SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
ก ร ณี ศึ ก ษ า - ค ว า ม เ ป็ น ม า - แ ล ะ ค ว า ม น่ า จ ะ เ ป็ น ไ ป
ป่าในเมือง+เชียงใหม่
อ . ว ร ง ค์ ว ง ศ์ ลั ง ก า ส า ข า วิ ช า ภู มิ ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม ค ณ ะ ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม ศ า ส ต ร์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่ w a r o n g . w @ c m u . a c . t h
ป่าในเมือง
U r b a n f o r e s t r y ถู ก น ำ ม า ใช้ ค รั้ ง แร ก โ ด ย รั ฐ บา ล ส ห รั ฐ ใ น ปี 1 9 7 8
ป่ า ใ น เมื อ ง ห ม า ย ร ว ม ถึ ง ต้ น ไ ม้ แ ล ะ พื ช พ ร ร ณ ที่ เกิ ด ขึ้ น ทั้ ง เดี่ ย ว ๆ แ ล ะ เป็ น ก ลุ่ ม ใ น พื้ น ที่ เมื อ ง
เพื่ อ จุ ด ปร ะ ส ง ค์ ใ น ก า ร ปรั บปรุ ง ส ภ า พ แว ด ล้ อ ม ขอ ง เมื อ ง
ปั จ จุ บั น ป่ า ใ น เมื อ ง ถู ก จั ด เป็ น ส่ ว น ปร ะ ก อ บพื้ น ฐ า น ที่ ส ำ คั ญ ขอ ง เมื อ ง
ป่าในเมืองคืออะไร?
ป่าในเมือง (urban forest) เป็นองค์ประกอบ ที6ว่าด้วยการ
จัดการต้นไม้ในเมืองทั?งแบบมีการวางแผนอย่างเป็นระบบ การบูรณา
การศาสตร์ต่างๆ ของการจัดการต้นไม้ในเขตเมืองที6คํานึงถึง
คุณลักษณะพื?นฐาน ปัจจัยด้านสังคม คุณภาพชีวิตของประชาชนที6
อาศัยในเขตเมือง ผ่านการมีส่วนร่วมของประชาชนที6อยู่อาศัย
[Carter, 1995] โดยการจัดการดังกล่าวเกี6ยวข้องกับพื?นที6ที6มี
ต้นไม้ทั?งต้นไม้เดี6ยว กลุ่มของต้นไม้ หรือ ต้นไม้ที6อยู่ในอาณาบริเวณที6
ประชากรอาศัยอยู่ในความหนาแน่นระดับหนึ6ง ครอบคลุมถึงอาณา
บริเวณของถนน สวนสาธารณะ และบริเวณแยกต่างๆ ที6มีการจัดการ
ต้นไม้ นอกจากนั?นการจัดการป่าไม้ในเขตเมืองยังครอบคลุมถึงเรื6อง
ประโยชน์ของต้นไม้ในแง่มุมต่างๆ และปัญหาที6เกี6ยวข้องกับต้นไม้
เหล่านั?น จุดมุ่งหมายหลักของการป่าไม้ในเมือง คือ การปรับปรุง
สุขภาพของต้นไม้ให้มีความแข็งแรง และเพิ6มคุณค่าของต้นไม้และ
บริเวณโดยรอบเขตเมืองนั6นเอง
ถนน Rua de Carvalho Goncalo ในประเทศบราซิล
ป่าในเมืองกับสุขภาพ
มีงานวิจัยหลายงานในสาย Healthy city ที0ศึกษาประโยชน์ของ
ต้นไม้ในมิติต่าง ๆ เช่น ต้นไม้ริมถนนในเมืองทําให้การเกิดอาชญากรรม
น้อยลง พิกัด ที0ตัJงบ้านของเราเป็นตัวกําหนดอายุขัยของคนที0อยู่อาศัย
ได้ถึงขนาดว่าบ้านเราอยู่รหัสไปรษณีย์ห่างกันอายุของคนย่านในอาจ
ต่างกันเป็นสิบปีเลยก็ได้ สิ0งเหล่านีJล้วนเป็นโดยตรงจากสภาพแวดล้อม
ที0ส่งผลต่อสุขภาพ ต้นไม้ที0ตายเพราะถูกแมลงระบาด ในช่วงสิบปีนัJนมี
คนเสียชีวิตด้วยโรคหายใจและโรคทางเดินหายใจเหล่านีJสะท้อนว่าเมื0อ
พืJนที0สีเขียวลดลง คนก็ตายไปด้วย เราอาจไม่เห็นในทันทีแต่เมื0อเวลา
ยาวนานขึJนผลดังกล่าวก็ยิ0งเกิดขึJน
เราจึงสนใจว่าจะทําอย่างไรให้เกิดการปลูกต้นไม้ใหญ่ในเมือง แล้วเราก็
พบว่าคนในเมืองนัJนมีหลายกลุ่ม คนส่วนมากไม่มีได้ชีวิตสะดวกสบาย
ไม่ได้มีเวลาว่างที0จะมาใส่ใจกับพืJนที0สีเขียวในเมือง แต่หากเราพูดถึง
พืJนที0สีเขียวในอีกมิติหนึ0งว่ามันมีผลต่อสุขภาพของเรา เราอาจไม่เห็น
มูลค่าของมันอย่างเป็นรูปธรรมในตอนแรก แต่เราจะเห็นว่าเมื0อเรา
เจ็บป่วยเราต้องเสียเงิน ดังนัJน การมีพืJนที0สีเขียวก็จะช่วยลดความเสี0ยง
ที0เราต้องเสียเงินลงไปได้ ก็จะทําให้คนเห็นความสําคัญของพืJนที0สีเขียว
ในเมืองมากขึJน เพราะต้นไม้ไม่ได้มีผลทัJงสุขภาพทางกาย (Physical
Health) เท่านัJนยังมีผลต่อสุขภาพจิต (Mental health) ความ
เบิกบาน ความมั0นคงทางจิตวิญญาณของผู้อยู่อาศัยด้วย ยกตัวอย่าง
เช่นงานวิจัยที0มีการศึกษาการฟืJนตัวของผู้ป่วยที0พักในห้องที0มองเห็น
ทิวทัศน์ต้นไม้ สนามหญ้า เปรียบเทียบกับผู้ป่วยที0พักในห้องทิวทัศน์ปิด
มองเห็นกําแพง ตึกไม่เห็นต้นไม้ พบว่าผู้ป่วยที0มองเห็นพืJนที0สีเขียวจะ
ฟืJนตัวเร็วกว่าผู้ป่วยที0มองออกไปแล้วเห็นตึกกําแพง
เมืองที(ถูกออกแบบโดยคํานึงถึงพื7นที(สีเขียวมักมีลักษณะอย่างไรบ้าง
พื#นที'ดินจะถูกประเมินมูลค่าตามประโยชน์การใช้สอย เช่น หากนําไปทําคอนโดได้ก็จะ
มีมูลค่าสูง ขณะที'พื#นที'ที'เป็นพื#นที'การเกษตร ต้นไม้ไม่มีการลงทุนในเชิงพาณิชย์จะถูก
ตีความว่ามีมูลค่าน้อย ดังนั#นหากมีการเวนคืนพื#นที' หรือปรับเปลี'ยนผังเมือง พื#นที'สี
เขียวเหล่านี#จะถูกเวนคืนก่อนเป็นอันดับแรก ๆ ทําให้พื#นที'ป่าในเมืองลดลง สาเหตุ
สําคัญมาจากแนวคิดในการประเมินมูลค่าที'คํานึงมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์เพียงอย่าง
เดียวจนไม่ได้คํานึงถึงมูลค่าด้านอื'นด้วยโดยเฉพาะมูลค่าทางนิเวศที'พื#นที'ตรงนั#นจะให้
ได้ด้วย
มูลค่าทางนิเวศมีคนให้นิยามไว้หลายแบบ แต่อาจกล่าวแบบเข้าใจง่าย ๆ คือฟังก์ชั'น
ทางนิเวศที'ประเมินว่าพื#นที'นั#นก่อให้เกิดประโยชน์อะไรได้บ้างที'ไม่ใช่การพัฒนาหรือทํา
สิ'งปลูกสร้าง เช่น การเป็นพื#นที'พักผ่อน เป็นพื#นที'รับนํ#า ช่วยดักฝุ่นลด pm 2.5 แล้ว
นําประโยชน์ที'เกิดขึ#นเหล่านี#มาตีเป็นตัวเลข ก็จะได้เป็นมูลค่าทางนิเวศ เพื'อใช้สื'อสาร
กับสังคมให้เห็นเป็นรูปธรรมมากขึ#นว่าพื#นที'เหล่านี#มีมูลค่าเท่าใด และในหลายครั#ง
ฟังก์ชั'นเหล่านี#ก็สําคัญไม่แพ้กับมูลค่าทางเศรษฐกิจเลย นั'นเป็นเหตุผลเบื#องหลังที'
นํามาสู่การทํางานวิจัยเรื'องการประเมินมูลค่าทางนิเวศของต้นไม้ในกรุงเทพมหานคร
แต่ละเขต เราวิเคราะห์ภาพถ่ายทางอากาศแล้วคํานวณว่าพื#นที'สีเขียวในกรุงเทพฯ นั#น
ช่วยลด pm2.5 ได้เท่าใด ช่วยเก็บกักคาร์บอนได้มากเท่าใด เพื'อเสนอเป็นมูลค่าทาง
นิเวศของพื#นที'สีเขียวในกรุงเทพมหานครอย่างที'กําลังทําอยู่เราเจาะจงไปที'มูลค่าต้นไม้
ในเมือง/ป่าในเมืองที'ช่วยลดมลภาวะทางอากาศ ปัญหาใหญ่ที'ประเทศไทยกําลังเผชิญ
อยู่ แน่นอนว่าพื#นที'สีเขียวไม่ได้มีคุณค่าเพียงแค่การลดมลภาวะทางอากาศเท่านั#น แต่
ยังช่วยชะลอนํ#าฝนไม่ให้เกิดนํ#าท่วมฉับพลัน ช่วยลดอุณหภูมิของเมือง ช่วยทําให้
สิ'งมีชีวิตอื'นอีกด้วย
Debre Birhan ,Ethiopia
ถนนอักษะ พุทธมณฑล
ทล.2175(พิมาย-ชุมพวง)
ป่าในเมืองเชียงใหม่
แ น ว คิ ด ก า ร ตั,ง เ มื อ ง เ ชี ย ง ใ ห ม่
ป่าในเมืองเชียงใหม่: กิจกรรมของเมือง
ป่าในเมืองเชียงใหม่: กิจกรรมของเมือง
ป่าในเมืองเชียงใหม่: ความซับซ้อนของระบบนิเวศพืชพรรณ
ป่าในเมืองเชียงใหม่: biomass cycle
(1) การขาดแคลนเงินทุนหรืองบประมาณ
(2) การไม่ให้ความสำคัญในเรื่องป่าในเมือง หรือเป็นความสำคัญในลำดับท้ายๆ ของหน่วยงานภาครัฐ
(3) การกระจายความรับผิดชอบที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งในพื้นที่ป่าในเมือง
(4) การขาดแคลนพื้นที่เพื่อทำเป็นเขตป่าในเมือง
(5) ความกดดันด้านสิ่งแวดล้อมในเมือง
(6) การขาดการฝึกอบรม ขาดการสื่อสารข้อมูลทางวิชาการ
from Kuchelmeister, G.; and S. Braatz (1993) “Urban forestry revisited.” Unasylva (173): 3-12.
ปัจจัยสำคัญที่อาจทำให้ป่าในเมืองไม่ประสบผลสำเร็จ 6 ประการ
องค์ประกอบ 3 ประการทางเศรษฐศาสตร์ของความยั่งยืนของการจัดการป่าในเมือง
• ความเป็นเจ้าของ (ownership)
• การให้คุณค่า ทั้งในด้านการเข้าถึง (access) และ การใช้ประโยชน์ (uses)
• กลไกสนับสนุนหรือส่งเสริม ที่ทำให้เกิดการขยายพื้นที่ป่าในเมือง

More Related Content

Similar to Presentation1 ป่าในเมือง.pdf

การเมืองการปกครอง
การเมืองการปกครอง การเมืองการปกครอง
การเมืองการปกครอง sarayutunthachai
 
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่Moddang Tampoem
 
บทที่ 1น้ำบาดาล2003
บทที่ 1น้ำบาดาล2003บทที่ 1น้ำบาดาล2003
บทที่ 1น้ำบาดาล2003bussayamas Baengtid
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงENooilada
 

Similar to Presentation1 ป่าในเมือง.pdf (6)

การเมืองการปกครอง
การเมืองการปกครอง การเมืองการปกครอง
การเมืองการปกครอง
 
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่
 
Korat model
Korat modelKorat model
Korat model
 
บทที่ 1น้ำบาดาล2003
บทที่ 1น้ำบาดาล2003บทที่ 1น้ำบาดาล2003
บทที่ 1น้ำบาดาล2003
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัว
 

More from WarongWonglangka

โครงการศึกษาฟื้นฟูที่ดินเสื่อมโทรม
โครงการศึกษาฟื้นฟูที่ดินเสื่อมโทรมโครงการศึกษาฟื้นฟูที่ดินเสื่อมโทรม
โครงการศึกษาฟื้นฟูที่ดินเสื่อมโทรมWarongWonglangka
 
การระบายน้ำในบริเวณ.pdf
การระบายน้ำในบริเวณ.pdfการระบายน้ำในบริเวณ.pdf
การระบายน้ำในบริเวณ.pdfWarongWonglangka
 
การเลือกใช้และการบำรุงรักษาอุปกรณ์.pptx
การเลือกใช้และการบำรุงรักษาอุปกรณ์.pptxการเลือกใช้และการบำรุงรักษาอุปกรณ์.pptx
การเลือกใช้และการบำรุงรักษาอุปกรณ์.pptxWarongWonglangka
 
中西园林20160913-(2).pptx
中西园林20160913-(2).pptx中西园林20160913-(2).pptx
中西园林20160913-(2).pptxWarongWonglangka
 
Group1_final review _ 171020.pptx
Group1_final review _ 171020.pptxGroup1_final review _ 171020.pptx
Group1_final review _ 171020.pptxWarongWonglangka
 
สนามหลวง History2.pptx
สนามหลวง History2.pptxสนามหลวง History2.pptx
สนามหลวง History2.pptxWarongWonglangka
 
Survey Workshop Playground
Survey Workshop PlaygroundSurvey Workshop Playground
Survey Workshop PlaygroundWarongWonglangka
 
Landscape Surveying Practice
Landscape Surveying PracticeLandscape Surveying Practice
Landscape Surveying PracticeWarongWonglangka
 
Surveying Landscape Invention
Surveying Landscape InventionSurveying Landscape Invention
Surveying Landscape InventionWarongWonglangka
 

More from WarongWonglangka (20)

โครงการศึกษาฟื้นฟูที่ดินเสื่อมโทรม
โครงการศึกษาฟื้นฟูที่ดินเสื่อมโทรมโครงการศึกษาฟื้นฟูที่ดินเสื่อมโทรม
โครงการศึกษาฟื้นฟูที่ดินเสื่อมโทรม
 
Drainage.pdf
Drainage.pdfDrainage.pdf
Drainage.pdf
 
การระบายน้ำในบริเวณ.pdf
การระบายน้ำในบริเวณ.pdfการระบายน้ำในบริเวณ.pdf
การระบายน้ำในบริเวณ.pdf
 
Contouring.pdf
Contouring.pdfContouring.pdf
Contouring.pdf
 
การเลือกใช้และการบำรุงรักษาอุปกรณ์.pptx
การเลือกใช้และการบำรุงรักษาอุปกรณ์.pptxการเลือกใช้และการบำรุงรักษาอุปกรณ์.pptx
การเลือกใช้และการบำรุงรักษาอุปกรณ์.pptx
 
中西园林20160913-(2).pptx
中西园林20160913-(2).pptx中西园林20160913-(2).pptx
中西园林20160913-(2).pptx
 
picturesque.pdf
picturesque.pdfpicturesque.pdf
picturesque.pdf
 
CM Book cover.pdf
CM Book cover.pdfCM Book cover.pdf
CM Book cover.pdf
 
Landscape TheoryJA+JZ.pdf
Landscape TheoryJA+JZ.pdfLandscape TheoryJA+JZ.pdf
Landscape TheoryJA+JZ.pdf
 
Group1_final review _ 171020.pptx
Group1_final review _ 171020.pptxGroup1_final review _ 171020.pptx
Group1_final review _ 171020.pptx
 
สนามหลวง History2.pptx
สนามหลวง History2.pptxสนามหลวง History2.pptx
สนามหลวง History2.pptx
 
Inthanond-weir-fish.pdf
Inthanond-weir-fish.pdfInthanond-weir-fish.pdf
Inthanond-weir-fish.pdf
 
Survey Workshop Playground
Survey Workshop PlaygroundSurvey Workshop Playground
Survey Workshop Playground
 
survey workshop
survey workshopsurvey workshop
survey workshop
 
Landscape Surveying Practice
Landscape Surveying PracticeLandscape Surveying Practice
Landscape Surveying Practice
 
NATURAL PLAYGROUND
NATURAL PLAYGROUNDNATURAL PLAYGROUND
NATURAL PLAYGROUND
 
Surveying Landscape Invention
Surveying Landscape InventionSurveying Landscape Invention
Surveying Landscape Invention
 
final survey.pdf
 final survey.pdf final survey.pdf
final survey.pdf
 
Landscape Survey study
Landscape Survey studyLandscape Survey study
Landscape Survey study
 
landscape survey
landscape surveylandscape survey
landscape survey
 

Presentation1 ป่าในเมือง.pdf

  • 1. ก ร ณี ศึ ก ษ า - ค ว า ม เ ป็ น ม า - แ ล ะ ค ว า ม น่ า จ ะ เ ป็ น ไ ป ป่าในเมือง+เชียงใหม่ อ . ว ร ง ค์ ว ง ศ์ ลั ง ก า ส า ข า วิ ช า ภู มิ ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม ค ณ ะ ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม ศ า ส ต ร์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่ w a r o n g . w @ c m u . a c . t h
  • 2. ป่าในเมือง U r b a n f o r e s t r y ถู ก น ำ ม า ใช้ ค รั้ ง แร ก โ ด ย รั ฐ บา ล ส ห รั ฐ ใ น ปี 1 9 7 8 ป่ า ใ น เมื อ ง ห ม า ย ร ว ม ถึ ง ต้ น ไ ม้ แ ล ะ พื ช พ ร ร ณ ที่ เกิ ด ขึ้ น ทั้ ง เดี่ ย ว ๆ แ ล ะ เป็ น ก ลุ่ ม ใ น พื้ น ที่ เมื อ ง เพื่ อ จุ ด ปร ะ ส ง ค์ ใ น ก า ร ปรั บปรุ ง ส ภ า พ แว ด ล้ อ ม ขอ ง เมื อ ง ปั จ จุ บั น ป่ า ใ น เมื อ ง ถู ก จั ด เป็ น ส่ ว น ปร ะ ก อ บพื้ น ฐ า น ที่ ส ำ คั ญ ขอ ง เมื อ ง
  • 3. ป่าในเมืองคืออะไร? ป่าในเมือง (urban forest) เป็นองค์ประกอบ ที6ว่าด้วยการ จัดการต้นไม้ในเมืองทั?งแบบมีการวางแผนอย่างเป็นระบบ การบูรณา การศาสตร์ต่างๆ ของการจัดการต้นไม้ในเขตเมืองที6คํานึงถึง คุณลักษณะพื?นฐาน ปัจจัยด้านสังคม คุณภาพชีวิตของประชาชนที6 อาศัยในเขตเมือง ผ่านการมีส่วนร่วมของประชาชนที6อยู่อาศัย [Carter, 1995] โดยการจัดการดังกล่าวเกี6ยวข้องกับพื?นที6ที6มี ต้นไม้ทั?งต้นไม้เดี6ยว กลุ่มของต้นไม้ หรือ ต้นไม้ที6อยู่ในอาณาบริเวณที6 ประชากรอาศัยอยู่ในความหนาแน่นระดับหนึ6ง ครอบคลุมถึงอาณา บริเวณของถนน สวนสาธารณะ และบริเวณแยกต่างๆ ที6มีการจัดการ ต้นไม้ นอกจากนั?นการจัดการป่าไม้ในเขตเมืองยังครอบคลุมถึงเรื6อง ประโยชน์ของต้นไม้ในแง่มุมต่างๆ และปัญหาที6เกี6ยวข้องกับต้นไม้ เหล่านั?น จุดมุ่งหมายหลักของการป่าไม้ในเมือง คือ การปรับปรุง สุขภาพของต้นไม้ให้มีความแข็งแรง และเพิ6มคุณค่าของต้นไม้และ บริเวณโดยรอบเขตเมืองนั6นเอง ถนน Rua de Carvalho Goncalo ในประเทศบราซิล
  • 4. ป่าในเมืองกับสุขภาพ มีงานวิจัยหลายงานในสาย Healthy city ที0ศึกษาประโยชน์ของ ต้นไม้ในมิติต่าง ๆ เช่น ต้นไม้ริมถนนในเมืองทําให้การเกิดอาชญากรรม น้อยลง พิกัด ที0ตัJงบ้านของเราเป็นตัวกําหนดอายุขัยของคนที0อยู่อาศัย ได้ถึงขนาดว่าบ้านเราอยู่รหัสไปรษณีย์ห่างกันอายุของคนย่านในอาจ ต่างกันเป็นสิบปีเลยก็ได้ สิ0งเหล่านีJล้วนเป็นโดยตรงจากสภาพแวดล้อม ที0ส่งผลต่อสุขภาพ ต้นไม้ที0ตายเพราะถูกแมลงระบาด ในช่วงสิบปีนัJนมี คนเสียชีวิตด้วยโรคหายใจและโรคทางเดินหายใจเหล่านีJสะท้อนว่าเมื0อ พืJนที0สีเขียวลดลง คนก็ตายไปด้วย เราอาจไม่เห็นในทันทีแต่เมื0อเวลา ยาวนานขึJนผลดังกล่าวก็ยิ0งเกิดขึJน เราจึงสนใจว่าจะทําอย่างไรให้เกิดการปลูกต้นไม้ใหญ่ในเมือง แล้วเราก็ พบว่าคนในเมืองนัJนมีหลายกลุ่ม คนส่วนมากไม่มีได้ชีวิตสะดวกสบาย ไม่ได้มีเวลาว่างที0จะมาใส่ใจกับพืJนที0สีเขียวในเมือง แต่หากเราพูดถึง พืJนที0สีเขียวในอีกมิติหนึ0งว่ามันมีผลต่อสุขภาพของเรา เราอาจไม่เห็น มูลค่าของมันอย่างเป็นรูปธรรมในตอนแรก แต่เราจะเห็นว่าเมื0อเรา เจ็บป่วยเราต้องเสียเงิน ดังนัJน การมีพืJนที0สีเขียวก็จะช่วยลดความเสี0ยง ที0เราต้องเสียเงินลงไปได้ ก็จะทําให้คนเห็นความสําคัญของพืJนที0สีเขียว ในเมืองมากขึJน เพราะต้นไม้ไม่ได้มีผลทัJงสุขภาพทางกาย (Physical Health) เท่านัJนยังมีผลต่อสุขภาพจิต (Mental health) ความ เบิกบาน ความมั0นคงทางจิตวิญญาณของผู้อยู่อาศัยด้วย ยกตัวอย่าง เช่นงานวิจัยที0มีการศึกษาการฟืJนตัวของผู้ป่วยที0พักในห้องที0มองเห็น ทิวทัศน์ต้นไม้ สนามหญ้า เปรียบเทียบกับผู้ป่วยที0พักในห้องทิวทัศน์ปิด มองเห็นกําแพง ตึกไม่เห็นต้นไม้ พบว่าผู้ป่วยที0มองเห็นพืJนที0สีเขียวจะ ฟืJนตัวเร็วกว่าผู้ป่วยที0มองออกไปแล้วเห็นตึกกําแพง
  • 5. เมืองที(ถูกออกแบบโดยคํานึงถึงพื7นที(สีเขียวมักมีลักษณะอย่างไรบ้าง พื#นที'ดินจะถูกประเมินมูลค่าตามประโยชน์การใช้สอย เช่น หากนําไปทําคอนโดได้ก็จะ มีมูลค่าสูง ขณะที'พื#นที'ที'เป็นพื#นที'การเกษตร ต้นไม้ไม่มีการลงทุนในเชิงพาณิชย์จะถูก ตีความว่ามีมูลค่าน้อย ดังนั#นหากมีการเวนคืนพื#นที' หรือปรับเปลี'ยนผังเมือง พื#นที'สี เขียวเหล่านี#จะถูกเวนคืนก่อนเป็นอันดับแรก ๆ ทําให้พื#นที'ป่าในเมืองลดลง สาเหตุ สําคัญมาจากแนวคิดในการประเมินมูลค่าที'คํานึงมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์เพียงอย่าง เดียวจนไม่ได้คํานึงถึงมูลค่าด้านอื'นด้วยโดยเฉพาะมูลค่าทางนิเวศที'พื#นที'ตรงนั#นจะให้ ได้ด้วย มูลค่าทางนิเวศมีคนให้นิยามไว้หลายแบบ แต่อาจกล่าวแบบเข้าใจง่าย ๆ คือฟังก์ชั'น ทางนิเวศที'ประเมินว่าพื#นที'นั#นก่อให้เกิดประโยชน์อะไรได้บ้างที'ไม่ใช่การพัฒนาหรือทํา สิ'งปลูกสร้าง เช่น การเป็นพื#นที'พักผ่อน เป็นพื#นที'รับนํ#า ช่วยดักฝุ่นลด pm 2.5 แล้ว นําประโยชน์ที'เกิดขึ#นเหล่านี#มาตีเป็นตัวเลข ก็จะได้เป็นมูลค่าทางนิเวศ เพื'อใช้สื'อสาร กับสังคมให้เห็นเป็นรูปธรรมมากขึ#นว่าพื#นที'เหล่านี#มีมูลค่าเท่าใด และในหลายครั#ง ฟังก์ชั'นเหล่านี#ก็สําคัญไม่แพ้กับมูลค่าทางเศรษฐกิจเลย นั'นเป็นเหตุผลเบื#องหลังที' นํามาสู่การทํางานวิจัยเรื'องการประเมินมูลค่าทางนิเวศของต้นไม้ในกรุงเทพมหานคร แต่ละเขต เราวิเคราะห์ภาพถ่ายทางอากาศแล้วคํานวณว่าพื#นที'สีเขียวในกรุงเทพฯ นั#น ช่วยลด pm2.5 ได้เท่าใด ช่วยเก็บกักคาร์บอนได้มากเท่าใด เพื'อเสนอเป็นมูลค่าทาง นิเวศของพื#นที'สีเขียวในกรุงเทพมหานครอย่างที'กําลังทําอยู่เราเจาะจงไปที'มูลค่าต้นไม้ ในเมือง/ป่าในเมืองที'ช่วยลดมลภาวะทางอากาศ ปัญหาใหญ่ที'ประเทศไทยกําลังเผชิญ อยู่ แน่นอนว่าพื#นที'สีเขียวไม่ได้มีคุณค่าเพียงแค่การลดมลภาวะทางอากาศเท่านั#น แต่ ยังช่วยชะลอนํ#าฝนไม่ให้เกิดนํ#าท่วมฉับพลัน ช่วยลดอุณหภูมิของเมือง ช่วยทําให้ สิ'งมีชีวิตอื'นอีกด้วย
  • 10. แ น ว คิ ด ก า ร ตั,ง เ มื อ ง เ ชี ย ง ใ ห ม่
  • 14.
  • 16. (1) การขาดแคลนเงินทุนหรืองบประมาณ (2) การไม่ให้ความสำคัญในเรื่องป่าในเมือง หรือเป็นความสำคัญในลำดับท้ายๆ ของหน่วยงานภาครัฐ (3) การกระจายความรับผิดชอบที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งในพื้นที่ป่าในเมือง (4) การขาดแคลนพื้นที่เพื่อทำเป็นเขตป่าในเมือง (5) ความกดดันด้านสิ่งแวดล้อมในเมือง (6) การขาดการฝึกอบรม ขาดการสื่อสารข้อมูลทางวิชาการ from Kuchelmeister, G.; and S. Braatz (1993) “Urban forestry revisited.” Unasylva (173): 3-12. ปัจจัยสำคัญที่อาจทำให้ป่าในเมืองไม่ประสบผลสำเร็จ 6 ประการ
  • 17. องค์ประกอบ 3 ประการทางเศรษฐศาสตร์ของความยั่งยืนของการจัดการป่าในเมือง • ความเป็นเจ้าของ (ownership) • การให้คุณค่า ทั้งในด้านการเข้าถึง (access) และ การใช้ประโยชน์ (uses) • กลไกสนับสนุนหรือส่งเสริม ที่ทำให้เกิดการขยายพื้นที่ป่าในเมือง