SlideShare a Scribd company logo
1 of 72
Download to read offline
ผลกระทบจากกฎหมายดิจิทัลที่มีต่อ
ห้องสมุด หอจดหมายเหตุ และพิพิธภัณฑ์
ฐิติมา ธรรมบารุง, Ph.D.
เจ ้าหน้าที่สารสนเทศอาวุโส
ฝ่ ายบริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (STKS)
สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
1
2
ดาวน์โหลด Presentation
https://padlet.com/boonlerta1/stks
การหลอมรวมกันของเทคโนโลยี
http://kelger.blogspot.com/2011/04/technological-convergence.html
3
การเรียนรู้และการค้นหาสารสนเทศ
ของ Digital native
• มือถือเป็นอวัยวะ ชีวิตรายล ้อมด ้วยอุปกรณ์ดิจิทัล
• หาความรู้ได ้จากทุกที่ ทุกเวลา
• ชอบความรวดเร็ว
• ชอบสื่อดิจิทัลและสื่อมัลติมีเดีย
• ชอบสร ้างเครือข่าย
• ชอบทาอะไรหลายอย่างพร ้อมกัน
• มีความคาดหวังสูง มีความมั่นใจ
• ชอบการเรียนรู้ที่ตรงประเด็น และสนุก
• ชอบเรียนและค ้นหาเมื่อถึงเวลา
4
http://www.okmd.or.th/okmd-opportunity/global-knowledge-society/259/
https://www.flickr.com/photos/wastes/5374490075
http://www.tcjapress.com/2017/01/31/gen-z-children/
https://www.slideshare.net/plaistrlc/the-role-of-librarians-in-the-21st-century
https://datareportal.com/reports/digital-2019-global-digital-overview
5
https://datareportal.com/reports/digital-2019-global-digital-overview
6
https://datareportal.com/reports/digital-2019-global-digital-overview
7
https://datareportal.com/reports/digital-2019-global-digital-overview
8
https://datareportal.com/reports/digital-2019-thailand
9
https://datareportal.com/reports/digital-2019-thailand
10
ยุคที่เปลี่ยนไปของประเทศไทย
11
เทคโนโลยีดิจิทัล คือ เทคโนโลยีที่เกิดจากการหลอมรวมของ
เทคโนโลยี (Convergence) ทั้ง 3 ด ้าน ได ้แก่ เทคโนโลยีสารสนเทศ
(IT) โทรคมนาคม (Telecommunication) และการแพร่ภาพกระจาย
เสียง (Broadcast) ที่ส่งผลให ้เกิดการเปลี่ยนแปลง “อย่างรวดเร็ว”
พ.ศ.2545 พ.ศ.2554 พ.ศ.2559
12
รัฐบาลตระหนักถึงอิทธิพลของ
เทคโนโลยีดิจิทัลที่มีต่อการ
พัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
ซึ่งเป็นทั้งโอกาสและความท ้า
ทายของประเทศไทย ที่จะ
ปรับปรุงทิศทางการดาเนินงาน
ของประเทศด ้วยการใช ้
ประโยชน์สูงสุดจากเทคโนโลยี
ดิจิทัลนามาสู่การจัดทา
แผนพัฒนาดิจิทัล
เพื่อเศรษฐกิจและสังคม
พรบ.การพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ
และสังคม พ.ศ. 2560
13
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/A/010/1.PDF
มาตรา 3 ระบุว่า “ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม” หมายความว่า
ระบบเศรษฐกิจและสังคมที่มีการติดต่อสื่อสาร การผลิต การอุปโภค
บริโภค...การทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์...การศึกษา การเกษตรกรรม
การอุตสาหกรรม... การบริหารจัดการข ้อมูล และเนื้อหาหรือกิจกรรมทาง
เศรษฐกิจ และสังคมอื่นใด หรือการใด ๆ ที่มีกระบวนการหรือการ
ดาเนินงานทางดิจิทัลหรือทางอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งในกิจการกระจายเสียง
กิจการโทรทัศน์ กิจการวิทยุคมนาคม กิจการโทรคมนาคม กิจการสื่อสาร
ดาวเทียม และการบริหารคลื่นความถี่ โดยอาศัยโครงสร ้างพื้นฐาน
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร รวมทั้งเทคโนโลยีที่มีการหลอม
รวม หรือเทคโนโลยีอื่นใดในทานองเดียวกันหรือคล ้ายคลึงกัน
14
หมวด 1 การพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
มาตรา 6 นโยบายและแผนระดับชาติว่าด ้วยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อ
เศรษฐกิจและสังคมมีเป้าหมายและแนวทางอย่างน้อย ดังต่อไปนี้
(5) การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาให ้เกิดอุตสาหกรรมและ
นวัตกรรมด ้านเทคโนโลยีดิจิทัล การพัฒนาให ้เกิดการใช ้เทคโนโลยี
ดิจิทัลเพื่อสร ้างหรือเผยแพร่เนื้อหาผ่านทางสื่อที่ก่อให ้เกิดประโยชน์ต่อ
เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและความมั่นคงของประเทศ
(7) การพัฒนาคลังข ้อมูลและฐานข ้อมูลดิจิทัล การบริหารจัดการ
ความรู้รวมทั้งการส่งเสริมเพื่อให ้มีระบบที่เป็นศูนย์แห่งการเรียนรู้และ
ให ้บริการข ้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ที่ทันสมัย ซึ่งเอื้อต่อการนาไปใช ้
ประโยชน์ในรูปแบบที่เหมาะกับยุคสมัย
15
หมวด 5 การส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล
มาตรา 35 วรรคสอง อุตสาหกรรมหรือนวัตกรรมดิจิทัล ให ้หมายความ
รวมถึงอุตสาหกรรมหรือนวัตกรรมในการใช ้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อสร ้าง
หรือเผยแพร่เนื้อหาผ่านทางสื่อที่เป็นประโยชน์ต่อเศรษฐกิจ สังคม
วัฒนธรรมและความมั่นคงของประเทศด ้วย
มาตรา 41 แผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลที่สานักงาน
ส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล จัดทาขึ้นตามมาตรา 35 (1) ต ้องสอดคล ้องกับ
นโยบายและแผนระดับชาติว่าด ้วยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและ
สังคม และอย่างน้อยต ้องกาหนดเรื่องดังต่อไปนี้ด ้วย
(1) แนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนให ้เกิดการใช ้เทคโนโลยีดิจิทัล
เพื่อสร ้างหรือเผยแพร่เนื้อหาผ่านทางสื่อที่เป็นประโยชน์ต่อเศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรม และความมั่นคงของประเทศ
(6) แนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนการเผยแพร่ความรู้ให ้ประชาชนใช ้
ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลอย่างคุ้มค่า ประหยัดและปลอดภัย
(9) แนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษา ค ้นคว ้า วิจัย การ
ถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่จาเป็นต่อการพัฒนาอุตสาหกรรม
ดิจิทัล
16
แหล่งเรียนรู้
L
A
M
Library
G
Archive
Museum
Gallery
Digital-based
17
แหล่งเรียนรู้
18
ไม่ใช่เพียงสถานที่ที่เก็บรวบรวมสื่อจานวนมาก
แล ้วรอให ้คนมาอ่านหนังสือหรือมาเรียนรู้เงียบๆ อย่างเดียวอีกต่อไป
ศูนย์กลางความรู้ของชุมชน
มีความยืดหยุ่นและยั่งยืน
บริการการพัฒนาทักษะที่เกี่ยวข ้อง
ใช ้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลและความคิด
สร ้างสรรค์ให ้เกิดประโยชน์สูงสุด
ICT
พฤติกรรม
ผู ้ใช ้
Emergent
technology
เนื้อหาในรูปแบบ eBook
มีให ้เลือก
หลายฟอร์แมต
19
ห ้องสมุดยุคดิจิทัล
หนังสือยุคดิจิทัล
ความรู้ในอินเทอร์เน็ต
• ลิงก์ไปหาเนื้อหา
• ลิงก์ไปหาภาพ
• ลิงก์ไปหาสื่อ
มัลติมีเดีย
• ลิงก์ไปหาบทความ
วิชาการ
ตัวเล่ม
eBook
PDF
eBook
HTML
ePub
iBook
…
20
21
http://www.trueplookpanya.com/learning/detail/25736/037906
22
http://www.trueplookpanya.com/learning/detail/25736/037906
23
24
เทคโนโลยี AR
https://www.vrfocus.com/2017/11/ar-education-book-100-funded-by-kickstarter/
Mobile App
TK park
25
จดหมายเหตุ
ประเภทเอกสารจดหมายเหตุ
1. เอกสารจดหมายเหตุประเภท
ลายลักษณ์อักษร
(Textual Archives)
2. เอกสารโสตทัศนจดหมายเหตุ
(Audio–Visual Archives)
3. เอกสารจดหมายเหตุประเภท
แผนที่ แผนผัง
(Cartographic Archives)
4. เอกสารจดหมายเหตุประเภท
วัสดุคอมพิวเตอร์
(Machine - Readable
Archives)
กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง
• พรบ.จดหมายเหตุแห่งชาติฯ
• ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด ้วย
งานสารบรรณฯ
• พรบ.ข ้อมูลข่าวสารราชการฯ
• ระเบียบว่าด ้วยการรักษาความลับของ
ทางราชการฯ
• พรบ.ว่าด ้วยธุรกรรมทาง
อิเล็กทรอนิกส์ฯ
• พรบ.การพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ
และสังคมฯ
26
แนวคิดเก่าของการบริหารจัดการ
จดหมายเหตุ
•รอเวลา ... 20 ปี 25 ปี 30 ปี
ค ้นหารวบรวมเอกสาร
ประเมินเอกสาร
ดาเนินการแปลงดิจิทัล
ให ้ข ้อมูล นาเข ้าระบบ
เครื่องสแกนเนอร์
28
แนวคิดใหม่ของการบริหารจัดการ
จดหมายเหตุ
https://www.mscnewswire.co.nz/component/k2/item/4639-lower-cost-option-for-sending-annual-reports.html
https://michiganvideoproduction.net/corporate-event-videography-michigan/
https://www.vectorstock.com/royalty-free-vector/digital-files-icon-set-1-vector-648389
29
สร ้างเอกสาร
ประเมินเอกสาร
ให ้ข ้อมูล นาเข ้าระบบ
30
Internet Archive
https://archive.org/
31
32
พิพิธภัณธ์ยุคดิจิทัล
ความหลากหลายของเนื้อหา
+ ประสบการณ์อันน่าตื่นเต ้น
ด ้วยเทคโนโลยีดิจิทัล
33
34
https://theme.npm.edu.tw/opendata/DigitDataSets.aspx?lang=2
35
https://theme.npm.edu.tw/opendata/DigitDataSets.aspx?lang=2
36https://play.google.com/store/apps/details?id=fr.smartapps.louvre&hl=th
https://play.google.com/store/apps/details?id=air.com.bm.london.vusiem&hl=th
พิพิธภัณฑ์เสมือน
37https://www.britishmuseum.org/with_google.aspx
38
พื้นที่กลางในการ
ปฏิสัมพันธ์ เรียนรู้
และสร ้างสรรค์
ผลงานด ้วยตนเอง
ยุคแห่ง “การเปิด”
ห้องสมุด หอจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์ดิจิทัล
40
แปลงและเผยแพร่
ในรูปแบบดิจิทัล
ลิขสิทธิ์
ผลงานอันมีลิขสิทธิ์
เว็บไซต์ ฐานข ้อมูลออนไลน์ สื่อสังคม
ออนไลน์ หรือแฟลตฟอร์มเทคโนโลยีอื่นๆ
พรบ.ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537
41
ความเสี่ยงจาก “ระบบเปิด”
42
เนื้อหา ภาพ ฟอนต์ สื่อประกอบ
และโปรแกรมที่ใช ้สร ้างสื่อ
อาจละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา
ความเสี่ยงจาก “ระบบเปิด”
43
http://www.innnews.co.th/shownews/show?newscode=633752
เนื้อหา ภาพ ฟอนต์ สื่อประกอบ และโปรแกรมที่ใช ้สร ้างสื่อ
อาจละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา
44http://www.f0nt.com/
ความจริง
สื่อมีเงื่อนไข
ในการนาไปใช ้...
จุดที่ถูกละเลยจาก
คาว่า “ฟรี”
http://socanth.tu.ac.th/
45
ฟอนต์มาตรฐานราชการไทย
• TH Baijam
• TH Chakra Peth
• TH Charm of AU
• TH Charmonman
• TH Fah kwang
• TH K2D July8
• TH Kodchasal
• TH KoHo
• TH Krub
• TH Mali Grade 6
• TH Niramit AS
• TH SarabunPSK
• TH Srisakdi
ซอฟต์แวร์ทางเลือก
Open Source Software
• ซอฟต์แวร์ที่เปิดเผยต ้นฉบับ
– ต ้นฉบับโปรแกรม (Source
code)
• ปรับแก ้ไขได ้
• สามารถสาเนาได ้
• สามารถเผยแพร่ได ้
• OSS ≠ Freeware
– ไม่ได ้“ฟรี” ทุกอย่าง
Freeware
• ซอฟต์แวร์ธุรกิจที่อนุญาตให ้
ใช ้ได ้ฟรี
• ไม่เปิดเผยต ้นฉบับโปรแกรม
• อาจจะตัดความสามารถ
บางอย่างออก
• มีเงื่อนไขในการใช ้งาน
– บางโปรแกรมใช ้ได ้เฉพาะส่วน
บุคคล
– บางโปรแกรมไม่อนุญาตให ้หา
รายได ้
ซอฟต์แวร์ทางเลือก
Open Source Software & Freeware
พรบ.ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537:
การใช้สิทธิที่เป็ นธรรม
49
50
เกณฑ์การใช้ลิขสิทธิ์ที่เป็ นธรรม
1. วัตถุประสงค์และความเหมาะสมในการใช ้งาน
ลิขสิทธิ์
– ไม่มีเจตนาทุจริต เช่น การนางานลิขสิทธิ์มาใช ้โดยไม่
อ ้างอิงถึงที่มา หรือใช ้ในลักษณะที่ทาให ้คนเข ้าใจว่าเป็น
งานของตนเอง
2. ลักษณะของงานลิขสิทธิ์
– งานที่มีระดับของการสร ้างสรรค์งานหรือใช ้จินตนาการ
มาก เช่น นวนิยาย หรือเรื่องเล่าอัดชีวประวัติบุคคล หาก
มีการนางานไปใช ้โอกาสที่จะถือว่าเป็นการใช ้งาน
ลิขสิทธิ์ที่ไม่เป็นธรรมจะมากกว่างานลิขสิทธิ์ที่
ประกอบด ้วยข ้อเท็จจริงจานวนมาก
เกณฑ์การใช้ลิขสิทธิ์ที่เป็ นธรรม
3. ปริมาณการใช ้งานและสัดส่วนของงาน
– หนังสือที่มีลิขสิทธิ์จานวน 50 หน้า นาไปใช ้25
หน้า ถือว่าเป็นการใช ้ลิขสิทธิ์ที่ไม่เป็นธรรม
– กรณีที่นางานลิขสิทธิ์ของคนอื่นมาใช ้แม ้ปริมาณ
น้อยก็อาจเป็นการละเมิดได ้ หากส่วนนั้นเป็นส่วนที่
เป็นสาระสาคัญหรือหัวใจของงานชิ้นนั้น
4. ผลกระทบต่อการตลาดหรือมูลค่าของงาน
ลิขสิทธิ์
– ไม่ทาให ้งานลิขสิทธิ์ขายไม่ได ้
การใช้งานลิขสิทธิ์ที่เป็ นธรรม
รูปภาพและภาพถ่าย
• ใช ้ได ้อย่างน้อย 1 ภาพแต่ไม่เกิน 5 ภาพ
ต่อผู้สร ้างสรรค์ 1 ราย หรือ ร ้อยละ 10 ของ
จานวนภาพของผู้สร ้างสรรค์ 1 ราย (แล ้วแต่
ว่าจานวนใดน้อยกว่ากัน)
• ผู้สอนและผู้เรียนดาวน์โหลดภาพจาก
อินเตอร์เน็ต เพื่อใช ้ในการศึกษาได ้ใน
ปริมาณเท่ากับ (ข ้างต ้น) แต่จะอัพโหลด
งานนั้นกลับขึ้นอินเตอร์เน็ตไม่ได ้หากไม่ได ้
รับอนุญาตจากเจ ้าของสิทธิ์สอน
53
54
“ใช ้แค่นิดหน่อย” /
“ใช ้เพื่อการเรียนการสอน” / “ใช ้เพื่อการศึกษา”/
“อ ้างอิงที่มาแล ้ว” /
“เป็นบรรณารักษ์” / “เป็นห ้องสมุด”
ไม่เป็ นไรหรอก ไม่ผิดกฎหมาย
ได้รับการยกเว้น
55
การติดตามย้อนกลับภาพดิจิทัล
56
57
58
https://youtube-creators.googleblog.com/2018/07/helping-creators-protect-their-content.html
YouTube Copyright Match
Turnitin
http://turnitin.com
59
ระบบตรวจสอบความเป็ นต้นฉบับของเอกสาร
ภาษาไทยแบบอัตโนมัติ (Anti-KobPae)
http://vivaldi.cpe.ku.ac.th/~noom/new_kobpae/select_wp_input.php
60
ระบบตรวจสอบลิขสิทธิ์ผลงานวิชาการและ
วิทยานิพนธ์ (CopyCatch)
http://www.copy-cat.in.th
61
62https://www.thaipost.net/main/detail/28759?fbclid=IwAR0jaWyRqFslJ5n9Me1VviAmc2Hnkk18OvMnY
dZu29SilIN7W60MYOXe9R8
รู้จักกับสัญญาอนุญาต
สงวนลิขสิทธิ์
Copyright (c)
สงวนลิขสิทธิ์
Copyright (c)
CreativeCommons
(cc)
CreativeCommons
(cc)
สมบัติสาธารณะ
Public Domain (pd)
สมบัติสาธารณะ
Public Domain (pd)
OpenAccess
(OA)
OpenAccess
(OA)
64
https://oer.learn.in.th/
CreativeCommons
(cc)
CreativeCommons
(cc)
65
https://www.publicdomainpictures.ne
สมบัติสาธารณะ
Public Domain (pd)
สมบัติสาธารณะ
Public Domain (pd)
พรบ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับ
คอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
ความหมายและผลกระทบต่อผู้ให้บริการ
Company Logo
ระบบคอมพิวเตอร์
ข ้อมูลคอมพิวเตอร์
ข ้อมูลจราจรทาง
คอมพิวเตอร์
ผู้ให ้บริการ
ผู้ใช ้บริการ
พนักงานเจ ้าหน้าที่
รัฐมนตรี
หมวด 1
ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
กระทาต่อคอมพิวเตอร์ ใช้คอมพิวเตอร์กระทา
ความผิด
ม.5: การเข ้าถึงระบบคอมฯ
ม.6: การล่วงรู้มาตรการการป้องกัน
การเข ้าถึง
ม.7: การเข ้าถึงข ้อมูลคอมฯ
ม.8: การดักรับข ้อมูลคอมฯ
ม.9: การรบกวนข ้อมูลคอมฯ
ม.10: การรบกวนระบบคอมฯ
ม.13: การจาหน่าย/ เผยแพร่
ชุดคาสั่งเพื่อใช ้กระทาความผิด
ม.11: Spam mail
ม.14: การปลอมแปลง
ข ้อมูลคอมพิวเตอร์/
เผยแพร่เนื้อหาอันไม่
เหมาะสม
ม.15: ความรับผิดของผู้
ให ้บริการ
ม.16: การเผยแพร่ภาพ
จากการตัดต่อ/ดัดแปลง
หมวด 2
พนักงานเจ้าหน้าที่
อานาจหน้าที่ (ม.18): (1) มีหนังสือ/
เรียกเพื่อให ้ถ ้อยคา/เอกสาร (2) เรียก
ข ้อมูลจราจร (3) สั่งให ้ส่งมอบข ้อมูลที่อยู่
ในครอบครอง (4) ทาสาเนาข ้อมูล
(5) สั่งให ้ส่งมอบข ้อมูล/อุปกรณ์
(6) ตรวจสอบ/เข ้าถึง (7) ถอดรหัสลับ
(8) ยึด/อายัดระบบ
ข้อจากัด/การตรวจสอบการใช้อานาจ
(ม.19): ยื่นคาร ้องต่อศาลในการใช ้อานาจ
ตาม ม.18 (4)-(8) , ส่งสาเนาบันทึก
รายละเอียดให ้แก่ศาลภายใน 48 ชม., ยึด/
อายัดห ้ามเกิน 30 วัน ขอขยายได ้อีก 60
วัน (ม.๑18(8))
การ block เว็บไซต์ พนักงานเจ้าหน้าที่โดย
ความเห็นชอบของรมว.ทก.ยื่นคาร ้องต่อศาล
(ม.20)
ความรับผิดของพนักงานเจ้าหน้าที่:
(ม.22 ถึง มาตรา 24)
พยานหลักฐานที่ได้มาโดยมิชอบ อ ้าง
และรับฟังมิได ้ (ม.24)
คานิยาม ม.3
ม.12 บทหนัก
กระทาความผิดนอกราชอาณาจักร ต้องรับโทษภายในราชอาณาจักร์ (ม.17)
การรับฟังพยานหลักฐานที่ได้มาตาม พ.ร.บ. ฉบับนี้ (ม. 25)
ผู้ให้บริการ
ม.26: เก็บข ้อมูลจราจร
90 วันไม่เกิน 1 ปี
ม.27: ไม่ปฏิบัติตาม
คาสั่งพนักงานเจ ้าหน้าที่
หรือคาสั่งศาล ระวาง
โทษปรับ
มีผลบังคับใช้ภายหลังประกาศใช้ 30 วัน (ม.2)
พนักงานเจ้าหน้าที่
การแต่งตั้ง/กาหนดคุณสมบัติพนักงาน
เจ้าหน้าที่/การประสานงาน (ม.28-29)
สิทธิที่จะได้รับความคุ้มครองในข้อมูล
ส่วนบุคคล
ข ้อมูลส่วนบุคคล
การศึกษา ฐานะการเงิน ประวัติ
สุขภาพ ประวัติอาชญากรรม หรือ
ประวัติการทางาน บรรดาที่มีชื่อ
ของผู้นั้น หรือมีเลขหมาย รหัส
หรือสิ่งบอกลักษณะอื่นที่ทาให ้
รู้ตัวผู้นั้น
• รูปถ่าย
• ภาพถ่ายบุคคล
• สถานที่ของบุคคล
• ฯ
กฎหมายที่เกี่ยวข ้อง
• รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร
ไทยฯ
• พรบ.ข ้อมูลข่าวสารของ
ราชการฯ
• ร่าง พรบ.คุ้มครองข ้อมูลส่วน
บุคคล พ.ศ....
• ปฏิญญาสากลว่าด ้วยสิทธิ
มนุษยชน
• พรบ.ว่าด ้วยการกระทา
ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ฯ
• พรบ.ว่าด ้วยธุรกรรมทาง
อิเล็กทรอนิกส์ฯ
67
กรอบในการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
68
http://www.etcommission.go.th/files/article/article-dp.pdf
ข้อ กรอบ OECD สาระสาคัญ
1
หลักข ้อจากัดในการ
เก็บรวบรวมข ้อมูล
ในการเก็บรวบรวมข ้อมูลนั้น ต ้องชอบด ้วยกฎหมายและต ้องใช ้วิธีการที่เป็น
ธรรมและเหมาะสม โดยในการเก็บรวบรวมข ้อมูลนั้นต ้องให ้เจ้าของข ้อมูลรู้
เห็น รับรู้หรือได ้รับความยินยอมจากเจ้าของข ้อมูล
2
หลักคุณภาพของ
ข ้อมูล
ข ้อมูลที่เก็บรวบรวมนั้น ต ้องเกี่ยวข ้องกับวัตถุประสงค์ที่กาหนดขึ้นว่า “จะ
นาไปใช ้ทาอะไร” และเป็นไปตามอานาจหน้าที่และวัตถุประสงค์ในการ
ดาเนินงานของหน่วยงานตามที่กฎหมายกาหนด นอกจากนั้นข ้อมูลดังกล่าว
จะต ้องถูกต ้อง สมบูรณ์หรือทาให ้เป็นปัจจุบันหรือทันสมัยอยู่เสมอ
3
หลักการกาหนด
วัตถุประสงค์ในการ
จัดเก็บ
ต ้องกาหนดวัตถุประสงค์ว่า ข ้อมูลที่มีการเก็บรวบรวมนั้น เก็บรวมรวมไปเพื่อ
อะไร พร้อมทั้ง กาหนดระยะเวลาที่เก็บรวบรวมหรือรักษาข ้อมูลนั้น ตลอดจน
กรณีที่จาเป็นต ้องมีการเปลี่ยนแปลงวัตถุประสงค์ในการเก็บรวบรวมข ้อมูลเช่น
ว่านั้น ไว ้ให ้ชัดเจน
4
หลักข ้อจากัดในการ
นาไปใช ้
ข ้อมูลส่วนบุคคลนั้น จะต ้องไม่มีการเปิดเผย ทาให ้มีหรือปรากฏในลักษณะ
อื่นใด ซึ่งไม่ได ้กาหนดไว ้โดยชัดแจ ้งในวัตถุประสงค์ของการเก็บรวบรวม
ข ้อมูล เว ้นแต่จะได ้รับความยินยอมจากเจ ้าของข ้อมูล หรือโดยอาศัยอานาจ
ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย
กรอบในการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
69http://www.etcommission.go.th/files/article/article-dp.pdf
ข้อ กรอบ OECD สาระสาคัญ
5 หลักการรักษาความ
มั่นคงปลอดภัยข ้อมูล
จะต ้องมีมาตรการในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของข ้อมูลส่วนบุคคลที่
เหมาะสม เพื่อป้องกันความเสี่ยงภัยใดๆ ที่อาจจะทาให ้ข ้อมูลนั้นสูญหาย
เข ้าถึง ทาลายใช ้ดัดแปลงแก ้ไข หรือเปิดเผยโดยมิชอบ
6 หลักการเปิดเผย
ข ้อมูล
ควรมีการประกาศนโยบายฯให ้ทราบโดยทั่วกัน หากมีการปรับปรุงแก ้ไข หรือ
พัฒนาแนวนโยบายหรือแนวปฏิบัติที่เกี่ยวกับข ้อมูลส่วนบุคคลก็ควรเปิดเผย
หรือประกาศไว ้ให ้ชัดเจน รวมทั้งให ้ข ้อมูลใดๆ ที่สามารถระบุเกี่ยวกับ
หน่วยงานของรัฐผู้ให ้บริการ ที่อยู่ผู้ควบคุมข ้อมูลส่วนบุคคลด ้วย
7 หลักการมีส่วนร่วม
ของบุคคล
ให ้บุคคลซึ่งเป็นเจ้าของข ้อมูลได ้รับแจ้งหรือยืนยันจากหน่วยงานของรัฐที่เก็บ
รวบรวมหรือจัดเก็บข ้อมูลทราบว่า “หน่วยงานของรัฐนั้นๆ ได ้รวบรวมข ้อมูล
หรือจัดเก็บข ้อมูลส่วนบุคคลดังกล่าวหรือไม่ ภายในระยะเวลาที่เหมาะสม”
8 หลักความรับผิดชอบ ผู้ควบคุมข ้อมูลส่วนบุคคลต ้องปฏิบัติตามนโยบายและแนวปฏิบัติในการ
คุ้มครองข ้อมูลส่วนบุคคล
70
Thank you for your
attention!
71
ฐิติมา ธรรมบารุง, PhD
เจ ้าหน้าที่สารสนเทศอาวุโส
ฝ่ ายบริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (STKS)
สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
titima@nstda.or.th
http://facebook.com/titima.thumbumrung
72

More Related Content

What's hot

MOOC - OER ... Royal Project in Thailand
MOOC - OER ... Royal Project in ThailandMOOC - OER ... Royal Project in Thailand
MOOC - OER ... Royal Project in ThailandBoonlert Aroonpiboon
 
Technology for National Document Preservation
Technology for National Document PreservationTechnology for National Document Preservation
Technology for National Document PreservationRachabodin Suwannakanthi
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศcopyinfinity
 
ใบความรู้แผนที่ 2
ใบความรู้แผนที่  2ใบความรู้แผนที่  2
ใบความรู้แผนที่ 2Warakon Phommanee
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเขมิกา กุลาศรี
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้TDew Ko
 

What's hot (20)

20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup
 
The 21st century-online-media
The 21st century-online-mediaThe 21st century-online-media
The 21st century-online-media
 
MOOC - OER ... Royal Project in Thailand
MOOC - OER ... Royal Project in ThailandMOOC - OER ... Royal Project in Thailand
MOOC - OER ... Royal Project in Thailand
 
Technology for National Document Preservation
Technology for National Document PreservationTechnology for National Document Preservation
Technology for National Document Preservation
 
Wat Makutkasattriyaram e-museum
Wat Makutkasattriyaram e-museumWat Makutkasattriyaram e-museum
Wat Makutkasattriyaram e-museum
 
Personal Digital Library Development
Personal Digital Library DevelopmentPersonal Digital Library Development
Personal Digital Library Development
 
Personal Digital Archives Development
Personal Digital Archives DevelopmentPersonal Digital Archives Development
Personal Digital Archives Development
 
Digital Museum
Digital MuseumDigital Museum
Digital Museum
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Digital Standard & Web Policy
Digital Standard & Web PolicyDigital Standard & Web Policy
Digital Standard & Web Policy
 
The 21st Century Library Website
The 21st Century Library Website The 21st Century Library Website
The 21st Century Library Website
 
Open Digital Education
Open Digital EducationOpen Digital Education
Open Digital Education
 
Copyright : Digital Media
Copyright : Digital MediaCopyright : Digital Media
Copyright : Digital Media
 
Social Media for Education
Social Media for EducationSocial Media for Education
Social Media for Education
 
Internet 2000
Internet 2000Internet 2000
Internet 2000
 
Electronic Museum
Electronic MuseumElectronic Museum
Electronic Museum
 
Data Seal ... Comment in Thailand
Data Seal ... Comment in ThailandData Seal ... Comment in Thailand
Data Seal ... Comment in Thailand
 
ใบความรู้แผนที่ 2
ใบความรู้แผนที่  2ใบความรู้แผนที่  2
ใบความรู้แผนที่ 2
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 

Similar to digital law for GLAM

ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษากับการก้าวเข้าสู่ยุค Thailand 4.0
ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษากับการก้าวเข้าสู่ยุค Thailand 4.0 ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษากับการก้าวเข้าสู่ยุค Thailand 4.0
ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษากับการก้าวเข้าสู่ยุค Thailand 4.0 Maykin Likitboonyalit
 
พิพิธภัณฑ์เสมือน (Virtual Museum)
พิพิธภัณฑ์เสมือน (Virtual Museum)พิพิธภัณฑ์เสมือน (Virtual Museum)
พิพิธภัณฑ์เสมือน (Virtual Museum)Rachabodin Suwannakanthi
 
อินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
อินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้อินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
อินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้guest92cc62
 
ฝ่ายบริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฝ่ายบริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฝ่ายบริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฝ่ายบริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีSatapon Yosakonkun
 
information management training
information management traininginformation management training
information management trainingsomying yamyim
 
Open Source Software เพื่อการศึกษา
Open Source Software เพื่อการศึกษาOpen Source Software เพื่อการศึกษา
Open Source Software เพื่อการศึกษาBoonlert Aroonpiboon
 
Digital Content and Website Standard
Digital Content and Website StandardDigital Content and Website Standard
Digital Content and Website StandardBoonlert Aroonpiboon
 
การวางแผน การดำเนินงาน และเทคโนโลยีที่ใช้ในงานสารสนเทศดิจิทัล
การวางแผน การดำเนินงาน และเทคโนโลยีที่ใช้ในงานสารสนเทศดิจิทัลการวางแผน การดำเนินงาน และเทคโนโลยีที่ใช้ในงานสารสนเทศดิจิทัล
การวางแผน การดำเนินงาน และเทคโนโลยีที่ใช้ในงานสารสนเทศดิจิทัลRachabodin Suwannakanthi
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1commyzaza
 

Similar to digital law for GLAM (20)

STKS Handbook
STKS HandbookSTKS Handbook
STKS Handbook
 
One Stop Search
One Stop SearchOne Stop Search
One Stop Search
 
Cybertools for Research : One Search
Cybertools for Research : One SearchCybertools for Research : One Search
Cybertools for Research : One Search
 
Digital Museum
Digital MuseumDigital Museum
Digital Museum
 
ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษากับการก้าวเข้าสู่ยุค Thailand 4.0
ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษากับการก้าวเข้าสู่ยุค Thailand 4.0 ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษากับการก้าวเข้าสู่ยุค Thailand 4.0
ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษากับการก้าวเข้าสู่ยุค Thailand 4.0
 
Technology For Museum
Technology For MuseumTechnology For Museum
Technology For Museum
 
Archives and Museum in Digital Age
Archives and Museum in Digital AgeArchives and Museum in Digital Age
Archives and Museum in Digital Age
 
พิพิธภัณฑ์เสมือน (Virtual Museum)
พิพิธภัณฑ์เสมือน (Virtual Museum)พิพิธภัณฑ์เสมือน (Virtual Museum)
พิพิธภัณฑ์เสมือน (Virtual Museum)
 
STKS Brochure
STKS BrochureSTKS Brochure
STKS Brochure
 
Wiki for Knowledge Sharing
Wiki for Knowledge SharingWiki for Knowledge Sharing
Wiki for Knowledge Sharing
 
อินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
อินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้อินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
อินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
 
Microsoft Word : Advanced
Microsoft Word : AdvancedMicrosoft Word : Advanced
Microsoft Word : Advanced
 
ฝ่ายบริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฝ่ายบริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฝ่ายบริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฝ่ายบริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
information management training
information management traininginformation management training
information management training
 
Open Source Software เพื่อการศึกษา
Open Source Software เพื่อการศึกษาOpen Source Software เพื่อการศึกษา
Open Source Software เพื่อการศึกษา
 
Digital Content and Website Standard
Digital Content and Website StandardDigital Content and Website Standard
Digital Content and Website Standard
 
Digital Collection ... Guideline
Digital Collection ... GuidelineDigital Collection ... Guideline
Digital Collection ... Guideline
 
การวางแผน การดำเนินงาน และเทคโนโลยีที่ใช้ในงานสารสนเทศดิจิทัล
การวางแผน การดำเนินงาน และเทคโนโลยีที่ใช้ในงานสารสนเทศดิจิทัลการวางแผน การดำเนินงาน และเทคโนโลยีที่ใช้ในงานสารสนเทศดิจิทัล
การวางแผน การดำเนินงาน และเทคโนโลยีที่ใช้ในงานสารสนเทศดิจิทัล
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 

More from Boonlert Aroonpiboon

More from Boonlert Aroonpiboon (17)

Excel quiz
Excel quizExcel quiz
Excel quiz
 
Scival for Research Performance
Scival for Research PerformanceScival for Research Performance
Scival for Research Performance
 
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-420190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
 
OER KKU Library
OER KKU LibraryOER KKU Library
OER KKU Library
 
OER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success StoryOER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success Story
 
RLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOCRLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOC
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
 
201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup
 
201403 etda-library
201403 etda-library201403 etda-library
201403 etda-library
 
Data in Digital Era
Data in Digital EraData in Digital Era
Data in Digital Era
 
20170213 digital-archives
20170213 digital-archives20170213 digital-archives
20170213 digital-archives
 
Digital Economy Plan of Thailand : Slide
Digital Economy Plan of Thailand : SlideDigital Economy Plan of Thailand : Slide
Digital Economy Plan of Thailand : Slide
 
Digital Economy Plan of Thailand
Digital Economy Plan of ThailandDigital Economy Plan of Thailand
Digital Economy Plan of Thailand
 
Digital Thailand pocket book TH version
Digital Thailand pocket book TH versionDigital Thailand pocket book TH version
Digital Thailand pocket book TH version
 
Digital Economy Plan of Thailand
Digital Economy Plan of ThailandDigital Economy Plan of Thailand
Digital Economy Plan of Thailand
 
วารสารรถไฟสัมพันธ์
วารสารรถไฟสัมพันธ์วารสารรถไฟสัมพันธ์
วารสารรถไฟสัมพันธ์
 

digital law for GLAM