SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
การบริหารงานภาครัฐกับการสร้างธรรมาภิบาล โดย รองศาสตราจารย์วุฒิสาร  ตันไชย รองเลขาธิการสถาบันพระปกเกล้า
แนวการบรรยาย แนวคิดและองค์ประกอบของธรรมาภิบาล ทศพิธราชธรรม : ธรรมสำหรับผู้บริหาร หลักราชการ : หนทางสู่ความสำเร็จ การยึดมั่นในสิ่งที่ถูกต้อง ชอบธรรม (INTEGRITY) การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ซักถาม - แลกเปลี่ยน
องค์ประกอบของธรรมาภิบาล 1. เป้าหมายของการบริหารจัดการ 2. โครงสร้างและกระบวนการบริหารจัดการ 3. สภาพแวดล้อมของการบริหารจัดการ
ความสมดุลและเป็นธรรม, ความสุจริต, ความมีประสิทธิภาพ/ผล เป้าหมาย -การมีความรับผิดชอบ -การตอบสนองต่อความต้องการ -ความโปร่งใส -การมีส่วนร่วม โครงสร้างและวิธีการ ธรรมาภิบาล สภาพแวดล้อม -กฎหมาย , ระเบียบ -ประมวลจริยธรรม -ประมวลการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ -วัฒนธรรม
เป้าหมายของธรรมาภิบาล มีความเป็นธรรม (equity): การจัดสรรทรัพยากรเป็นไปอย่างสมดุลแก่คนทุกกลุ่ม มีความสุจริตไม่ผิดไปจากความถูกต้อง (integrity) มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล(efficiency & effectiveness)
โครงสร้างและวิธีการ มีความรับผิดชอบ (accountability) การตอบสนองความต้องการ (responsiveness) มีความโปร่งใส (transparency) มีส่วนร่วมที่เหมาะสม (participation)
สภาพแวดล้อม กฎหมาย ระเบียบ (Laws & Regulations)  จริยธรรม (Ethics) การปฏิบัติที่เป็นเลิศ  (Best Practices) วัฒนธรรม (Culture)
ทศพิธราชธรรม  : ธรรมะสำหรับผู้บริหาร 9 รองศาสตราจารย์วุฒิสาร ตันไชย
ทศพิธราชธรรม : ธรรมะสำหรับผู้บริหาร การให้ความรัก การสละทรัพย์ การให้ความคิด พลังสร้างสรรค์ การให้สิทธิและเสรีภาพอย่างเท่าเทียม ทานัง ศีลัง ปริจาคัง อาชชะวัง มัททะวัง ตะปัง อักโกธะ อะวีหิสัญจะ ขันติญจะ อะวิโรธะนัง การไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น การทำตนให้ปกติ (ไม่โหดร้าย – ไม่มือไว – ไม่ใจเร็ว – ไม่ขี้ปด – และไม่หมดสติ) การเสียสละความสุขส่วนตน  เพื่อรักษาประโยชน์ส่วนใหญ่ การเสียสละทรัพย์เพื่อรักษาอวัยวะ การเสียสละอวัยวะเพื่อรักษาชีวิต และการเสียสละชีวิตเพื่อรักษาความเป็นธรรม การซื่อตรงต่อหน้าที่การปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์  และสุจริตมีความจริงใจ 10 รองศาสตราจารย์วุฒิสาร ตันไชย
ทศพิธราชธรรม : ธรรมะสำหรับผู้บริหาร ทานัง ศีลัง ปริจาคัง อาชชะวัง มัททะวัง ตะปัง อักโกธะ อะวีหิสัญจะ ขันติญจะ อะวิโรธะนัง การมีความอ่อนโยนทั้งต่อผู้สูงกว่า เสมอกัน และต่ำกว่า และการเคารพในเหตุผลที่ควร มีสัมมาคารวะ การมีความอ่อนโยนทั้งต่อผู้สูงกว่า เสมอกัน และต่ำกว่า และการเคารพในเหตุผลที่ควร มีสัมมาคารวะ การไม่พยายามมุ่งร้ายผู้อื่น  และหากจะลงโทษผู้ทำผิดก็ให้ทำด้วยเหตุผล 11 รองศาสตราจารย์วุฒิสาร ตันไชย
ทศพิธราชธรรม : ธรรมะสำหรับผู้บริหาร ทานัง ศีลัง ปริจาคัง อาชชะวัง มัททะวัง ตะปัง อักโกธะ อะวีหิสัญจะ ขันติญจะ อะวิโรธะนัง การไม่เบียดเบียนซึ่งกันและกันต่างคนต่างก็ทำหน้าที่ของตน  ไม่ผูกขาดในตำแหน่งหน้าที่การงาน และเปิดโอกาสให้ผู้อื่นที่มีความสามารถ ความอดทน  อดกลั้นต่อความลำบาก  อดทนต่อดินฟ้าอากาศ อดทน อดกลั้นต่อผู้ร่วมงานเพื่อรักษาสัมพันธภาพและมิตรภาพเอาไว้ และเพื่อการปฏิบัติร่วมกันจะได้ราบรื่น การไม่ประพฤติผิดทำนองคลองธรรม ไม่ผิดต่อจารีตประเพณี และกฎหมาย  12 รองศาสตราจารย์วุฒิสาร ตันไชย
หลักราชการ จาก หนังสือหลักราชการ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชนิพนธ์
หนทางไปสู่ความสำเร็จ ประกอบด้วย คุณวิเศษ 10 ประการ
1. ความสามารถ เป็นสิ่งมิได้อยู่ในตำราอันใดและจะสอนให้แก่กันก็หาได้มาไม่… หรืออาจแปลได้ว่าทำการงานให้เป็นผลสำเร็จได้ดีกว่าผู้ที่มีโอกาสเท่าๆกัน… ความสามารถเป็นสิ่งซึ่งต้องการสำหรับคนที่จะใช้เป็นผู้บังคับบัญชาคน…ซึ่งจะดูความสามารถมากกว่าดูภูมิวิชา…ความสามารถจึงเป็นลักษณะหนึ่งของผู้บังคับบัญชาคน…
2. ความเพียร 		คำว่า "เพียร" แปลว่า "กล้าหาญไม่ย่อท้อต่อความยากและบากบั่น เพื่อจะข้ามความขัดข้องให้จงได้ โดยใช้ความอุตสาหะวิริยะภาพ มิให้ลดหย่อน" ผู้ที่ตีราคาว่าเป็นคนมีวิชามักจะลืมคำนึงข้อนี้ จึงไม่เข้าใจว่า เหตุใดผู้มีวิชาน้อยกว่าตน จึงกลับได้ดีมากกว่า
3. ความมีไหวพริบ รู้จักสังเกตเห็นโดยไม่ต้องมีใครเตือนว่า  เมื่อมีเหตุเช่นนั้นจะต้องปฏิบัติการอย่างนั้น เพื่อให้บังเกิดผลดีที่สุดแก่กิจการทั่วไป และรีบทำการอันเห็นควรนั้นโดยฉับพลัน
4. ความรู้เท่าถึงการ รู้จักปฏิบัติกิจการให้เหมาะด้วยประการทั้งปวง คือการเลือกว่าจะปฏิบัติอย่างไรจึงจะเหมาะสมแก่เวลาและให้สมเหตุสมผลจึงเป็นประโยชน์สูงสุด
5. ความซื่อตรงต่อน่าที่ 		ตั้งใจกระทำกิจการซึ่งได้รับมอบนั้น โดยซื่อสัตย์สุจริต ใช้ความอุตสาหะวิริยะเต็มสติกำลังของตน ด้วยความมุ่งหมายให้กิจการนั้นๆ บรรลุซึ่งความสำเร็จและงดงามที่สุดที่จะพึงมีหนทางจะทำได้
6. ความซื่อตรงต่อคนทั่วไป 		ความประพฤติซื่อตรงต่อคนทั่วไป รักษาตนให้เป็นคนควรที่เขาทั้งหลายจะเชื่อถือได้ โดยรักษาวาจาสัตย์ไม่ยกตนข่มท่าน ตอบแทนผู้มีไมตรีโดยสม่ำเสมอ
7. ความรู้จักนิสัยคน 		ผู้ที่รู้จักอ่อนน้อม ทำตัวให้เป็นที่รักใคร่และเมตตาแห่งผู้ใหญ่ เข้าใจว่ามนุษย์ทุกคนต่างก็มีความแตกต่าง
8. ความรู้จักผ่อนผัน ต้องเป็นผู้ที่รู้จักผ่อนสั้นผ่อนยาวว่า  เมื่อใดควรตัดขาดและเมื่อใดควรอ่อนหรือผ่อนผันกันได้  มิใช่แต่จะยึดถือหลักเกณฑ์หรือระเบียบอย่างเดียว    ซึ่งจะก่อให้เกิดผลเสียควรจะยืดหยุ่นได้
9. ความมีหลักฐาน 	เครื่องช่วยบุคคลให้ได้รับตำแหน่งหน้าที่อันมีความรับผิดชอบ ได้แก่ การมีบ้าน เป็นสำนักมั่นคงเป็นหลักแหล่ง การมีครอบครัวอันมั่นคง และการตั้งตนไว้ในที่ชอบละเว้นอบายมุข โดยทุกคนก็สามารถมีโอกาสเท่า ๆ กันที่จะสร้างความมีหลักฐานได้
10. ความจงรักภักดี ยอมเสียสละตนเพื่อประโยชน์แห่งชาติ  ศาสนา  และพระมหากษัตริย์
การยึดมั่นในสิ่งที่ถูกต้องชอบธรรม (INTEGRITY)
INTEGRITY STRENGTH  AND FIRMNESS OF CHARACTER  UNCOMPROMISING ADHERENCE TO A CODE OF MORAL VALUES MORAL UPRIGHTNESS
INTEGRITY  มาจากรากศัพท์ว่า “INTEGER”  แปลว่า “ความครบถ้วนสมบูรณ์ , ความเป็นจำนวนเต็ม” คนที่จะเป็นคนเต็มคน ต้องมี “INTEGRITY” เป็นคุณธรรมประจำตัว
INTEGRITY  มีความหมายใกล้เคียงกับคำว่า “อวิโรธนัง”  ซึ่งหมายถึง ความไม่คลาดจากธรรม
โดยมีคติธรรม 12 ประการ ดังนี้ สัจจะ พูดความจริง(TRUTH) ความซื่อสัตย์สุจริต (HONESTY) ความระลึกในหน้าที่ (SENSE OF DUTY) ความอดกลั้น (PATIENCE) ความเป็นธรรม (FAIR  PLAY) ความเอาใจเขามาใส่ใจเรา (CONSIDERATION FOR OTHERS) เมตตาธรรม (KINDNESS)
ความกตัญญูกตเวที  (GRATITUDE) ความสุภาพนุ่มนวล  (POLITENESS) ความคารวะต่อผู้อาวุโส  (RESPECT FOR ELDERS) รักษาคำพูด  (PROMISE) จิตสำนึกสาธารณะ เสียสละเพื่อส่วนรวม  (PUBLIC CONSCIENCE)
หลักปฏิบัติ ดังนี้ พินิจพิเคราะห์แยกแยะว่าสิ่งใดเป็นสิ่งที่ถูกต้อง หรือสิ่งใดเป็นสิ่งที่ผิด ให้กระจ่างชัด (DISCERNING WHAT IS RIGHT AND WHAT IS WRONG) ปฏิบัติตามสิ่งที่ตนเชื่อว่าถูกต้องอย่างเคร่งครัด แม้จะทำตนลำบากหรือเสียผลประโยชน์ก็ตาม (ACTING ON WHAT YOU HAVE DISCER,EVEN AT PERSONAL COST) ประกาศให้ผู้อื่นได้ทราบโดยทั่วกันว่าตนได้ปฏิบัติไปเช่นนั้น โดยได้พินิจพิเคราะห์แยกแยะว่าเป็นสิ่งที่ถูกต้องแล้ว (SAYING OPENLY THAT YOU ARE ACTING ON YOUR UNDERSTANDING OF RIGHT FROM WRONG)
คอรัปชั่นเชิงนโยบาย 	คือ  การที่ผู้มีอำนาจและหน้าที่กำหนดนโยบายได้ใช้อำนาจหน้าที่ของตนเอื้อประโยชน์แก่ตนเองและพวกพ้อง โดยวิธีการกำหนดนโยบายที่มีจุดมุ่งหมายซ่อนเร้นที่จะแสวงหาผลประโยชน์จากนโยบายดังกล่าว และมอบหมายให้ฝ่ายประจำไปดำเนินการจัดทำโครงการเสนอขึ้นมาเพื่ออนุมัติ การคอรัปชั่นเชิงนโยบายจึงเป็นรูปแบบใหม่ของคอรัปชั่นที่มีจุดเริ่มต้นมาจากผู้กำหนดนโยบายโดยได้รับความร่วมมือ หรือตกอยู่ในสภาวะจำยอมจากฝ่ายประจำในการจัดทำโครงการให้เป็นไปตามนโยบาย และเป็นการคอรัปชั่นที่อาศัยความชอบธรรมทางกฎหมายเป็นเครื่องบังหน้าในการแสวงหาผลประโยชน์ส่วนตัว
คอรัปชั่น ?? ผาสุก พงศ์ไพจิตร (2546 : 161-162) แยกประเภทของคอรัปชั่นออกเป็น 2 ประเภท 	 	ประเภทแรก คือ ภาษีคอร์รัปชั่น ซึ่งนักการเมืองและข้าราชการเก็บจากพ่อค้า นักธุรกิจ และประชาชน ในรูปของค่าคอมมิชชั่น และส่วยต่างๆ  	ประเภทที่สอง เป็นการคอร์รัปชั่นที่เกิดจากการทับซ้อนของผลประโยชน์ หรือการขัดกันระหว่างผลประโยชน์สาธารณะและผลประโยชน์ส่วนบุคคล (Conflict of Interest) เช่น รายได้ซึ่งนักการเมืองและพรรคพวกเพื่อนพ้อง ได้รับจากการตั้งราคาสินค้า หรือบริการซึ่งพวกเขาทำการผลิตอยู่ในราคาสูง เนื่องจากเป็นธุรกิจผูกขาดหรือกึ่งผูกขาด  เช่น บริษัท ก. ได้สัมปทานจากรัฐทำธุรกิจโทรศัพท์มือถือ และรัฐให้สัมปทานบริษัทไม่กี่แห่งให้ทำธุรกิจนี้ ดังนั้น บริษัท ก. จึงสามารถคิดค่าบริการเป็นรายเดือน (retaining fees) นอกเหนือจากค่าใช้โทรศัพท์จริงๆ ในอัตราสูงกว่าที่เก็บกันในประเทศอื่นๆ ซึ่งหมายความว่า บริษัท ก. สามารถทำกำไรได้มากจนเจ้าของบริษัทเขยิบฐานะเป็นมหาเศรษฐีหมื่นล้านได้ในเวลาประมาณ 5 ปี
"..The strongest deterrent (against corruption) is in a public opinion which censures  and condemns corrupt persons; in other words, in attitudes which make corruption so unacceptable  that the stigma of corruption cannot be washed away by serving a prison sentence...."  Lee Kuan Yew  (Singapore Parliament, 1987)  พลังสำคัญที่จะหยุดยั้งคนที่จะคอร์รัปชัน ได้ผลที่สุด  คือทัศนคติของสังคมที่จะ ร่วมกันประณามและไม่ยอมรับคนโกงใดๆ การลงโทษคนคอร์รัปชันจับเข้าคุกเท่านั้น ไม่พอเพียงกับโทษที่เขากระทำต่อสังคม
ซักถาม – แลกเปลี่ยน

More Related Content

Similar to วุฒิสาร ตันไชย - การบริหารงานภาครัฐกับการสร้างธรรมาภิบาล

นำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขตนำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขตjd18122505
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจกTaraya Srivilas
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)Mickey Toon Luffy
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทpentanino
 
Kamjorn tuntaned
Kamjorn tuntanedKamjorn tuntaned
Kamjorn tuntanedKamjornT
 
ข้าราชการใสสะอาด
ข้าราชการใสสะอาดข้าราชการใสสะอาด
ข้าราชการใสสะอาดkeanwoo
 
ธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศน
ธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศนธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศน
ธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศนTaraya Srivilas
 
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 8กค53-กรมการเงินทหารบก
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 8กค53-กรมการเงินทหารบกการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 8กค53-กรมการเงินทหารบก
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 8กค53-กรมการเงินทหารบกLink Standalone
 
บทที่ 10 จริยธรรมในการบริหารธุรกิจ
บทที่ 10 จริยธรรมในการบริหารธุรกิจบทที่ 10 จริยธรรมในการบริหารธุรกิจ
บทที่ 10 จริยธรรมในการบริหารธุรกิจPheerawas Nookate
 
สุขาภิบาล
สุขาภิบาลสุขาภิบาล
สุขาภิบาลenvi777
 
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหารแนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหารguest3d68ee
 

Similar to วุฒิสาร ตันไชย - การบริหารงานภาครัฐกับการสร้างธรรมาภิบาล (20)

นำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขตนำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขต
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
Pp1
Pp1Pp1
Pp1
 
Pp1
Pp1Pp1
Pp1
 
Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)
 
05 ethics
05 ethics05 ethics
05 ethics
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
Kamjorn tuntaned
Kamjorn tuntanedKamjorn tuntaned
Kamjorn tuntaned
 
ข้าราชการใสสะอาด
ข้าราชการใสสะอาดข้าราชการใสสะอาด
ข้าราชการใสสะอาด
 
ธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศน
ธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศนธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศน
ธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศน
 
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 8กค53-กรมการเงินทหารบก
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 8กค53-กรมการเงินทหารบกการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 8กค53-กรมการเงินทหารบก
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 8กค53-กรมการเงินทหารบก
 
บทที่ 10 จริยธรรมในการบริหารธุรกิจ
บทที่ 10 จริยธรรมในการบริหารธุรกิจบทที่ 10 จริยธรรมในการบริหารธุรกิจ
บทที่ 10 จริยธรรมในการบริหารธุรกิจ
 
Pp
PpPp
Pp
 
Pp
PpPp
Pp
 
Organization and Management (OM) overview (ch.1)
Organization and Management (OM) overview (ch.1)Organization and Management (OM) overview (ch.1)
Organization and Management (OM) overview (ch.1)
 
สุขาภิบาล
สุขาภิบาลสุขาภิบาล
สุขาภิบาล
 
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหารแนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
 

วุฒิสาร ตันไชย - การบริหารงานภาครัฐกับการสร้างธรรมาภิบาล

  • 2. แนวการบรรยาย แนวคิดและองค์ประกอบของธรรมาภิบาล ทศพิธราชธรรม : ธรรมสำหรับผู้บริหาร หลักราชการ : หนทางสู่ความสำเร็จ การยึดมั่นในสิ่งที่ถูกต้อง ชอบธรรม (INTEGRITY) การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ซักถาม - แลกเปลี่ยน
  • 3.
  • 4. องค์ประกอบของธรรมาภิบาล 1. เป้าหมายของการบริหารจัดการ 2. โครงสร้างและกระบวนการบริหารจัดการ 3. สภาพแวดล้อมของการบริหารจัดการ
  • 5. ความสมดุลและเป็นธรรม, ความสุจริต, ความมีประสิทธิภาพ/ผล เป้าหมาย -การมีความรับผิดชอบ -การตอบสนองต่อความต้องการ -ความโปร่งใส -การมีส่วนร่วม โครงสร้างและวิธีการ ธรรมาภิบาล สภาพแวดล้อม -กฎหมาย , ระเบียบ -ประมวลจริยธรรม -ประมวลการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ -วัฒนธรรม
  • 6. เป้าหมายของธรรมาภิบาล มีความเป็นธรรม (equity): การจัดสรรทรัพยากรเป็นไปอย่างสมดุลแก่คนทุกกลุ่ม มีความสุจริตไม่ผิดไปจากความถูกต้อง (integrity) มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล(efficiency & effectiveness)
  • 7. โครงสร้างและวิธีการ มีความรับผิดชอบ (accountability) การตอบสนองความต้องการ (responsiveness) มีความโปร่งใส (transparency) มีส่วนร่วมที่เหมาะสม (participation)
  • 8. สภาพแวดล้อม กฎหมาย ระเบียบ (Laws & Regulations) จริยธรรม (Ethics) การปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices) วัฒนธรรม (Culture)
  • 9. ทศพิธราชธรรม : ธรรมะสำหรับผู้บริหาร 9 รองศาสตราจารย์วุฒิสาร ตันไชย
  • 10. ทศพิธราชธรรม : ธรรมะสำหรับผู้บริหาร การให้ความรัก การสละทรัพย์ การให้ความคิด พลังสร้างสรรค์ การให้สิทธิและเสรีภาพอย่างเท่าเทียม ทานัง ศีลัง ปริจาคัง อาชชะวัง มัททะวัง ตะปัง อักโกธะ อะวีหิสัญจะ ขันติญจะ อะวิโรธะนัง การไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น การทำตนให้ปกติ (ไม่โหดร้าย – ไม่มือไว – ไม่ใจเร็ว – ไม่ขี้ปด – และไม่หมดสติ) การเสียสละความสุขส่วนตน เพื่อรักษาประโยชน์ส่วนใหญ่ การเสียสละทรัพย์เพื่อรักษาอวัยวะ การเสียสละอวัยวะเพื่อรักษาชีวิต และการเสียสละชีวิตเพื่อรักษาความเป็นธรรม การซื่อตรงต่อหน้าที่การปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์ และสุจริตมีความจริงใจ 10 รองศาสตราจารย์วุฒิสาร ตันไชย
  • 11. ทศพิธราชธรรม : ธรรมะสำหรับผู้บริหาร ทานัง ศีลัง ปริจาคัง อาชชะวัง มัททะวัง ตะปัง อักโกธะ อะวีหิสัญจะ ขันติญจะ อะวิโรธะนัง การมีความอ่อนโยนทั้งต่อผู้สูงกว่า เสมอกัน และต่ำกว่า และการเคารพในเหตุผลที่ควร มีสัมมาคารวะ การมีความอ่อนโยนทั้งต่อผู้สูงกว่า เสมอกัน และต่ำกว่า และการเคารพในเหตุผลที่ควร มีสัมมาคารวะ การไม่พยายามมุ่งร้ายผู้อื่น และหากจะลงโทษผู้ทำผิดก็ให้ทำด้วยเหตุผล 11 รองศาสตราจารย์วุฒิสาร ตันไชย
  • 12. ทศพิธราชธรรม : ธรรมะสำหรับผู้บริหาร ทานัง ศีลัง ปริจาคัง อาชชะวัง มัททะวัง ตะปัง อักโกธะ อะวีหิสัญจะ ขันติญจะ อะวิโรธะนัง การไม่เบียดเบียนซึ่งกันและกันต่างคนต่างก็ทำหน้าที่ของตน ไม่ผูกขาดในตำแหน่งหน้าที่การงาน และเปิดโอกาสให้ผู้อื่นที่มีความสามารถ ความอดทน อดกลั้นต่อความลำบาก อดทนต่อดินฟ้าอากาศ อดทน อดกลั้นต่อผู้ร่วมงานเพื่อรักษาสัมพันธภาพและมิตรภาพเอาไว้ และเพื่อการปฏิบัติร่วมกันจะได้ราบรื่น การไม่ประพฤติผิดทำนองคลองธรรม ไม่ผิดต่อจารีตประเพณี และกฎหมาย 12 รองศาสตราจารย์วุฒิสาร ตันไชย
  • 13. หลักราชการ จาก หนังสือหลักราชการ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชนิพนธ์
  • 15. 1. ความสามารถ เป็นสิ่งมิได้อยู่ในตำราอันใดและจะสอนให้แก่กันก็หาได้มาไม่… หรืออาจแปลได้ว่าทำการงานให้เป็นผลสำเร็จได้ดีกว่าผู้ที่มีโอกาสเท่าๆกัน… ความสามารถเป็นสิ่งซึ่งต้องการสำหรับคนที่จะใช้เป็นผู้บังคับบัญชาคน…ซึ่งจะดูความสามารถมากกว่าดูภูมิวิชา…ความสามารถจึงเป็นลักษณะหนึ่งของผู้บังคับบัญชาคน…
  • 16. 2. ความเพียร คำว่า "เพียร" แปลว่า "กล้าหาญไม่ย่อท้อต่อความยากและบากบั่น เพื่อจะข้ามความขัดข้องให้จงได้ โดยใช้ความอุตสาหะวิริยะภาพ มิให้ลดหย่อน" ผู้ที่ตีราคาว่าเป็นคนมีวิชามักจะลืมคำนึงข้อนี้ จึงไม่เข้าใจว่า เหตุใดผู้มีวิชาน้อยกว่าตน จึงกลับได้ดีมากกว่า
  • 17. 3. ความมีไหวพริบ รู้จักสังเกตเห็นโดยไม่ต้องมีใครเตือนว่า เมื่อมีเหตุเช่นนั้นจะต้องปฏิบัติการอย่างนั้น เพื่อให้บังเกิดผลดีที่สุดแก่กิจการทั่วไป และรีบทำการอันเห็นควรนั้นโดยฉับพลัน
  • 18. 4. ความรู้เท่าถึงการ รู้จักปฏิบัติกิจการให้เหมาะด้วยประการทั้งปวง คือการเลือกว่าจะปฏิบัติอย่างไรจึงจะเหมาะสมแก่เวลาและให้สมเหตุสมผลจึงเป็นประโยชน์สูงสุด
  • 19. 5. ความซื่อตรงต่อน่าที่ ตั้งใจกระทำกิจการซึ่งได้รับมอบนั้น โดยซื่อสัตย์สุจริต ใช้ความอุตสาหะวิริยะเต็มสติกำลังของตน ด้วยความมุ่งหมายให้กิจการนั้นๆ บรรลุซึ่งความสำเร็จและงดงามที่สุดที่จะพึงมีหนทางจะทำได้
  • 20. 6. ความซื่อตรงต่อคนทั่วไป ความประพฤติซื่อตรงต่อคนทั่วไป รักษาตนให้เป็นคนควรที่เขาทั้งหลายจะเชื่อถือได้ โดยรักษาวาจาสัตย์ไม่ยกตนข่มท่าน ตอบแทนผู้มีไมตรีโดยสม่ำเสมอ
  • 21. 7. ความรู้จักนิสัยคน ผู้ที่รู้จักอ่อนน้อม ทำตัวให้เป็นที่รักใคร่และเมตตาแห่งผู้ใหญ่ เข้าใจว่ามนุษย์ทุกคนต่างก็มีความแตกต่าง
  • 22. 8. ความรู้จักผ่อนผัน ต้องเป็นผู้ที่รู้จักผ่อนสั้นผ่อนยาวว่า เมื่อใดควรตัดขาดและเมื่อใดควรอ่อนหรือผ่อนผันกันได้ มิใช่แต่จะยึดถือหลักเกณฑ์หรือระเบียบอย่างเดียว ซึ่งจะก่อให้เกิดผลเสียควรจะยืดหยุ่นได้
  • 23. 9. ความมีหลักฐาน เครื่องช่วยบุคคลให้ได้รับตำแหน่งหน้าที่อันมีความรับผิดชอบ ได้แก่ การมีบ้าน เป็นสำนักมั่นคงเป็นหลักแหล่ง การมีครอบครัวอันมั่นคง และการตั้งตนไว้ในที่ชอบละเว้นอบายมุข โดยทุกคนก็สามารถมีโอกาสเท่า ๆ กันที่จะสร้างความมีหลักฐานได้
  • 26. INTEGRITY STRENGTH AND FIRMNESS OF CHARACTER UNCOMPROMISING ADHERENCE TO A CODE OF MORAL VALUES MORAL UPRIGHTNESS
  • 27. INTEGRITY มาจากรากศัพท์ว่า “INTEGER” แปลว่า “ความครบถ้วนสมบูรณ์ , ความเป็นจำนวนเต็ม” คนที่จะเป็นคนเต็มคน ต้องมี “INTEGRITY” เป็นคุณธรรมประจำตัว
  • 28. INTEGRITY มีความหมายใกล้เคียงกับคำว่า “อวิโรธนัง” ซึ่งหมายถึง ความไม่คลาดจากธรรม
  • 29. โดยมีคติธรรม 12 ประการ ดังนี้ สัจจะ พูดความจริง(TRUTH) ความซื่อสัตย์สุจริต (HONESTY) ความระลึกในหน้าที่ (SENSE OF DUTY) ความอดกลั้น (PATIENCE) ความเป็นธรรม (FAIR PLAY) ความเอาใจเขามาใส่ใจเรา (CONSIDERATION FOR OTHERS) เมตตาธรรม (KINDNESS)
  • 30. ความกตัญญูกตเวที (GRATITUDE) ความสุภาพนุ่มนวล (POLITENESS) ความคารวะต่อผู้อาวุโส (RESPECT FOR ELDERS) รักษาคำพูด (PROMISE) จิตสำนึกสาธารณะ เสียสละเพื่อส่วนรวม (PUBLIC CONSCIENCE)
  • 31. หลักปฏิบัติ ดังนี้ พินิจพิเคราะห์แยกแยะว่าสิ่งใดเป็นสิ่งที่ถูกต้อง หรือสิ่งใดเป็นสิ่งที่ผิด ให้กระจ่างชัด (DISCERNING WHAT IS RIGHT AND WHAT IS WRONG) ปฏิบัติตามสิ่งที่ตนเชื่อว่าถูกต้องอย่างเคร่งครัด แม้จะทำตนลำบากหรือเสียผลประโยชน์ก็ตาม (ACTING ON WHAT YOU HAVE DISCER,EVEN AT PERSONAL COST) ประกาศให้ผู้อื่นได้ทราบโดยทั่วกันว่าตนได้ปฏิบัติไปเช่นนั้น โดยได้พินิจพิเคราะห์แยกแยะว่าเป็นสิ่งที่ถูกต้องแล้ว (SAYING OPENLY THAT YOU ARE ACTING ON YOUR UNDERSTANDING OF RIGHT FROM WRONG)
  • 32. คอรัปชั่นเชิงนโยบาย คือ การที่ผู้มีอำนาจและหน้าที่กำหนดนโยบายได้ใช้อำนาจหน้าที่ของตนเอื้อประโยชน์แก่ตนเองและพวกพ้อง โดยวิธีการกำหนดนโยบายที่มีจุดมุ่งหมายซ่อนเร้นที่จะแสวงหาผลประโยชน์จากนโยบายดังกล่าว และมอบหมายให้ฝ่ายประจำไปดำเนินการจัดทำโครงการเสนอขึ้นมาเพื่ออนุมัติ การคอรัปชั่นเชิงนโยบายจึงเป็นรูปแบบใหม่ของคอรัปชั่นที่มีจุดเริ่มต้นมาจากผู้กำหนดนโยบายโดยได้รับความร่วมมือ หรือตกอยู่ในสภาวะจำยอมจากฝ่ายประจำในการจัดทำโครงการให้เป็นไปตามนโยบาย และเป็นการคอรัปชั่นที่อาศัยความชอบธรรมทางกฎหมายเป็นเครื่องบังหน้าในการแสวงหาผลประโยชน์ส่วนตัว
  • 33. คอรัปชั่น ?? ผาสุก พงศ์ไพจิตร (2546 : 161-162) แยกประเภทของคอรัปชั่นออกเป็น 2 ประเภท ประเภทแรก คือ ภาษีคอร์รัปชั่น ซึ่งนักการเมืองและข้าราชการเก็บจากพ่อค้า นักธุรกิจ และประชาชน ในรูปของค่าคอมมิชชั่น และส่วยต่างๆ ประเภทที่สอง เป็นการคอร์รัปชั่นที่เกิดจากการทับซ้อนของผลประโยชน์ หรือการขัดกันระหว่างผลประโยชน์สาธารณะและผลประโยชน์ส่วนบุคคล (Conflict of Interest) เช่น รายได้ซึ่งนักการเมืองและพรรคพวกเพื่อนพ้อง ได้รับจากการตั้งราคาสินค้า หรือบริการซึ่งพวกเขาทำการผลิตอยู่ในราคาสูง เนื่องจากเป็นธุรกิจผูกขาดหรือกึ่งผูกขาด เช่น บริษัท ก. ได้สัมปทานจากรัฐทำธุรกิจโทรศัพท์มือถือ และรัฐให้สัมปทานบริษัทไม่กี่แห่งให้ทำธุรกิจนี้ ดังนั้น บริษัท ก. จึงสามารถคิดค่าบริการเป็นรายเดือน (retaining fees) นอกเหนือจากค่าใช้โทรศัพท์จริงๆ ในอัตราสูงกว่าที่เก็บกันในประเทศอื่นๆ ซึ่งหมายความว่า บริษัท ก. สามารถทำกำไรได้มากจนเจ้าของบริษัทเขยิบฐานะเป็นมหาเศรษฐีหมื่นล้านได้ในเวลาประมาณ 5 ปี
  • 34.
  • 35. "..The strongest deterrent (against corruption) is in a public opinion which censures and condemns corrupt persons; in other words, in attitudes which make corruption so unacceptable that the stigma of corruption cannot be washed away by serving a prison sentence...." Lee Kuan Yew (Singapore Parliament, 1987) พลังสำคัญที่จะหยุดยั้งคนที่จะคอร์รัปชัน ได้ผลที่สุด คือทัศนคติของสังคมที่จะ ร่วมกันประณามและไม่ยอมรับคนโกงใดๆ การลงโทษคนคอร์รัปชันจับเข้าคุกเท่านั้น ไม่พอเพียงกับโทษที่เขากระทำต่อสังคม