้อินเทอร์เน็ตIsriya Paireepairit
 
Creative Commons-based Business Models
Creative Commons-based Business ModelsCreative Commons-based Business Models
Creative Commons-based Business ModelsSarinee Achavanuntakul
 
Self-regulation on Internet and Netiquette
Self-regulation on Internet and NetiquetteSelf-regulation on Internet and Netiquette
Self-regulation on Internet and NetiquetteSarinee Achavanuntakul
 
7อย่า
7อย่า7อย่า
7อย่าrit77
 
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวมสมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวมguestefb2bbf
 
Thoughts on Draft SET Demutualization Law
Thoughts on Draft SET Demutualization LawThoughts on Draft SET Demutualization Law
Thoughts on Draft SET Demutualization LawSarinee Achavanuntakul
 
Progenitor of the family business.
Progenitor of the family business.Progenitor of the family business.
Progenitor of the family business.DrDanai Thienphut
 
Creativity And Innovation By Pantapong
Creativity And Innovation By PantapongCreativity And Innovation By Pantapong
Creativity And Innovation By Pantapongpantapong
 
การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์opalz
 
Case Study Ezy Go Channel & Communication
Case Study Ezy Go Channel & CommunicationCase Study Ezy Go Channel & Communication
Case Study Ezy Go Channel & Communicationtltutortutor
 
Case Study Ezy Go Product&Price
Case Study Ezy Go  Product&PriceCase Study Ezy Go  Product&Price
Case Study Ezy Go Product&Pricetltutortutor
 
พันธกิจอนุชนคริสตจักรราชบุรี2009
พันธกิจอนุชนคริสตจักรราชบุรี2009พันธกิจอนุชนคริสตจักรราชบุรี2009
พันธกิจอนุชนคริสตจักรราชบุรี2009Pradya Wongworakun
 
Finance Yield Curve & Term Structure Of Interest
Finance Yield Curve & Term Structure Of InterestFinance Yield Curve & Term Structure Of Interest
Finance Yield Curve & Term Structure Of Interesttltutortutor
 

What's hot (19)

NECTEC Social Network
NECTEC Social NetworkNECTEC Social Network
NECTEC Social Network
 
Digital Lib4camp
Digital Lib4campDigital Lib4camp
Digital Lib4camp
 
ผลสำรวจความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพในการใช้อินเทอร์เน็ต
ผลสำรวจความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพในการใช้อินเทอร์เน็ตผลสำรวจความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพในการใช้อินเทอร์เน็ต
ผลสำรวจความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพในการใช้อินเทอร์เน็ต
 
Creative Commons-based Business Models
Creative Commons-based Business ModelsCreative Commons-based Business Models
Creative Commons-based Business Models
 
Self-regulation on Internet and Netiquette
Self-regulation on Internet and NetiquetteSelf-regulation on Internet and Netiquette
Self-regulation on Internet and Netiquette
 
MBA- Entrepreneurship
MBA- EntrepreneurshipMBA- Entrepreneurship
MBA- Entrepreneurship
 
7อย่า
7อย่า7อย่า
7อย่า
 
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวมสมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
 
Thoughts on Draft SET Demutualization Law
Thoughts on Draft SET Demutualization LawThoughts on Draft SET Demutualization Law
Thoughts on Draft SET Demutualization Law
 
Microsoft PowerPoint
Microsoft PowerPointMicrosoft PowerPoint
Microsoft PowerPoint
 
Progenitor of the family business.
Progenitor of the family business.Progenitor of the family business.
Progenitor of the family business.
 
Creativity And Innovation By Pantapong
Creativity And Innovation By PantapongCreativity And Innovation By Pantapong
Creativity And Innovation By Pantapong
 
การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์
 
Case Study Ezy Go Channel & Communication
Case Study Ezy Go Channel & CommunicationCase Study Ezy Go Channel & Communication
Case Study Ezy Go Channel & Communication
 
Radio Documentary
Radio DocumentaryRadio Documentary
Radio Documentary
 
Ps cs6 ch05-text
Ps cs6 ch05-textPs cs6 ch05-text
Ps cs6 ch05-text
 
Case Study Ezy Go Product&Price
Case Study Ezy Go  Product&PriceCase Study Ezy Go  Product&Price
Case Study Ezy Go Product&Price
 
พันธกิจอนุชนคริสตจักรราชบุรี2009
พันธกิจอนุชนคริสตจักรราชบุรี2009พันธกิจอนุชนคริสตจักรราชบุรี2009
พันธกิจอนุชนคริสตจักรราชบุรี2009
 
Finance Yield Curve & Term Structure Of Interest
Finance Yield Curve & Term Structure Of InterestFinance Yield Curve & Term Structure Of Interest
Finance Yield Curve & Term Structure Of Interest
 

More from Denpong Soodphakdee

Graduate Skills for Digital Age Employability
Graduate Skills for Digital Age EmployabilityGraduate Skills for Digital Age Employability
Graduate Skills for Digital Age EmployabilityDenpong Soodphakdee
 
Smart Living, Learning, & Working @KKU
Smart Living, Learning, & Working @KKUSmart Living, Learning, & Working @KKU
Smart Living, Learning, & Working @KKUDenpong Soodphakdee
 
Balancing Graduate Skills for Digital Age Employability
Balancing Graduate Skills for Digital Age EmployabilityBalancing Graduate Skills for Digital Age Employability
Balancing Graduate Skills for Digital Age EmployabilityDenpong Soodphakdee
 
Living, Learning, & Working Smart @KKU
Living, Learning, & Working Smart @KKULiving, Learning, & Working Smart @KKU
Living, Learning, & Working Smart @KKUDenpong Soodphakdee
 
Concept of e-Learning and its Applications
Concept of e-Learning and its ApplicationsConcept of e-Learning and its Applications
Concept of e-Learning and its ApplicationsDenpong Soodphakdee
 
ICT Administration in Modern Education Institute
ICT Administration in Modern Education InstituteICT Administration in Modern Education Institute
ICT Administration in Modern Education InstituteDenpong Soodphakdee
 
Communication in Modern Organization
Communication in Modern OrganizationCommunication in Modern Organization
Communication in Modern OrganizationDenpong Soodphakdee
 
Social Medias in Library Service
Social Medias in Library ServiceSocial Medias in Library Service
Social Medias in Library ServiceDenpong Soodphakdee
 
Net Zero Energy Building @ Khon Kaen University
Net Zero Energy Building @ Khon Kaen UniversityNet Zero Energy Building @ Khon Kaen University
Net Zero Energy Building @ Khon Kaen UniversityDenpong Soodphakdee
 
Higher Education for 21st Century Learners
Higher Education for 21st Century LearnersHigher Education for 21st Century Learners
Higher Education for 21st Century LearnersDenpong Soodphakdee
 
Flipped Classroom at Khon Kaen University
Flipped Classroom at Khon Kaen UniversityFlipped Classroom at Khon Kaen University
Flipped Classroom at Khon Kaen UniversityDenpong Soodphakdee
 
Technology Skills Required to be a Success Secretary
Technology Skills Required to be a Success SecretaryTechnology Skills Required to be a Success Secretary
Technology Skills Required to be a Success SecretaryDenpong Soodphakdee
 
Cloud Computing and Open Educational Resources
Cloud Computing and Open Educational ResourcesCloud Computing and Open Educational Resources
Cloud Computing and Open Educational ResourcesDenpong Soodphakdee
 

More from Denpong Soodphakdee (20)

Graduate Skills for Digital Age Employability
Graduate Skills for Digital Age EmployabilityGraduate Skills for Digital Age Employability
Graduate Skills for Digital Age Employability
 
Smart Living, Learning, & Working @KKU
Smart Living, Learning, & Working @KKUSmart Living, Learning, & Working @KKU
Smart Living, Learning, & Working @KKU
 
Balancing Graduate Skills for Digital Age Employability
Balancing Graduate Skills for Digital Age EmployabilityBalancing Graduate Skills for Digital Age Employability
Balancing Graduate Skills for Digital Age Employability
 
Living, Learning, & Working Smart @KKU
Living, Learning, & Working Smart @KKULiving, Learning, & Working Smart @KKU
Living, Learning, & Working Smart @KKU
 
New Media in Digital Age
New Media in Digital AgeNew Media in Digital Age
New Media in Digital Age
 
21st century learning skills
21st century learning skills21st century learning skills
21st century learning skills
 
ICT in Modern Education
ICT in Modern EducationICT in Modern Education
ICT in Modern Education
 
New Learning Paradigm
New Learning ParadigmNew Learning Paradigm
New Learning Paradigm
 
Concept of e-Learning and its Applications
Concept of e-Learning and its ApplicationsConcept of e-Learning and its Applications
Concept of e-Learning and its Applications
 
KKU General Education 3.0
KKU General Education 3.0KKU General Education 3.0
KKU General Education 3.0
 
ICT Administration in Modern Education Institute
ICT Administration in Modern Education InstituteICT Administration in Modern Education Institute
ICT Administration in Modern Education Institute
 
Communication in Modern Organization
Communication in Modern OrganizationCommunication in Modern Organization
Communication in Modern Organization
 
Social Medias in Library Service
Social Medias in Library ServiceSocial Medias in Library Service
Social Medias in Library Service
 
Net Zero Energy Building @ Khon Kaen University
Net Zero Energy Building @ Khon Kaen UniversityNet Zero Energy Building @ Khon Kaen University
Net Zero Energy Building @ Khon Kaen University
 
Higher Education for 21st Century Learners
Higher Education for 21st Century LearnersHigher Education for 21st Century Learners
Higher Education for 21st Century Learners
 
Flipped Classroom at Khon Kaen University
Flipped Classroom at Khon Kaen UniversityFlipped Classroom at Khon Kaen University
Flipped Classroom at Khon Kaen University
 
Technology Skills Required to be a Success Secretary
Technology Skills Required to be a Success SecretaryTechnology Skills Required to be a Success Secretary
Technology Skills Required to be a Success Secretary
 
Google Apps - KKU Experiences
Google Apps - KKU ExperiencesGoogle Apps - KKU Experiences
Google Apps - KKU Experiences
 
Video the Major Player in OERs
Video the Major Player in OERsVideo the Major Player in OERs
Video the Major Player in OERs
 
Cloud Computing and Open Educational Resources
Cloud Computing and Open Educational ResourcesCloud Computing and Open Educational Resources
Cloud Computing and Open Educational Resources
 

Recently uploaded

RESOLUCION DEL SIMULACRO UNMSM 2023 ii 2.pptx
RESOLUCION DEL SIMULACRO UNMSM 2023 ii 2.pptxRESOLUCION DEL SIMULACRO UNMSM 2023 ii 2.pptx
RESOLUCION DEL SIMULACRO UNMSM 2023 ii 2.pptxscbastidasv
 
Saunanaine_Helen Moppel_JUHENDATUD SAUNATEENUSE JA LOODUSMATKA SÜNERGIA_strat...
Saunanaine_Helen Moppel_JUHENDATUD SAUNATEENUSE JA LOODUSMATKA SÜNERGIA_strat...Saunanaine_Helen Moppel_JUHENDATUD SAUNATEENUSE JA LOODUSMATKA SÜNERGIA_strat...
Saunanaine_Helen Moppel_JUHENDATUD SAUNATEENUSE JA LOODUSMATKA SÜNERGIA_strat...Eesti Loodusturism
 
ClimART Action | eTwinning Project
ClimART Action    |    eTwinning ProjectClimART Action    |    eTwinning Project
ClimART Action | eTwinning ProjectNuckles
 
Català Individual 3r - Víctor.pdf JOCS FLORALS
Català Individual 3r - Víctor.pdf JOCS FLORALSCatalà Individual 3r - Víctor.pdf JOCS FLORALS
Català Individual 3r - Víctor.pdf JOCS FLORALSErnest Lluch
 
Castellà parelles 2n - Abril i Irina.pdf
Castellà parelles 2n - Abril i Irina.pdfCastellà parelles 2n - Abril i Irina.pdf
Castellà parelles 2n - Abril i Irina.pdfErnest Lluch
 
محاضرات الاحصاء التطبيقي لطلاب علوم الرياضة.pdf
محاضرات الاحصاء التطبيقي لطلاب علوم الرياضة.pdfمحاضرات الاحصاء التطبيقي لطلاب علوم الرياضة.pdf
محاضرات الاحصاء التطبيقي لطلاب علوم الرياضة.pdfKhaled Elbattawy
 
Català parelles 3r - Emma i Ariadna (1).pdf
Català parelles 3r - Emma i Ariadna (1).pdfCatalà parelles 3r - Emma i Ariadna (1).pdf
Català parelles 3r - Emma i Ariadna (1).pdfErnest Lluch
 

Recently uploaded (8)

RESOLUCION DEL SIMULACRO UNMSM 2023 ii 2.pptx
RESOLUCION DEL SIMULACRO UNMSM 2023 ii 2.pptxRESOLUCION DEL SIMULACRO UNMSM 2023 ii 2.pptx
RESOLUCION DEL SIMULACRO UNMSM 2023 ii 2.pptx
 
Saunanaine_Helen Moppel_JUHENDATUD SAUNATEENUSE JA LOODUSMATKA SÜNERGIA_strat...
Saunanaine_Helen Moppel_JUHENDATUD SAUNATEENUSE JA LOODUSMATKA SÜNERGIA_strat...Saunanaine_Helen Moppel_JUHENDATUD SAUNATEENUSE JA LOODUSMATKA SÜNERGIA_strat...
Saunanaine_Helen Moppel_JUHENDATUD SAUNATEENUSE JA LOODUSMATKA SÜNERGIA_strat...
 
ClimART Action | eTwinning Project
ClimART Action    |    eTwinning ProjectClimART Action    |    eTwinning Project
ClimART Action | eTwinning Project
 
Català Individual 3r - Víctor.pdf JOCS FLORALS
Català Individual 3r - Víctor.pdf JOCS FLORALSCatalà Individual 3r - Víctor.pdf JOCS FLORALS
Català Individual 3r - Víctor.pdf JOCS FLORALS
 
Díptic IFE (2) ifeifeifeife ife ife.pdf
Díptic IFE (2)  ifeifeifeife ife ife.pdfDíptic IFE (2)  ifeifeifeife ife ife.pdf
Díptic IFE (2) ifeifeifeife ife ife.pdf
 
Castellà parelles 2n - Abril i Irina.pdf
Castellà parelles 2n - Abril i Irina.pdfCastellà parelles 2n - Abril i Irina.pdf
Castellà parelles 2n - Abril i Irina.pdf
 
محاضرات الاحصاء التطبيقي لطلاب علوم الرياضة.pdf
محاضرات الاحصاء التطبيقي لطلاب علوم الرياضة.pdfمحاضرات الاحصاء التطبيقي لطلاب علوم الرياضة.pdf
محاضرات الاحصاء التطبيقي لطلاب علوم الرياضة.pdf
 
Català parelles 3r - Emma i Ariadna (1).pdf
Català parelles 3r - Emma i Ariadna (1).pdfCatalà parelles 3r - Emma i Ariadna (1).pdf
Català parelles 3r - Emma i Ariadna (1).pdf
 

ICT and e-Learning (Thai)

  • 1. ICT และการจัดการเรียนการสอน e-Learning ผศ.ดร.เด่ นพงษ์ สุ ดภักดี ผูช่วยอธิ การบดีฝ่ายวิชาการ ้ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • 2. การเรียนรู้ แบบ Constructivism • การสร้างความรู ้ใหม่อนเนื่องมาจากการมีปฏิสมพันธ์ ั ั กับสิ่ งรอบข้าง • การได้เห็น ได้ยน ได้รู้สึก ได้สมผัส จะถูกนามา ิ ั เชื่อมโยงกับความรู ้ที่มีอยูเ่ ดิม เพื่อสร้างความรู ้ใหม่ • การเรี ยนรู ้ที่ได้จากการถ่ายทอดความรู ้ของผูสอนเป็ น ้ หลัก Content Delivery – low efficiency learning
  • 3. การเรียนรู้ แบบ Constructionism • ผูเ้ รี ยนได้ลงมือทาจริ ง หรื อการเรี ยนรู้จาก ประสบการณ์ • การพูดนาเสนอ การโพสกระดานข่าว การวาดภาพ การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ฯลฯ Experience – medium efficiency learning
  • 4. การเรียนรู้ แบบ Social Constructionism • การเรี ยนรู้จากการสื่ อสารระหว่างกัน • การระดมสมอง เสวนา พูดคุย ทาได้ท้ งการพบปะ ั ตามปกติ และผ่านระบบ e-Learning • เป็ นการสร้างวัฒนธรรมการเรี ยนรู ้ นาไปสู่การเรี ยนรู ้ ตลอดชีวต (Lifelong Learning) ิ • เรี ยนรู ้จากการมีส่วนร่ วมกับการเรี ยนรู ้ของผูอื่น ้ Social – high efficiency learning
  • 5. การเรียนรู้ โดยสรุป • ควรเป็ นการเรี ยนรู้จากประสบการณ์จริ ง แทนที่จะเป็ น การป้ อนความรู ้ในสิ่ งที่ผสอนเห็นว่านักเรี ยนต้องรู ้ ู้ • ตระหนักว่าผูเ้ รี ยนสามารถเป็ นผูสอนที่ดีได้ ้ • ผูสอนควรเปลี่ยนแนวคิดจากการทาตัวเองเป็ นแหล่ง ้ รวบรวมองค์ความรู้ เป็ นผูสนับสนุนให้มีการเรี ยนรู้ ้
  • 6. การเตรียมการสอนทีเ่ น้ นการเรียนรู้ ของผู้เรียนเป็ นสาคัญ • วัตถุประสงค์การเรี ยนรู้ • ออกแบบการเรี ยนรู้ (learning design) ต้องสอดคล้อง กับวัตถุประสงค์การเรี ยนรู ้ • จัดการเนื้อหาตามสิ่ งที่ตองรู้ ควรรู้ และน่ารู ้ ้ • ไม่ควรสอนแบบบรรยายทุกเรื่ อง • ทุกอย่างไม่จาเป็ นต้องออนไลน์
  • 7. การออกแบบการเรียนรู้ (Learning Design) • สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การเรี ยนรู ้ • เน้นกิจกรรมมากกว่าเนื้อหา การเรี ยนรู ้ร่วมกันเป็ นกลุ่ม • • มีงานหรื อการบ้านให้มีการหาข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่ง ต่างๆ • มีการให้ขอมูลย้อนกลับ (feedback) อย่างสม่าเสมอ ้ • สอดแทรกคุณธรรม จริ ยธรรม และจรรยาบรรณ
  • 8. กระบวนการและทักษะทีส่งเสริมการเรียนรู้ ่ • Problem Base Learning • ฝึ กทักษะการทางานเป็ นทีม • ทักษะการแก้ปัญหา • เวปบอร์ดหรื อกิจกรรมออนไลน์รูปแบบอื่น (ประเมินผลความพยายาม) • มีการทดสอบวัดความรู้เพื่อรักษาคุณภาพ
  • 9. ระบบ e-Learning ควรเป็ นแบบไหน • มีระบบการจัดการบทเรี ยนที่ดีและง่ายต่อการใช้งาน • MOODLE เป็ น LMS ที่สนับสนุนกิจกรรมการเรี ยนรู ้ เป็ นอย่างดี • ผูสอนเป็ นผูออกแบบและสร้างบทเรี ยนด้วยตนเอง ้ ้ โดยอาจจะมีผสนับสนุนด้านโสตฯ ู้ • หน่วยงานสนับสนุน ส่ งเสริ มการสร้าง courseware ทั้ง วัสดุ อุปกรณ์ และงบประมาณ
  • 10. ผู้สอนควรเน้ นทีจุดไหน ่ • ออกแบบและพัฒนาเนื้อหาในระบบ • ร่ วมพัฒนาแผนกลยุทธในการพัฒนาระบบ • ฝึ กการใช้งานเทคโนโลยีและโปรแกรมของระบบ • ศึกษาความต้องการของผูเ้ รี ยนและความคาดหวังต่อ ระบบ
  • 11. สถาบันหรือหน่ วยงานควรเน้ นทีจุดไหน ่ • สนับสนุนให้มีการพัฒนาคุณภาพของเนื้อหาในระบบ • สนับสนุนให้มีการพัฒนาและใช้งานเนื้อหาร่ วมกันใน ลักษณะ Portal และ Repository • มีระบบสนับสนุนให้มีการพัฒนาเนื้อหาที่รวดเร็ วขึ้น (เลือกใช้ LMS ที่ใช้งานง่าย)
  • 12. LMS คืออะไร • LMS ย่อมาจาก Learning Management System ลักษณะของ LMS • LMS เป็ นซอฟต์แวร์ ที่ทาหน้าที่บริ หารจัดการเรี ยน 1. กาหนดผู้ใช้ งาน การสอนผ่านเว็บ ประกอบด้วยเครื่ องมืออานวย 2. ระบบการสื อสาร ความสะดวกให้แก่ผสอน ผูเ้ รี ยน ผูดูแลระบบ โดย 3. แหล่งอ้างอิง ู้ ้ ผูสอนสามารถนาเนื้อหาและสื่ อการสอนใส่ ไว้ใน 4. การตรวจและให้ คะแนน ้ โปรแกรมได้สะดวก 5. การติดตามพฤติกรรม การเรียน • ผูเ้ รี ยนและผูสอนสามารถใช้เครื่ องมือสื่ อสารที่ ้ 6. การรายงานผล ระบบจัดไว้ให้ได้ ทุกองค์ประกอบ 7. ระบบการสอน • การเก็บบันทึกข้อมูล กิจกรรมการเรี ยนของผูเ้ รี ยน 8. ความสามารถในการ ไว้บนระบบเพื่อผูสอนสามารถนาไปวิเคราะห์ ้ นาเสนอ Rich Media ติดตามและประเมินผลการเรี ยนการสอนได้อย่างมี ประสิ ทธิภาพ
  • 13. ข้ อดีของการใช้ LMS • สามารถให้ความใส่ ใจกับเนื้อหาได้อย่างเต็มที่ • ผูสอนและผูดูแลระบบสามารถนาไฟล์ขอมูลประเภทต่าง ้ ้ ้ ๆ เข้าไปเก็บไว้ใน LMS ได้ทนที ั • การควบคุมการนาเสนอบทเรี ยน แบบฝึ กหัดและ แบบทดสอบ สามารถทาได้อย่างรวดเร็ วโดยไม่ตองใช้้ ่ โปรแกรมยุงยาก • การพัฒนาระบบ LMS ต้องอาศัยทีมงานในการออกแบบ ระบบให้สอดคล้องกับความต้องการของสถาบัน ่ งบประมาณที่มีอยูให้เหมาะสมกับหน่วยงาน
  • 14. มาตรการ SCORM SCORM (Shareable Content Object Reference Model) หมายความว่ ารู ปแบบ ทีทาให้ เนือหาทีได้ พฒนาขึนมาด้ วยมาตรฐานดังกล่ าว มีการแลกเปลียนข้ อมูลกัน ่ ้ ่ั ้ ่ ได้ องค์ ประกอบของ SCORM ใน LMS มี 2 ส่ วน คือ 1. การกาหนดมาตรฐานในการพัฒนาเนื้อหาชุดการเรี ยน (Learning Packaging Content) 2. การกาหนดให้ API ที่ทาให้การสื่ อสารส่ งสัญญาณ ระหว่างเนื้อหาที่เรี ยนกับระบบ รับส่ งคะแนนกันได้
  • 15. MOODLE Moodle (Modular Objected Dynamic Learning Environment) คือระบบจัดการเรี ยนการสอน (LMS) หรื อ ระบบจัดการคอร์ส (CMS) ที่ช่วยในการจัด กิจกรรมการเรี ยนการสอนในระบบการเรี ยนแบบ ออนไลน์ให้มีบรรยากาศเหมือนเรี ยนในห้องเรี ยนผ่าน ระบบเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต ในระบบ open source program (โปรแกรมเปิ ด สามารถแก้ไขได้ โดยไม่เสี ย ค่าลิขสิ ทธิ์
  • 18. อะไรคือ e-Courseware • บทเรี ยนอิเล็กทรอนิกส์ เป็ นสื่ อที่ออกแบบและผลิตขึ้นโดย ใช้คอมพิวเตอร์เป็ นฐานในการผลิต • มีการใช้สื่อประสม (multimedia) และการโต้ตอบกับ บทเรี ยนในลักษณะการมีปฏิสมพันธ์ (Interaction) โดยมี ั ผลป้ อนกลับไปยังผูเ้ รี ยนทันที • มีการออกแบบกิจกรรมการเรี ยนการสอนให้ผเู้ รี ยนเกิด ประสบการณ์การเรี ยนรู้หลายๆ ทาง • มีระบบการวัดผลประเมินผลจากการทาแบบฝึ กหัดและ แบบทดสอบด้วย
  • 19. หลักการในการออกแบบและพัฒนา e-Courseware • การออกแบบต้องสอดคล้องกับส่ วนประกอบต่างๆใน บทเรี ยน เช่นผูใช้บทเรี ยน เนื้อหาบทเรี ยน ฯลฯ ้ • มีการทดสอบและประเมินประสิ ทธิภาพในระหว่าง ขั้นตอนการสร้าง • การออกแบบอาศัยผูสอนที่เชี่ยวชาญด้านเนื้อหา เจ้าหน้าที่ ้ เทคนิค และนักเทคโนโลยีการศึกษา ที่มีความเชี่ยวชาญ ทางด้านการเรี ยนการสอน ทางานร่ วมกัน • การออกแบบจาเป็ นต้องอาศัยพื้นฐานทางด้านทฤษฎีและ ั หลักการทางจิตวิทยาการเรี ยนรู้มาประยุกต์กบการ ออกแบบบทเรี ยน ตอบสนองความต้องการของผูเ้ รี ยน
  • 20. ขั้นตอนในการออกแบบและพัฒนา e-Courseware 1. ขั้นเตรี ยมตัว 2. ขั้นเลือกเนื้อหา 3. ขั้นการวิเคราะห์หลักสู ตร (รายวิชา) 4. ขั้นการวางแผนการสอน (รายวิชา) 5. ขั้นการออกแบบบทเรี ยน 6. ขั้นการทดลอง และการประเมินผล 7. ขั้นการนาไปใช้จริ ง
  • 21. ข้ อควรปฏิบัตทดสาหรับผู้สอน ิ ี่ ี • กระตุนการเรี ยนรู้ดวยกันของผูเ้ รี ยน ้ ้ • สร้างความตระหนักถึงความปลอดภัยในการใช้งานระบบ • เริ่ มเล็กๆ แต่คิดให้ใหญ่ๆ • ให้คาอธิบายทุกเอกสาร ไฟล์ หรื อสิ่ งที่เตรี ยมไว้ให้ นักศึกษา • สร้างความตระหนักให้นกศึกษาคิดก่อนทา คิดก่อนโพสต์ ั • เปิ ดโอกาสให้นกศึกษาแสดงความเห็นเกี่ยวกับรู ปแบบของ ั วิชา • แลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ร่วมกับผูสอนอื่น ้
  • 22. ข้ อพึงระวังในการใช้ งาน e-Learning • ไม่ตื่นเต้นกับสิ่ งที่ระบบ e-Learning มี • ไม่คาดหวังว่าความน่าตื่นเต้นของระบบ e-Learning จะทาให้นกศึกษาเรี ยนรู้ได้มากขึ้น ดีข้ ึน ั • ไม่ละเมิดลิขสิ ทธิ์ • ไม่ควรให้รายวิชามีแต่ PowerPoint ไฟล์ • ไม่กลัวที่จะลองว่าระบบทาอะไรได้บาง ้ • ไม่เน้นความหวือหวา แต่ควรเน้นที่การเรี ยนรู ้ของผูที่ ้ จะเข้ามาเรี ยน
  • 23. แนวโน้ มในอนาคต • มีการพัฒนาและออกแบบเนื้อหาและระบบอย่างรวดเร็ ว • นา e-Learning ไปใช้ในการพัฒนาและฝึ กพนักงาน • มีการพัฒนาเครื่ องมือที่สามารถทางานที่ซบซ้อนขึ้น แต่ใช้ ั งานง่ายขึ้น • การใช้ระบบ e-Learning สนับสนุนการศึกษาตามปกติมาก ขึ้น • การศึกษาในระบบ e-Learning เป็ นส่ วนหนึ่งของงาน • มีการใช้เนื้อหาในรู ปแบบ e-Learning เป็ นส่ วนหนึ่งของ ผลิตภัณฑ์
  • 24. แนวโน้ มในอนาคต • มีการพัฒนาเครื่ องมือในการพัฒนาเนื้อหาที่ง่ายขึ้น แต่ สามารถทางานที่ซบซ้อนได้มากขึ้น ั • มีการใช้งานระบบ e-Learning ในการบริ หารจัดการ โครงการ (Project Management) • มีการใช้งานเนื้อหา e-Learning ร่ วมกัน
  • 25. Tips สาหรับผู้สอน • ทางานให้สนุก • ยอมรับกับงานที่เพิ่มขึ้น • ไม่ตองคาดหวังความสาเร็ จและความสมบูรณ์ ้ เหมือนกับที่ท่านทาในห้องเรี ยน • ค่อยๆ เพิมกิจกรรมออนไลน์ในกิจกรรมการสอน ่ • ติดตามเทคโนโลยีทางด้านนี้ (ท่านต้องเป็ นผูที่มี ้ การศึกษาตลอดชีวตเพื่อเป็ นตัวอย่างที่ดีให้นกเรี ยนทา ิ ั ตามอย่างที่เราคาดหวัง)
  • 26. Tips สาหรับผู้สอน • มีเอกสารที่ดี • เตรี ยมใจกับการต้องอ่าน e-mail หรื อ webboard จานวนมาก • อย่าลืมแทรกคุณธรรม จริ ยธรรม และจรรยาบรรณ • อาจารย์ควรมีประสบการณ์ท้ งด้านเนื้อหาที่สอนและ ั ประสบการณ์จดทาเนื้อหาในระบบ e-Learning ั