SlideShare a Scribd company logo
1 of 57
Download to read offline
คู่มือเริ่มต้นใช้งาน Google Apps
2
สารบัญ
จุดเด่นของ Google Apps......................................................................................................................................5
การเข้าใช้งาน Google Apps......................................................................................................................................5
การใช้งาน Mail......................................................................................................................................................6
การเขียน Message ใหม่..................................................................................................................................9
ทาความเข้าใจ Labels และ Conversations.......................................................................................................11
Label.................................................................................................................................................................11
Conversations...................................................................................................................................................11
การจัดการ Message...........................................................................................................................................13
จัดการ Labels......................................................................................................................................................15
การกาหนด label ให้กับ message...............................................................................................................16
การย้าย label ออกจาก message................................................................................................................16
การใช้งาน Filter...................................................................................................................................................17
การมอบหมายให้บุคคลอื่นใช้งาน Mail..........................................................................................................18
การตั้งค่า Signature.............................................................................................................................................20
การใช้งาน Calendar.................................................................................................................................................21
การสร้างตารางนัดหมาย..................................................................................................................................22
การปรับแต่งปฏิทิน............................................................................................................................................24
การกาหนดสิทธ์การใช้งานปฏิทินให้บุคคลอื่น............................................................................................25
3
การใช้งาน Document ...............................................................................................................................................26
จัดระเบียบเอกสารด้วย Collections.................................................................................................................31
การสร้าง Collections......................................................................................................................................31
การเพิ่มเอกสารเข้าใน Collection .....................................................................................................................31
ฝากไฟล์กับ Google Docs...................................................................................................................................33
การตรวจสอบพื้นที่ของ Google Docs..............................................................................................................33
การ Upload ไฟล์ขึ้น Google Docs......................................................................................................................33
การ Export และ Download เอกสารจาก Google Docs....................................................................................35
การสร้างและจัดรูปแบบเอกสาร.....................................................................................................................36
การสร้างและตั้งชื่อเอกสาร........................................................................................................................36
ส่วนประกอบของหน้าเอกสาร...................................................................................................................37
การดูประวัติการแก้ไขเอกสารและเรียกใช้งานเอกสารเวอร์ชันเก่า..............................................................40
การใช้งาน Site..........................................................................................................................................................42
การสร้าง site........................................................................................................................................................43
การเปลี่ยน theme, ภาพพื้นหลัง, สี และ logo................................................................................................45
การเพิ่ม sidebar item...........................................................................................................................................48
การลบ site...........................................................................................................................................................49
การสร้าง page โดยใช้ standard layout.............................................................................................................50
การแก้ไข Page Settings......................................................................................................................................52
การลบ page ........................................................................................................................................................53
4
การกู้คืนข้อมูล page และitem..........................................................................................................................54
การใส่ Apps อื่นเข้ามาใน page........................................................................................................................55
กาหนดสิทธิ์การเข้าใช้งาน site........................................................................................................................56
บทส่งท้าย..................................................................................................................................................................57
5
คู่มือฉบับนี้จะแนะนาการใช้งานเครื่องมือต่างๆของชุด Google Apps ได้แก่ Mail, Calendar, Docs และ Sites ซึ่งจะ
ช่วยให้คุณสามารถติดต่อสื่อสาร และทางานร่วมกันได้ง่ายและมีประสิทธิภาพมากขึ้น
จุดเด่นของ Google Apps
 พื้นที่เก็บ e-mail มากถึง 25 GB สามารถเก็บ e-mail ทั้งหมดไว้โดยไม่ต้องสารองข้อมูลแบบ offline
 ความสามารถใหม่ๆที่ช่วยให้จัดการ e-mail ได้อย่างสะดวก เช่น labels, conversation, search operation
 เข้าใช้งานได้จากอุปกรณ์ต่างๆทั้ง Notebook, โทรศัพท์มือถือ หรือ Tablet ทุกที่ และทุกเวลา
 ใช้งานได้ทั้ง PC, Mac หรือ Linux
 กรณีที่เกิดความเสียหายกับเครื่อง computer ที่ใช้งานอยู่ ข้อมูลทั้งหมดของคุณจะยังคงอยู่อย่างปลอดภัย และ
เรียกใช้งานจากเครื่องอื่นๆได้ทันที
 จัดตารางนัดหมายขององค์กร(หรือกลุ่ม)ได้ด้วย Calendar ที่ทุกคนในองค์กร(หรือกลุ่ม) ใช้งานร่วมกัน
 ใช้งาน document, spreadsheet ร่วมกัน โดยที่ทุกคนในกลุ่มสามารถเข้าใช้งานและแก้ไขได้พร้อมกัน
 ใช้งาน IM ได้ทั้ง text, voice หรือ video จากหน้าใช้งาน e-mail
การเข้าใช้งาน Google Apps
1. ที่หน้า Web browser ให้เปิด url ไปที่ https://mail.google.com/a/yourdomain
2. ใส่ username และ password
6
การใช้งาน Mail
หลังจาก login เข้าใช้งาน browser จะแสดงผลหน้าจอของ Mail ซึ่งมีส่วนต่างๆดังนี้
1. Link สาหรับเข้าใช้งานเครื่องมือต่างๆ เช่น Calendar, Documents, Groups หรือ Contacts
2. ช่องสาหรับใส่ keyword เพื่อ Search Mail
สามารถกดที่ Show search options เพื่อแสดงช่องการค้นหาแบบละเอียดได้
1
2
3
4
5
6
7
3. การตั้งค่าต่างๆของ Mail โดยจะมีชื่อ username ที่กาลัง login แสดงอยู่ กรณีที่ username ที่แสดงไม่
ถูกต้อง ให้กดที่ Sign out เพื่อไปหน้า login
4. Navigation Pane
จากรูป กล่องสีฟ้ าอ่อนอยู่ที่ Mail หมายถึงกาลังใช้งาน
Mail
สามารถเข้าใช้งาน Contacts และ Tasks ได้โดยการกด
link ที่ส่วนนี้
กด เพิ่อเริ่มเขียน message
ส่วนถัดมาเป็นส่วนที่ใช้แสดง message ประเภทต่างๆ
เช่น Inbox, Starred, Important, Sent Mail, Drafts
และ label list ที่สามารถสร้างเพิ่มได้
5. Chat Pane
แสดงรายชื่อ Contact และสถานะการ online สามารถตั้งสถานะตั้งสถานะเป็นข้อความส่วนตัวได้ หรือกด
ที่ชื่อเพื่อเริ่มสนทนาได้ทันที
8
สาหรับหน้าต่าง Chat ด้านบนจะแสดงชื่อ Contact ที่กาลังคุยด้วย
กด หรือ เพิ่อเริ่มใช้ video/voice chat
กด เพื่อเพิ่มรายชื่อ Contact เข้ามา chat ในหน้าต่างเดียวกันได้หลายๆคน
บริเวณด้านบน กด เพื่อแยกหน้าต่าง chat ออกมาเป็นหน้าต่างใหม่
6. Message list
แสดงรายระเอียดต่างๆของ Message เช่น Sender, Subject และ date
กรณีที่ message นั้นมีไฟล์แนบมาด้วย สามารถสังเกตุได้จากรูป ที่ด้านท้าย
Tip1: สามารถกาหนดดาวได้โดยกดที่ บริเวณด้านซ้ายของ message
Tip2: บริเวณด้านล่างของหน้าจอจะแสดงปริมาณพื้นที่ที่ใช้ไปเทียบกับพื้นที่ทั้งหมด
9
การเขียน Message ใหม่
1. ที่หน้า Mail กดที่
2. จะเข้าสู่หน้า Compose mail ดังภาพ
Tip: กดที่ เพื่อแยกหน้าต่าง Compose mail
10
3. ที่ช่อง To: เมื่อเริ่มพิมพ์ตัวอักษรลงไป ระบบ auto-complete เลือกชื่อจาก Contacts ที่เกี่ยวข้องมาให้
Tip1: สามารถกดที่ To: เพื่อเปิดหน้าต่าง Contact ได้เช่นกัน
Tip2: สาหรับ Cc และ Bcc สามารถกด เพื่อเพิ่มชื่อผู้รับ message ได้เช่นเดียวกับ To:
4. ใส่หัวข้อที่ช่อง Subject หากต้องการแนบไฟล์ สามารถกด Attach a file แล้วเลือกไฟล์ที่ต้องการแนบ
ขณะที่ไฟล์กาลัง upload จะขึ้นแถบแสดงสถานะการ upload
Tip1: หากต้องการแนบไฟล์อื่นๆเพิ่มเติมให้กดที่
Attach another file
Tip2: สามารถยกเลิกการแนบไฟล์ได้ ด้วยการเอาเครื่องหมาย หน้าชื่อไฟล์ ออก
5. ปรับแต่งข้อความได้ ด้วยเครื่องมือต่างๆ
6. ที่บริเวณด้านบน สังเกตุเห็นว่าจะมีข้อความ ซึ่งระบบจะทา
การ save ข้อความให้โดยอัตโนมัติ โดยข้อความที่ยังไม่ส่งออกไป จะอยู่ใน Drafts
7. กด เพื่อส่งข้อความ
Tip: หากจะยกเลิกข้อความ ให้กด
11
ทาความเข้าใจ Labels และ Conversations
Labels และ Conversations เป็นระบบจัดการ mail แบบใหม่ที่จะช่วยให้ mail ของคุณเป็นระเบียบ และเรียกใช้งาน
ได้ง่าย แต่เนื่องจากสิ่งเหล่านี้เป็นระบบที่ออกแบบขึ้นมาใหม่ การทาความเข้าใจในหลักการทางานของสิ่งเหล่านี้จึงเป็นสิ่ง
สาคัญ เพื่อช่วยให้ผู้ใช้สามารถใช้งานสิ่งเหล่านี้ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ และตรงตามวัตถุประสงค์
Label
สาหรับ label จะมีหน้าที่คล้ายกับ folder ใน mail แบบทั่วๆไป แต่สิ่งพิเศษกว่าคือ labels เป็นเหมือน “ป้ าย” ที่เรา
แปะติดไว้กับ message ซึ่งใน message หนึ่งๆ สามารถแปะป้ ายได้มากกว่าหนึ่งป้ าย จึงเป็นการเพิ่มช่องทางในการค้นหา
message นั้นได้จากหลายๆทาง ตัวอย่างเช่น ใน message ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับการจองตั๋วเครื่องบินไปเที่ยวต่างประเทศ
เราสามารถแปะป้ ายได้ทั้ง “Travel” และ “Ticket” ทาให้ message นี้ปรากฎอยู่ทั้ง 2 label หากต้องการค้นหา message
ดังกล่าว สามารถค้นหาได้ทั้งจาก “Travel” และ “Ticket”
เราสามารถสร้าง(หรือลบ) label ขึ้นมาได้เอง โดยสามารถตั้งชื่อ ปรับสี หรือสร้าง label ซ้อนเข้าไปอีกก็ได้ แต่จะมี
label พิเศษอยู่จานวนหนึ่ง ซึ่งเป็น label ที่ระบบสร้างให้ ได้แก่ Inbox, Sent Mail, Spam และ Trash ซึ่ง label เหล่านี้เราไม่
สามารถลบ เปลี่ยนสี หรือเอาป้ ายออกจาก message ได้โดยตรง ข้อควรระวังคือ การลบ
message จาก Sent Mail คือการลบ message นั้น แม้ว่าเราจะแปะป้ ายอื่นๆไว้ก็ตาม เพราะ
มันคือ message เดียวกันที่มี ป้ าย Sent Mail แปะอยู่ อย่างไรก็ตาม หากเผลอลบ message
เราสามารถเอากลับคืนได้ที่ Trash ภายใน 30 วัน
Conversations
โดยปกติ message จะแสดงผลเรียงเวลาในการรับ-ส่ง ซึ่งในกรณีที่มี reply message จานวนมาก หากเรียงตาม
เวลา จะเห็นว่า message ที่แต่ละคน reply จะกระจัดกระจายอยู่ เนื่องจากเวลาในการรับ-ส่ง ไม่ได้เรียงต่อเนื่องกัน ทาให้การ
อ้างอิง message ต่างในหัวข้อเดียวกันทาได้ไม่สะดวก Conversations เป็นแนวคิดใหม่ที่จะมาช่วยแก้ปัญหาดังกล่าว
Message ที่อยู่หัวข้อเดียวกัน แต่เรียงกันอย่างกระจัดกระจาย
12
Conversation รวม message ไว้ในที่เดียว
Conversations จะรวมจดหมายแต่ละฉบับที่มี Subject เดียวกัน เข้ามาเป็นกลุ่มเดียว ทาให้ message ทั้งหมด
รวมอยู่ด้วยกันอย่างเป็นระเบียบ ดูเรียบร้อยและสะอาดตา และทาให้สามารถอ้างอิง message เก่า ได้ในที่เดียว เมื่อเราเปิด
message ที่มีคน reply กลับมา Conversation จะไปดึง message ทั้งหมดที่เกี่ยวข้องรวมถึงอันที่เราส่งไปหาผู้ที่ reply ด้วย
มาซ้อนไว้ด้านหลังเรียงลาดับก่อนหลังตามเวลา ทาให้เราสามารถอ่าน message เก่าได้โดยสะดวก
Tip: สามารถอ่าน message เก่าได้โดยกดที่บริเวณหัว message หรือกดที่ ทางด้านขวาของ message เพื่อดู
รายละเอียดของ message เก่าๆทั้งหมด
Message ทั้งหมดถูกซ้อนอยู่ด้านหลัง พร้อมอ่านได้ทันที
13
การจัดการ Message
จดหมายทั้งหมดที่บุคคลอื่นส่งมา จะอยู่ใน Inbox สามารถเปิดดูได้ด้วยการคลิกที่จดหมายนั้น เพื่อดูรายละเอียด
ต่างๆของจดหมาย โดยมีส่วนประกอบดังนี้
Tip: กด เพื่อแยกหน้าต่างใหม่
1. ส่วนสาหรับจัดระบบ Message
 Archive: เอา label Inbox ออก (ไปอยู่ใน All Mail และ label ที่เรากาหนดไว้)
 Report spam: เอา label Inbox ออก (ไปอยู่ใน Spam)
 Delete: เอา label Inbox ออก (ไปอยู่ใน Trash)
1
2
3
4
14
 Move to: เอา label เดิมออก แล้วกาหนด label ใหม่ให้
 Labels: กาหนด label ใหม่เพิ่มเข้าไปโดยไม่เอา label เดิมออก
Tip: หากต้องการยกเลิกการกระทาต่างๆ (เช่น กรณีลบ message ผิด) สามารถทาได้โดยกดที่ Undo
โดยแถบสีเหลืองนี้จะโผล่มาบริเวณด้านบนของหน้า Mail หลังกระทาสิ่งต่างๆกับ message
2. แสดง Subject ของ Message และ label ของ message นั้น
Tip: สามารถแปะดาวได้โดยกดที่ บริเวณ header ของ message
3. ปุ่มสาหรับจัดการ Message
Tip: กด show details เพื่อดูรายละเอียดของผู้ส่งและผู้รับ message นั้นๆ
4. ส่วนสาหรับการตอบจดหมาย หรือส่งต่อให้ผู้อื่น
Tip: สามารถตอบจดหมายได้อย่างรวดเร็ว โดยกดที่บริเวณพื้นที่ว่างในกล่องสี่เหลี่ยมดังภาพ
15
จัดการ Labels
1. การสร้าง label ใหม่
ที่ Navigation pane กดที่ more เลือก Create new label
ใส่ชื่อ label ที่ต้องการ
Tip: สามารถสร้าง label ซ้อนอยู่ใน label ที่มีอยู่ได้ โดยเลือก ที่ Nest label under
หลังจากสร้าง label เสร็จ label ที่เราสร้างจะอยู่ใน label list โดยเรียงลาดับตามตัวอักษร
Tip: สามารถใส่สัญลักษณ์ต่างๆ เช่น !@#$%&*()_-+=[]<>,.?/ หน้าชื่อ label เพื่อให้ label นั้นเลื่อนลาดับ
ขึ้นมาอยู่ด้านบน เนื่องจากสัญลักษณ์เหล่านี้จะถูกจัดลาดับก่อนหน้าตัวอักษร
2. การจัดการ label
ที่ด้านขวาของ label กดที่ เพื่อจัดการกับ label
16
เปลี่ยนชื่อ หรือปรับ nested label
ลบ label
เพิ่ม label ซ้อนเข้าไป
การกาหนด label ให้กับ message
การกาหนด label ให้ message นั้น จะทาให้ message ปรากฏอยู่ในหน้าของ label นั้นๆ โดยที่เราสามารถกาหนด
label ได้หลาย label ในหนึ่ง message ซึ่งจะส่งผลให้ message นั้นปรากฏตัวได้ในหลายๆ label โดยที่ยังคงใช้พื้นที่เท่าเดิม
การกาหนด label ให้ message สามารถทาได้หลายทาง ดังต่อไปนี้
1) ลาก label จาก Navigation pane มาวางบน message list ซึ่งจะให้ผลลัพธ์เหมือนกับการเลือก ที่
ด้านบนของ mail
Tip: หากต้องการกาหนด label บน message จานวนมาก สามารถเลือก ที่หน้า message ทั้งหมดก่อน แล้วจึง
ลาก label มาวาง
2) ลาก message จาก message list ไปวางบน label list โดยกดที่บริเวณด้านซ้ายของ message
ซึ่งให้ผลลัพธ์เหมือนกับการเลือก
Tip: หากต้องการกาหนด label บน message จานวนมาก สามารถเลือก ที่หน้า message ทั้งหมดก่อน แล้วจึง
ลาก message ไปวาง
การย้าย label ออกจาก message
ที่หน้า Mail เมื่อกดเลือก message บริเวณส่วนที่แสดง Subject จะมี label ที่กาหนดไว้กับ message นั้น สามารถ
เอาออกได้โดยกดที่ x ด้านท้าย label
เลือกสีพื้นและสีตัวอักษร
เลือกการแสดงใน label list
เลือกการแสดงใน message list
17
การใช้งาน Filter
Filter คือเครื่องมือที่ช่วยจัดการ message ที่บุคคลอื่นส่งมาให้โดยอัตโนมัติ โดยการตั้งเงื่อนไขที่เหมาะสม ช่วยลด
ขั้นตอนต่างๆในการจัดการ message ให้คุณได้ ตั้งแต่ กาหนด label, archive, delete, star, forward หรือใช้จัดการ spam
ที่บริเวณด้านบนของหน้า Mail กด Create a filter
ใส่เงื่อนไขที่ใช้ในการกรอง message ให้เหมาะสม
กด หรือกด เพื่อดูผลลัพธ์กับ message ที่มีอยู่
เลือกว่าจะให้ filter จัดการกับ message ที่ตรงกับเงื่อนไข อย่างไร
กด
18
Tip: โดยปกติ filter ที่สร้างขึ้นมาจะจัดการกับ message ที่ส่งเข้ามาใหม่ แต่เราสามารถสั่งให้ filter จัดการกับ
message ที่อยู่ใน mail box ของเราได้โดยการเลือก Also apply filter to conversations below
การมอบหมายให้บุคคลอื่นใช้งาน Mail
ในสถานการณ์ที่เราไม่สะดวกในการจัดการ mail ของตัวเอง เราสามารถมอบหมายให้บุคคลอื่นทาหน้าที่แทนเราได้
โดยการมอบสิทธิให้บุคคลนั้น เข้ามาใช้งาน mail ของเราได้จาก account ของบุคคลนั้น และสามารถตอบจดหมายต่างๆแทน
เราได้ โดยที่ฝั่งผู้รับจะเห็นมา mail ส่งมาจาก e-mail ของเรา และเห็นผู้ส่งเป็นบุคคลที่เรามอบสิทธิให้
ขั้นตอนในการมอบสิทธิการเข้าใช้งาน mail มีดังนี้
1. เจ้าของ mail เข้าไปตั้งค่าการมอบหมายสิทธิ
กด Settings ที่บริเวณด้านบนของหน้า mail
เลือก Accounts > Add another account ภายใต้หัวข้อ Grant access to your account:
ใส่ e-mail address ของบุคคลที่เราต้องการมอบหมายสิทธิ
กด
19
กด
2. ผู้รับมอบสิทธิ กด link ยอมรับการมอบหมายจาก mail
3. ผู้รับมอบสิทธิเข้าใช้งาน mail ของผู้มอบหมายได้จากหน้า mail ของตนเอง
โดยกดที่ลูกศรชี้ลงด้านข้างชื่อ account ที่บริเวณด้านบน
และกดที่ชื่อ account ของผู้มอบหมายสิทธิ เพื่อเข้าใช้งาน mail ของบุคคลนั้น
สังเกตุจากชื่อ account จะเห็นเป็นชื่อของผู้มอบหมายสิทธิ บริเวณด้านบนทางซ้าย ไม่มี link เพื่อเข้าใช้
เครื่องมืออื่นๆ และจะไม่เห็น Tasks
20
กรณีที่มีการส่ง message โดยเข้าไป mail ของผู้ให้สิทธิ ที่ header ของ message นั้นจะระบุว่า ส่งมาจาก
e-mail ของผู้ให้สิทธิ แต่ส่งโดยผู้ได้รับสิทธิ
การตั้งค่า Signature
Signature คือข้อความส่วนบุคคล ที่จะถูกสร้างให้อยู่ที่ด้านท้ายของทุก message ที่ส่งไปหาผู้อื่น การตั้งค่า
Signature สามารถทาได้ดังต่อไปนี้
1. กด Settings ที่บริเวณด้านบนของหน้า mail
2. ที่หัวข้อ General เลื่อนลงมาด้านล่างจะพบกับช่อง Signature:
สามารถใส่ข้อความและรูปภาพลงในช่องนี้ได้ตามต้องการ
3. กด ที่ด้านล่างสุดของหน้านี้
เมื่อตั้งค่า Signature เสร็จเรียบร้อยแล้ว ทุกครั้งที่มีการเขียน message ข้อความที่เราตั้งไว้ในช่อง Signature
จะปรากฏอยู่ด้านท้ายของ message นั้น หากไม่ต้องการให้ message นั้นมี Signature อยู่ สามารถลบ
Signature ได้ระหว่างการเขียน message
21
การใช้งาน Calendar
เมื่อเข้ามาที่หน้า Calendar จะพบกับส่วนประกอบต่างๆ ดังนี้
1. ช่อง search calendar สาหรับค้นหาสิ่งต่างๆปฏิทิน สามารถกดที่ Show search options เพื่อค้นหาแบบละเอียด
2. ปุ่มสาหรับสร้างตารางเวลา โดยกดที่ หรือ Quick add สามารถดู
วันที่ได้จากปฏิทินขนาดเล็กข้างใต้ปุ่ม โดยวันที่ปัจจุบันจะแสดงด้วย สี่เหลี่ยมสีส้ม
และพื้นที่สีฟ้ าจะสัมพันธ์กับการแสดงผลปฏิทิน (จากตัวอย่างในรูปคือใช้การ
แสดงผลของทั้งสัปดาห์) กดที่ลูกศรเพื่อเลื่อนไปดูเดือนอื่นๆได้
3. ปรับการแสดงผลของปฏิทิน โดยสามารถเลือกได้ 4 แบบ ได้แก่ วัน สัปดาห์ เดือน 4
วัน และแบบตารางนัดหมาย ซึ่งการแสดงผลแต่ละแบบจะแตกต่างกันและเหมาะสมกับการใช้งานในแต่ละแบบ
1
2 3
4
5
22
4. ส่วนการแสดงปฏิทิน
Calendar สามารถแสดงผลปฏิทินได้หลายๆอันพร้อมกัน เราจึงสามารถดูตารางเวลาของบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้องด้วยได้
ช่วยให้สามารถบริหารจัดการตารางนัดหมายเป็นไปได้สะดวก
ส่วนของ My calendars จะหมายถึง ปฏิทินที่เรามีสิทธิ์ในการจัดการได้สูงสุด
คือปฏิทินส่วนตัวที่สร้างขึ้นมาเอง หรือปฏิทินของบุคคลอื่นที่เราได้รับสิทธิ์ก็ได้
สาหรับ Other calendars จะเป็นปฏิทินของบุคคลอื่นที่เจ้าของอนุญาติให้เรา
เห็นข้อมูลบางส่วน (แล้วแต่การกาหนดสิทธิ์) โดยสามารถเพิ่มปฏิทินได้ด้วยการ
ใส่ชื่อเจ้าของปฏิทินในช่อง Add a coworker’s calendar
5. เป็นพื้นที่หลักในการใช้งานปฏิทิน โดนส่วนนี้จะแสดงวันที่ และตารางนัดหมายต่าง
วันที่ปัจจุบันจะแสดงด้วยพื้นสีส้ม ตารางนัดหมายที่แสดงอยู่ขอบด้านบนจะหมายถึงเหตุการณ์ที่กาหนดช่วงเวลาไว้
ทั้งวัน
การสร้างตารางนัดหมาย
กด เพื่อเข้าสู่หน้าจอรายละเอียดของตารางนัดหมาย ซึ่งประกอบด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้
23
1. ช่องใส่หัวข้อของตารางนัดหมาย
2. การกาหนดช่วงเวลาของเหตุการณ์
3. กาหนดระยะเวลาของเหตุการณ์โดยที่ All day จะหมายถึงใช้
เวลาทั้งวัน ส่วน Repeat… จะหมายถึงเหตุการณ์ที่มี
กาหนดการซ้ากันหลายๆวัน โดยสามารถกาหนดรายละเอียด
ต่างๆได้
4. ใส่รายละเอียดสถานที่นัดหมาย ซึ่งหลังจากสร้างตารางนัด
หมายเสร็จเรียบร้อย Calendar จะสร้าง link สาหรับดูแผนที่จาก
Google maps ให้โดยอัตโนมัติ
5. กรณีที่มีปฏิทินอยู่หลายอัน สามารถเลือกได้ว่าจะสร้างตารางนัดหมายนี้ไว้ที่ปฏิทินไหน
6. รายละเอียดอื่นๆที่ต้องการอธิบายเพิ่มเติม
7. เลือกสีของเหตุการณ์นั้นๆ เพื่อจัดประเภทหรือเพื่อให้สังเกตได้ง่าย
1
2
3
4
5
6
7
8
9
24
8. ตั้งค่าการเตือนล่วงหน้า โดยเลือกได้ว่าจะให้เตือนเป็น E-mail, Pop-up (หรือส่งเป็น sms ในกรณีที่มีการตั้งค่า
โทรศัพท์เอาไว้) เป็นเวลาล่วงหน้าเท่าไร สามารถเพิ่มการเตือนได้โดยกดที่ Add a reminder
การตั้งค่านี้จะเป็นการเตือนเฉพาะบุคคล ไม่ใช่การเตือนไปยังผู้เข้าร่วม ทุกๆคน
9. การใส่รายชื่อผู้เข้าร่วม โดยสามารถพิมพ์ e-mail ส่วนบุคคลหรือ group ก็ได้
หากต้องการลบรายชื่อให้กด x ที่ด้านท้ายชื่อนั้น
ที่ด้านล่างจะมีการกาหนดสิทธิ์ของผู้เข้าร่วมในการแก้ไขรายละเอียด,
เชิญบุคคลอื่น หรือเห็นรายชื่อผู้เข้าร่วมทั้งหมดได้
สาหรับผู้เข้าร่วมบางคนที่ได้รับเชิญ แต่ไม่จาเป็นต้องเข้าร่วม
ให้กดที่ Make some attendees optional
กรณีที่มีการใส่รายชื่อผู้เข้าร่วมหลายคน สามารถหาช่วงเวลาที่ทุกคน
ว่างตรงกันได้ โดยกดที่ Find a time
การปรับแต่งปฏิทิน
บริเวณด้านท้ายของชื่อปฏิทิน ให้กดที่ เพื่อเปิดการตั้งค่าต่างๆ มีรายละเอียดดังนี้
Display only this Calendar: แสดงผลเฉพาะปฏิทินที่เลือก โดยจะปิดการ
แสดงผลของปฏิทินอื่นๆทั้งหมด
Calendar settings: เข้าไปตั้งค่าปฏิทินเช่น ตั้งชื่อปฏิทิน ตั้ง Time zone
Create event on this calendar: ให้ผลลัพธ์เหมือนการกด
Share this Calendar: กาหนดสิทธิ์การใช้งานให้บุคคลอื่น
Notifications: ตั้งค่าการเตือนล่วงหน้าของปฏิทิน
25
การกาหนดสิทธ์การใช้งานปฏิทินให้บุคคลอื่น
บริเวณด้านท้ายของชื่อปฏิทิน ให้กดที่ เลือก Share this Calendar
หากต้องการให้ทุกคนในองค์กร สามารถเข้าใช้งานปฏิทินของคุณได้ ให้เลือก Share this calendar with everyone in the
organization โดยสามารถกาหนดสิทธิได้ว่าระหว่าง See all event details หรือ See only free/busy
สาหรับการกาหนดสิทธิ์เป็นรายบุคคล ให้ใส่ e-mail ของบุคคลนั้นลงไปที่ช่อง Person โดยสามารถกาหนดสิทธิ์ได้ 4 ระดับ คือ
 See only free/busy (hide details): อนุญาตให้เห็นเวลาว่าง
 See all event details: อนุญาตให้เห็นรายละเอียดของตารางนัดหมาย
 Make changes to events: อนุญาตให้แก้ไขรายละเอียดของตารางนัดหมาย
 Make changes AND manage sharing: อนุญาตให้แก้ไขการตั้งค่าต่างๆรวมถึงการกาหนดสิทธิ์ของปฏิทิน
26
การใช้งาน Document
เมื่อเข้ามาที่หน้า Documents จะพบกับส่วนประกอบต่างๆ ดังนี้
1. ช่องสาหรับ search documents
ที่ช่องนี้จะแสดงผลเงื่อนไขของเอกสารที่ปรากฏอยู่ใน document list ที่บริเวณกลางหน้าจอ ตัวอย่างจากรูปด้านบน
หมายความว่า ขณะนี้เอกสารที่แสดงอยู่ใน document list เป็นเอกสารที่อยู่ใน Home เป็นประเภท Spreadsheets
เจ้าของเอกสารคือเจ้าของ account ที่กาลัง login อยู่ และมีการตั้งค่า sharing ไว้ที่ระดับ private
เราสามารถค้นหาเอกสารจากคาค้นต่างๆได้ โดยการพิมพ์คาค้นในช่องนี้ซึ่งจะแสดงรายชื่อเอกสารที่มี Title ตรงกับ
คาค้นนั้นๆ ดังรูป
1
2
3
4
5
27
นอกจากค้นหาเอกสารที่มี title ตรงกับคาค้นแล้ว Google Documents ยังสามารถค้นหาเอกสารที่มีเนื้อหาตรงกับ
คาค้นได้ โดยการพิมพ์คาค้นที่ต้องการ แล้วกดที่ Search for all items containing ‘…’
2. ส่วนสาหรับสร้างและ browse documents
Home จะแสดงเอกสารทั้งหมดใน Google Documents ทั้งเอกสารที่เราเป็น
เจ้าของและเอกสารที่มีผู้อื่น share มาให้เรา (แต่จะไม่แสดงผลเอกสารที่ตั้งค่าให้
ซ่อนไว้ใน Home และเอกสารใน Trash)
Starred จะแสดงเอกสารที่เราทาเครื่องหมายรูปดาวติดไว้
All items จะแสดงเอกสารทั้งหมด (รวมถึงเอกสารที่ตั้งค่าให้ซ่อนไว้ใน Home แต่
ไม่รวมเอกสารใน Trash)
Trash จะแสดงเอกสารที่เราสั่งลบไว้ โดยที่เอกสารที่ลบจะยังคงอยู่ใน Trash จนกว่าเราจะเข้ามาลบจาก Google
Docs
Owned by me จะแสดงเอกสารที่เราได้สิทธิ์เป็น owner
กดปุ่ม “Create new” เพื่อแสดงรายการประเภทของเอกสารที่สามารถสร้างใหม่ได้
กดปุ่ม “Upload” เพื่อแสดงรายการ upload ซึ่งสามารถเลือกได้ว่าจะ upload เป็น Files หรือ Folder นอกจากนี้ยังมี
การแสดงจานวนพื้นที่ที่ใช้ไปจากพื้นที่ทั้งหมด
28
3. การจัดหมวดหมู่ให้ documents
ส่วนนี้จะแสดง Collections ที่เราได้สร้างไว้ หน้าที่ของ Collections คือช่วยให้
เราจัดหมวดหมู่ของเอกสารได้ตามต้องการ (ทาหน้าที่คล้าย labels ใน Mail
เอกสารแต่ละอันสามารถอยู่ใน Collections ได้หลายๆที่)
Collections ที่เราสร้างขึ้นมา สามารถตั้งชื่อ เลือกสี สร้าง Sub-collection ตั้ง
ค่าการ share และเพิ่มเอกสารเข้ามาใน Collections ได้
4. ส่วนแสดงผล documents list ซึ่งจะแสดงผลเอกสารตามเงื่อนไขที่เราเลือก (เงื่อนไขที่เลือกจะแสดงอยู่ในช่อง
search บริเวณด้านบน)
กดที่ เพื่อเลือกให้แสดงผลเอกสารตามประเภทที่ต้องการ
29
สามารถเลือกให้แสดงเอกสารได้ตามประเภทดังนี้
 Text documents
 Spreadsheets
 Forms
 Presentations
 Drawings
 PDF files
กดที่ เพื่อเลือกให้แสดงผลเอกสารตามการตั้งค่าต่างๆ ดังนี้
Visibility เลือกแสดงเอกสารตามระดับการตั้งค่า sharing ของเอกสารนั้น
Ownership เลือกแสดงเอกสารตามสิทธิ์การเป็น owner ของเอกสารนั้น
กดที่ “Sort by” เพื่อเรียงลาดับเอกสารตามลาดับ โดยสามารถเลือกเงื่อนไขได้ดังนี้
 Last modified เรียงตามลาดับการแก้ไขเอกสาร
 Last opened by me เรียงตามลาดับการเปิดดูเอกสาร
 Title เรียงลาดับตามชื่อเอกสาร
 Storage used เรียงลาดับตามขนาดเอกสาร
 Priority เรียงตามลาดับความสาคัญ
เลือกเครื่องหมาย หน้าชื่อเอกสารที่ต้องการ และกดที่ เพื่อเลือกคาสั่งสาหรับจัดการเอกสาร มี
รายการดังนี้
30
 Open เปิดเอกสาร
 Share… เข้าสู้การตั้งค่าการ sharing
 Add/Remove star ติดดาวหรือย้ายดาวออก
 Don’t show in home ไม่แสดงเอกสารในหน้า home
 Organize… จัดการเอกสารด้วย Collections
 Rename… เปลี่ยนชื่อเอกสาร
 Mark as viewed/unviewed เปลี่ยนสถานะการเปิดเอกสาร
 Download… ดาวน์โหลดเอกสาร
 Submit to template gallery
 Move to trash ลบเอกสาร
5. ส่วนแสดง document preview
ส่วนนี้จะใช้แสดงรายละเอียดต่างๆของเอกสารที่เลือกไว้ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
ชื่อเอกสาร
ภาพตัวอย่างของเอกสาร
เวลาเปิด/แก้ไข เอกสาร
รายละเอียดของเอกสาร
รายละเอียด Collections
รายละเอียดการตั้งค่า Sharing
31
จัดระเบียบเอกสารด้วย Collections
Collections ทาหน้าที่เป็นที่เก็บเอกสารให้เป็นหมวดหมู่ คล้ายกับ Labels ใน Gmail ซึ่งเอกสารแต่ละไฟล์สามารถ
ปรากฏอยู่ใน Collections ได้หลาย Collections
การสร้าง Collections
1. ที่หน้า Google Docs ให้กดที่ Create new > Collection
2. ใส่ชื่อ Collection ตามต้องการ > OK
3. จะปรากฏ Collection ที่เราเพิ่งสร้างขึ้นมาใน My Collections
การเพิ่มเอกสารเข้าใน Collection
1. ที่หน้า Google Docs ให้เลือก หน้าชื่อเอกสารที่ต้องการ
32
2. หลังจากเลือกเอกสารแล้ว สามารถเพิ่มเอกสารเข้าใน Collection ได้ 2 ทางคือ
a. ใช้เมาส์ลากเอกสารโดยการคลิกที่หน้าเครื่องหมาย มาวางที่ Collections ที่ต้องการ
b. กดที่ Actions > Organize และเลือก Collection ที่ต้องการ
3. ที่ด้านท้ายของเอกสารจะปรากฏชื่อ Collection ที่มีเอกสารนั้นอยู่
และเมื่อเข้าไปที่ Collection นั้นๆจะปรากฏรายการของเอกสารที่อยู่ใน Collection นั้น
33
ฝากไฟล์กับ Google Docs
Google Docs นอกจากจะเป็นที่เก็บเอกสารออนไลน์แล้ว เรายังสามารถใช้ Google Docs เป็นพื้นที่เก็บไฟล์ต่างๆได้
โดย Google Docs จะมีพื้นที่ให้ 1 GB (พื้นที่ที่ใช้จะนับเฉพาะไฟล์ที่ upload ขึ้นไป ไม่นับรวมเอกสารออนไลน์ของ Google
Docs)
การตรวจสอบพื้นที่ของ Google Docs
เราสามารถตรวจสอบการใช้พื้นที่ได้ 2 ทางดังนี้
a. กดที่ จะสังเกตเห็นข้อความแสดงพื้นที่ในหน่วย MB ของพื้นที่ทั้งหมด
b. กดที่ > Documents settings รายละเอียดจะอยู่ในหัวข้อ Storage
การ Upload ไฟล์ขึ้น Google Docs
1. กดที่ และเลือก Files… หากต้องการ upload ไฟล์ หรือเลือก Folder… หากต้องการ upload folder
34
2. เลือกไฟล์หรือ folder ที่ต้องการ upload จากหน้าต่าง pop up
3. เมื่อเลือกไฟล์เสร็จแล้ว จะมีตัวเลือกขึ้นมาให้เลือกในกรณีที่ต้องการแปลงไฟล์เป็น Google Docs format เมื่อเลือก
เสร็จแล้วให้กด
4. ที่ด้านขวาล่างของหน้า Google Docs จะปรากฏแถบแสดงการ upload
เมื่อ upload เสร็จแล้วสามารถตั้งค่า sharing ได้โดยกดที่ Share ด้านท้ายชื่อเอกสารนั้น
35
การ Export และ Download เอกสารจาก Google Docs
1. กดที่ หน้าเอกสารที่ต้องการ download
2. กดที่ Actions > Download…
3. เลือกประเภทไฟล์ที่ต้องการ download
36
การเลือกประเภทไฟล์ที่ download จะขึ้นอยู่กับประเภทของเอกสาร ซึ่งมีรายละเอียดดังตาราง
Google Docs format ประเภทไฟล์ที่สามารถเลือก download ได้
HTML, Open Document, PDF, Rich Text (RTF), Plain Text, Microsoft Word
PDF, PowerPoint, Plain Text
Microsoft Excel, Open Office Spreadsheet, PDF
Microsoft Excel, Open Office Spreadsheet, PDF
PDF, JPEG, PNG, SVG
Original file types
การสร้างและจัดรูปแบบเอกสาร
การสร้างและตั้งชื่อเอกสาร
1. ที่หน้า Google Docs กด > เลือกประเภทเอกสารที่ต้องการสร้าง
2. การตั้งชื่อ (หรือเปลี่ยนชื่อ) เอกสารสามารถทาได้สองทางคือ
a. กดที่ชื่อเอกสารบริเวณด้านซ้ายบนของหน้าเอกสาร
b. กดที่ File > Rename…
37
3. ใส่ชื่อที่ต้องการลงในช่อง Rename > OK
4. ชื่อเอกสารจะเปลี่ยนเป็นชื่อที่ตั้งใหม่
ส่วนประกอบของหน้าเอกสาร
ที่หน้าเอกสาร มีส่วนประกอบหลักดังนี้
1
2
3
4
38
1. รายละเอียดของเอกสาร ซึ่งประกอบด้วย
a. สัญลักษณ์รูปดาว สาหรับช่วยให้เข้าใช้งานเอกสารได้ง่ายขึ้น เอกสารที่ขึ้นสัญลักษณ์รูปจะปรากฏอยู่ใน
แถบ ที่หน้า Google Docs (สามารถกดที่รูปดาวได้)
b. ชื่อเอกสาร กดที่ชื่อเอกสารเพื่อเปลี่ยนหรือตั้งชื่อเอกสาร
c. ระดับการ share ของเอกสาร ซึ่งมีทั้งหมด 5 ระดับ แต่ละระดับจะจากัดสิทธิ์การเข้าถึงดังนี้
i. Public on the web – เข้าถึงได้
ii. Anyone with the link – ทุกคนสามารถเข้าถึงได้ผ่าน link
iii. This organization – user ทุกคนในองค์กร
iv. People at this organization with the link – user ในองค์กรที่มี link ของเอกสาร
v. Private – เฉพาะ owner และผู้ที่ได้รับสิทธิ์จาก owner เท่านั้น
2. คาสั่งการใช้งานของเอกสาร และแผงควบคุมการจัดรูปแบบเอกสาร
คาสั่งในส่วนนี้จะมีรายละเอียดแตกต่างกันตามประเภทของเอกสาร (Document, Spreadsheet, Presentation หรือ
Drawing)
3. ปุ่มสาหรับบันทึกเอกสารและตั้งค่าการ share ของเอกสาร
โดยปกติ Google Docs จะบันทึกเอกสารให้โดยอัตโนมัติ แต่หากต้องการบันทึกเอกสาร สามารถกดที่ปุ่ม
กดที่ลูกศรด้านข้างปุ่ม จะปรากฏรายการคาสั่งดังนี้
39
 Share… สาหรับตั้งค่าการ Share ของเอกสาร
 Email collaborators… ส่ง email หาผู้อื่นพร้อม link ของเอกสารนี้
 Email as attachment…ส่ง email โดยแนบเอกสารนี้เข้าไปใน email
 Publish to the Web… เผยแพร่ข้อมูลในเอกสาร
4. ส่วนเนื้อหาของเอกสาร ซึ่งจะขึ้นอยู่กับประเภทของเอกสารนั้นๆ เช่นกัน
หน้าต่างเอกสารประเภท Document หน้าต่างเอกสารประเภท Spreadsheet
หน้าต่างเอกสารประเภท Presentation หน้าต่างเอกสารประเภท Drawing
หน้าต่างเอกสารประเภท Form
40
การดูประวัติการแก้ไขเอกสารและเรียกใช้งานเอกสารเวอร์ชันเก่า
ระหว่างที่มีการแก้ไขเอกสาร Google Docs จะบันทึกเอกสารให้โดยอัตโนมัติ หากเราต้องการเรียกดูประวัติการแก้ไข
เอกสาร และย้อนกลับไปใช้เอกสารเวอร์ชันก่อนหน้านี้สามารถทาได้โดย
1. ที่หน้าแก้ไขเอกสาร กด File > see revision history
2. จะปรากฏแถบด้านข้าง แสดงรายละเอียดการแก้ไขเอกสารเรียงลาดับตามเวลา และ user account ที่แก้ไข
เอกสารครั้งนั้นๆ
41
3. กดที่เวอร์ชันเอกสารที่ต้องการดูรายละเอียดการแก้ไข ส่วนแสดงผลเอกสารจะแสดงรายละเอียดการแก้ไขเป็น
ช่องสีโดยจะแสดงเป็นสีเดียวกับ user account ที่แก้ไขเอกสารนั้น
4. หากต้องการเรียกใช้งานเอกสารเวอร์ชันนั้นๆให้กดที่ Restore this revision
42
การใช้งาน Site
Google Site เป็นโปรแกรมสาหรับสร้างหน้าเวบไซต์อย่างง่าย ทาให้การเผยแพร่ข้อมูลต่างสะดวกมากยิ่งขึ้น
เนื่องจากการใช้งาน Google Site นั้น ไม่จาเป็นต้องมีความรู้ในการเขียนโค้ด และเวบไซต์ที่สร้างขึ้น สามารถแสดงผลข้อมูล
จาก Google Calendar, Google Docs, Youtube, Picasa และบริการอื่นๆอีกมากมาย
เราสามารถกาหนดสิทธิ์การเข้าใช้งาน Google Site ได้ทั้งระดับ user account, ระดับองค์กร หรือเผยแพร่เวบไซต์
ออกสู่สาธารณะ
ที่หน้า Google Site จะแสดง link ของ site ที่เราสร้างไว้และ site ที่เราลบทิ้ง สาหรับ site ที่เราลบนั้นสามารถกู้
คืนกลับมาได้ภายใน 30 วันนับจากวันที่ลบ site นั้น
43
การสร้าง Site
1. ที่หน้า Google Site กดที่ จะปรากฏหน้า Create new site ดังรูป
2. กดที่ Browse the gallery for more เพื่อใช้งาน template รูปแบบต่างๆของ Google Site (หากไม่ต้องการใช้
งาน template สามารถเลือก Blank template ได้)
44
3. ที่ช่อง Name your site ให้ใส่ชื่อ site ที่เราต้องการ
ที่ช่อง Your site will be located at this URL: จะปรากฏชื่อ link ตามชื่อ site ที่เราตั้ง เราสามารถแก้ไข URL นี้
ได้ตามต้องการ
4. กดที่ Choose theme เพื่อเลือก theme ให้กับ site
5. กดที่ More option เพื่อตั้งค่ารายละเอียดต่างๆดังนี้
45
Site categories: รายละเอียดหมวดหมู่ของ site เป็นการใส่ tag ให้กับ site นั้น (สามารถใส่ได้หลาย tag)
Site description: ใส่คาอธิบายของ site
Collaborate with: ระบุสิทธิ์การเข้าใช้งาน site
6. กดที่ เพื่อสร้าง site ตามรายละเอียดที่เลือกไว้
การเปลี่ยน theme, ภาพพื้นหลัง, สี และ logo
Site ที่เรามีสิทธิ์ในการแก้ไข สามารถเปลี่ยนการแสดงผลส่วนประกอบต่างๆได้ ดังนี้
1. ที่หน้า site ให้กดที่ More actions > Manage site
2. ที่หน้า manage site บริเวณแถบด้านซ้ายจะมีหัวข้อ Site appearance ให้เลือก
46
3. กดที่ Themes เพื่อเปลี่ยน theme (สามารถกดที่ build your own custom theme เพื่อสร้าง theme ส่วนตัวได้)
กดที่ Colors and Fonts เพื่อปรับเปลี่ยนการแสดงผล Font ในส่วนต่างๆของ site (สามารถเลือกใส่ภาพพื้นหลัง
ในแต่ละส่วนของ site ได้)
47
4. กดที่ Site layout เพื่อปรับแต่งการจัดวางหน้า site
สามารถเลือกเปลี่ยน logo ของ site ได้โดยกดที่ change logo
48
การเพิ่ม Sidebar item
Sidebar นอกจากจะใช้แสดง page ต่างๆใน site นั้นๆแล้ว เรายังสามารถเพิ่ม item อื่นๆเข้ามาใน sidebar ได้
เพิ่มเติม เช่น Countdown สาหรับใช้นับวันถอยหลังจนกว่าจะถึงวันที่กาหนด หรือนับจานวนวันหลังจากเริ่มต้นโครงการ หรือ
Text box สาหรับใส่ข้อมูลต่างๆที่ต้องการให้ปรากฏบน sidebar ดังตัวอย่างด้านล่าง
ที่หน้า manage site > Site layout ให้กดที่ Add a sidebar item
กด Add ที่ item ที่เราต้องการ item นั้นจะปรากฏอยู่ที่ layout ของ Sidebar:
49
กดที่ปุ่ม edit ใน item นั้นๆ เพื่อตั้งค่าการแสดงผลของ item (รายละเอียดการตั้งค่าจะขึ้นอยู่กับ item ด้วย)
สามารถสลับลาดับการแสดงผลของ item ได้โดยการใช้เมาส์ลาก item ไปวางตามลาดับที่ต้องการ
การลบ site
Site ที่เราลบจะอยู่ที่ส่วน Deleted sites เป็นเวลา 30 วัน เราสามารถกู้คืน site ที่ยังอยู่ใน Deleted sites ได้โดยการ
เข้าไปกดที่ จากหน้า Deleted sites
ส่วนการลบ site ที่ไม่ต้องการใช้งาน จะอยู่ในหน้า manage site (ที่หน้า site กด More actions > Manage site)
ที่แถบ General บริเวณด้านล่างจะมี link ให้กด delete this site
50
การสร้าง page โดยใช้ standard layout
หากต้องการสร้าง page ใหม่ ให้กดที่ จะปรากฏ template สาหรับ page ใหม่ให้เลือก ดังนี้
 Web Page: เป็นหน้า page แบบพื้นฐาน สามารถแก้ไขส่วนต่างๆของ page ได้
51
 Announcements: เป็น page สาหรับประกาศข่าวสารต่างๆ หรือบันทึกการประชุม
 File Cabinet: สาหรับ upload ไฟล์จากเครื่อง (หรือ URL) ไว้บน page นี้ได้
52
 List: แสดงข้อมูลเป็นรายการ สามารถแก้ไขหัวข้อของแต่ละรายการได้
การแก้ไข Page Settings
ในกรณีที่เราต้องการเปลี่ยนแปลงค่าต่างๆของ page เช่น แก้ไข URL ของหน้า page หรือแก้ไข template จาก Web
page เป็น Announcement และอื่นๆ สามารถเข้าไปแก้ไขการตั้งค่าเหล่านี้ได้ที่
1. ที่หน้า page กดที่ More actions > Page settings
53
2. จะขึ้นหน้าต่าง Page Settings
สามารถแก้ไข URL ของ page นี้ได้โดยพิมพ์ URL ที่ต้องการลงในช่อง Page URL
หากต้องการเปลี่ยน template ของ page นี้ให้กดที่ (Change) ด้านหลัง Currently using page template …
การลบ page
1. ที่หน้า page กดที่ More actions > Delete page
54
2. จะขึ้นหน้าต่างยืนยัน ให้กด
การกู้คืนข้อมูล page และ item
หากเราลบ item หรือ page เราสามารถกู้คืนข้อมูลเหล่านั้นได้ ดังนี้
1. ที่หน้า site กดที่ More actions > Manage site
2. ที่หน้า Manage site บริเวณแถบด้านข้างให้กดที่ Deleted items
55
3. จะปรากฏรายการ item และรายละเอียดของ item ที่โดนลบทิ้งดังรูป
4. กดที่เครื่องหมาย หน้า item ที่ต้องการกู้ข้อมูล และกดที่ เพื่อกู้ข้อมูลนั้นคืน
การใส่ Apps อื่นเข้ามาใน page
Google Sites สามารถดึงข้อมูลจาก Apps อื่นๆมาแสดงผลได้มากมาย เช่น แสดงผลข้อมูลจาก Google Calendar,
Google Docs, YouTube, Picasa ฯลฯ มีขั้นตอนดังนี้
1. ที่หน้า page ให้เข้าสู่โหมดการแก้ไข โดยกดที่
2. เมื่อเข้าสู่โหมดการแก้ไข จะปรากฏแถบเครื่องมือสาหรับใช้แก้ไขการแสดงผลของ page ขึ้นมา ให้กดที่ Insert
เครื่องมือของ Google Sites
แสดงข้อมูลจาก Apps อื่นๆของ Google
(สามารถใส่ video จาก YouTube และ
Google Docs Video ได้)
Gadgets อื่นๆ อีกมากมาย
(กดที่ More gadgets เพื่อเพิ่ม gadget อื่นๆ)
56
กาหนดสิทธิ์การเข้าใช้งาน site
Google Sites สามารถใช้เป็นเครื่องมือสื่อสารภายในทีม แผนก องค์กร หรือ เผยแพร่เนื้อหาสู่สาธารณะได้ โดยการ
กาหนดสิทธิ์การเข้าใช้งาน site นั้น การตั้งค่าการกาหนดสิทธิ์สามารถทาได้โดย
1. ที่หน้า site ให้กดที่ More actions > Sharing and Permissions
จะปรากฏหน้าต่างสาหรับตั้งค่าการกาหนดสิทธิ์
57
กดที่ Change… เพื่อตั้งระดับของ Visibility options (หลักการเดียวกับการกาหนดสิทธิ์ของ Google Docs)
ที่ช่อง Add people: สามารถใส่ account ของบุคคลหรือกลุ่ม ที่ต้องการ share site นี้แบบเฉพาะเจาะจงได้
เช่นเดียวกับ การ share Google Docs
บทส่งท้าย
Google Apps for Business เป็นบริการเครื่องมือสื่อสารและทางานร่วมกัน ทั้งภายในและระหว่างองค์กร ผู้เขียน
หวังว่า คู่มือชุดนี้จะช่วยให้ผู้ศึกษาเข้าใจหลักการใช้งานในขั้นพื้นฐาน และสามารถนาไปประยุกต์การใช้งานให้เหมาะสมกับ
การทางานของตนและองค์กรเพื่อให้เกิดเป็นประโยชน์สูงสุด
เนื่องจาก Google Apps for Business เป็นบริการที่มีการพัฒนาคุณภาพ และมีความสามารถใหม่ๆเพิ่มขึ้นอยู่
ตลอดเวลา รายละเอียดบางส่วนของคู่มือชุดนี้เช่น หน้าตาการใช้งาน หรือตาแหน่งของส่วนประกอบต่างๆ อาจจะแตกต่างไป
บ้าง ทั้งนี้การเขียนคู่มือชุดนี้จะอธิบายเป็นส่วนๆ ซึ่งหากผู้ศึกษาทาความเข้าใจได้แล้ว ก็สามารถที่จะเรียนรู้ความสามารถ
ใหม่ๆได้เองต่อไป
หากคู่มือชุดนี้มีความผิดพลาดประการใด ผู้เขียนขออภัยมา ณ ที่นี้และหากผู้ศึกษาต้องการสอบถามการใช้งาน
เพิ่มเติม สามารถติดต่อได้ที่ email address: google.support@tangerine.co.th

More Related Content

Similar to user manual google apps

Facebook 110712022826-phpapp02
Facebook 110712022826-phpapp02Facebook 110712022826-phpapp02
Facebook 110712022826-phpapp02
Gip Chit
 
คู่มือ Facebook
คู่มือ Facebookคู่มือ Facebook
คู่มือ Facebook
thanakit553
 

Similar to user manual google apps (20)

Facebook 110712022826-phpapp02
Facebook 110712022826-phpapp02Facebook 110712022826-phpapp02
Facebook 110712022826-phpapp02
 
Facebook
FacebookFacebook
Facebook
 
Facebook
FacebookFacebook
Facebook
 
Facebook[kitakapoo2013]
Facebook[kitakapoo2013]Facebook[kitakapoo2013]
Facebook[kitakapoo2013]
 
Facebook
FacebookFacebook
Facebook
 
Facebook
FacebookFacebook
Facebook
 
Facebook
FacebookFacebook
Facebook
 
Facebook
FacebookFacebook
Facebook
 
คู่มือ Facebook
คู่มือ Facebookคู่มือ Facebook
คู่มือ Facebook
 
คู่มือ Facebook
คู่มือ Facebookคู่มือ Facebook
คู่มือ Facebook
 
Facebook
FacebookFacebook
Facebook
 
คู่มือการใช้ Facebook เบื้องต้น
คู่มือการใช้ Facebook เบื้องต้นคู่มือการใช้ Facebook เบื้องต้น
คู่มือการใช้ Facebook เบื้องต้น
 
Facebook
FacebookFacebook
Facebook
 
Facebook
FacebookFacebook
Facebook
 
Facebook
FacebookFacebook
Facebook
 
Facebook
FacebookFacebook
Facebook
 
Facebook
FacebookFacebook
Facebook
 
Facebook
FacebookFacebook
Facebook
 
Facebook
FacebookFacebook
Facebook
 
Facebook
FacebookFacebook
Facebook
 

user manual google apps

  • 2. 2 สารบัญ จุดเด่นของ Google Apps......................................................................................................................................5 การเข้าใช้งาน Google Apps......................................................................................................................................5 การใช้งาน Mail......................................................................................................................................................6 การเขียน Message ใหม่..................................................................................................................................9 ทาความเข้าใจ Labels และ Conversations.......................................................................................................11 Label.................................................................................................................................................................11 Conversations...................................................................................................................................................11 การจัดการ Message...........................................................................................................................................13 จัดการ Labels......................................................................................................................................................15 การกาหนด label ให้กับ message...............................................................................................................16 การย้าย label ออกจาก message................................................................................................................16 การใช้งาน Filter...................................................................................................................................................17 การมอบหมายให้บุคคลอื่นใช้งาน Mail..........................................................................................................18 การตั้งค่า Signature.............................................................................................................................................20 การใช้งาน Calendar.................................................................................................................................................21 การสร้างตารางนัดหมาย..................................................................................................................................22 การปรับแต่งปฏิทิน............................................................................................................................................24 การกาหนดสิทธ์การใช้งานปฏิทินให้บุคคลอื่น............................................................................................25
  • 3. 3 การใช้งาน Document ...............................................................................................................................................26 จัดระเบียบเอกสารด้วย Collections.................................................................................................................31 การสร้าง Collections......................................................................................................................................31 การเพิ่มเอกสารเข้าใน Collection .....................................................................................................................31 ฝากไฟล์กับ Google Docs...................................................................................................................................33 การตรวจสอบพื้นที่ของ Google Docs..............................................................................................................33 การ Upload ไฟล์ขึ้น Google Docs......................................................................................................................33 การ Export และ Download เอกสารจาก Google Docs....................................................................................35 การสร้างและจัดรูปแบบเอกสาร.....................................................................................................................36 การสร้างและตั้งชื่อเอกสาร........................................................................................................................36 ส่วนประกอบของหน้าเอกสาร...................................................................................................................37 การดูประวัติการแก้ไขเอกสารและเรียกใช้งานเอกสารเวอร์ชันเก่า..............................................................40 การใช้งาน Site..........................................................................................................................................................42 การสร้าง site........................................................................................................................................................43 การเปลี่ยน theme, ภาพพื้นหลัง, สี และ logo................................................................................................45 การเพิ่ม sidebar item...........................................................................................................................................48 การลบ site...........................................................................................................................................................49 การสร้าง page โดยใช้ standard layout.............................................................................................................50 การแก้ไข Page Settings......................................................................................................................................52 การลบ page ........................................................................................................................................................53
  • 4. 4 การกู้คืนข้อมูล page และitem..........................................................................................................................54 การใส่ Apps อื่นเข้ามาใน page........................................................................................................................55 กาหนดสิทธิ์การเข้าใช้งาน site........................................................................................................................56 บทส่งท้าย..................................................................................................................................................................57
  • 5. 5 คู่มือฉบับนี้จะแนะนาการใช้งานเครื่องมือต่างๆของชุด Google Apps ได้แก่ Mail, Calendar, Docs และ Sites ซึ่งจะ ช่วยให้คุณสามารถติดต่อสื่อสาร และทางานร่วมกันได้ง่ายและมีประสิทธิภาพมากขึ้น จุดเด่นของ Google Apps  พื้นที่เก็บ e-mail มากถึง 25 GB สามารถเก็บ e-mail ทั้งหมดไว้โดยไม่ต้องสารองข้อมูลแบบ offline  ความสามารถใหม่ๆที่ช่วยให้จัดการ e-mail ได้อย่างสะดวก เช่น labels, conversation, search operation  เข้าใช้งานได้จากอุปกรณ์ต่างๆทั้ง Notebook, โทรศัพท์มือถือ หรือ Tablet ทุกที่ และทุกเวลา  ใช้งานได้ทั้ง PC, Mac หรือ Linux  กรณีที่เกิดความเสียหายกับเครื่อง computer ที่ใช้งานอยู่ ข้อมูลทั้งหมดของคุณจะยังคงอยู่อย่างปลอดภัย และ เรียกใช้งานจากเครื่องอื่นๆได้ทันที  จัดตารางนัดหมายขององค์กร(หรือกลุ่ม)ได้ด้วย Calendar ที่ทุกคนในองค์กร(หรือกลุ่ม) ใช้งานร่วมกัน  ใช้งาน document, spreadsheet ร่วมกัน โดยที่ทุกคนในกลุ่มสามารถเข้าใช้งานและแก้ไขได้พร้อมกัน  ใช้งาน IM ได้ทั้ง text, voice หรือ video จากหน้าใช้งาน e-mail การเข้าใช้งาน Google Apps 1. ที่หน้า Web browser ให้เปิด url ไปที่ https://mail.google.com/a/yourdomain 2. ใส่ username และ password
  • 6. 6 การใช้งาน Mail หลังจาก login เข้าใช้งาน browser จะแสดงผลหน้าจอของ Mail ซึ่งมีส่วนต่างๆดังนี้ 1. Link สาหรับเข้าใช้งานเครื่องมือต่างๆ เช่น Calendar, Documents, Groups หรือ Contacts 2. ช่องสาหรับใส่ keyword เพื่อ Search Mail สามารถกดที่ Show search options เพื่อแสดงช่องการค้นหาแบบละเอียดได้ 1 2 3 4 5 6
  • 7. 7 3. การตั้งค่าต่างๆของ Mail โดยจะมีชื่อ username ที่กาลัง login แสดงอยู่ กรณีที่ username ที่แสดงไม่ ถูกต้อง ให้กดที่ Sign out เพื่อไปหน้า login 4. Navigation Pane จากรูป กล่องสีฟ้ าอ่อนอยู่ที่ Mail หมายถึงกาลังใช้งาน Mail สามารถเข้าใช้งาน Contacts และ Tasks ได้โดยการกด link ที่ส่วนนี้ กด เพิ่อเริ่มเขียน message ส่วนถัดมาเป็นส่วนที่ใช้แสดง message ประเภทต่างๆ เช่น Inbox, Starred, Important, Sent Mail, Drafts และ label list ที่สามารถสร้างเพิ่มได้ 5. Chat Pane แสดงรายชื่อ Contact และสถานะการ online สามารถตั้งสถานะตั้งสถานะเป็นข้อความส่วนตัวได้ หรือกด ที่ชื่อเพื่อเริ่มสนทนาได้ทันที
  • 8. 8 สาหรับหน้าต่าง Chat ด้านบนจะแสดงชื่อ Contact ที่กาลังคุยด้วย กด หรือ เพิ่อเริ่มใช้ video/voice chat กด เพื่อเพิ่มรายชื่อ Contact เข้ามา chat ในหน้าต่างเดียวกันได้หลายๆคน บริเวณด้านบน กด เพื่อแยกหน้าต่าง chat ออกมาเป็นหน้าต่างใหม่ 6. Message list แสดงรายระเอียดต่างๆของ Message เช่น Sender, Subject และ date กรณีที่ message นั้นมีไฟล์แนบมาด้วย สามารถสังเกตุได้จากรูป ที่ด้านท้าย Tip1: สามารถกาหนดดาวได้โดยกดที่ บริเวณด้านซ้ายของ message Tip2: บริเวณด้านล่างของหน้าจอจะแสดงปริมาณพื้นที่ที่ใช้ไปเทียบกับพื้นที่ทั้งหมด
  • 9. 9 การเขียน Message ใหม่ 1. ที่หน้า Mail กดที่ 2. จะเข้าสู่หน้า Compose mail ดังภาพ Tip: กดที่ เพื่อแยกหน้าต่าง Compose mail
  • 10. 10 3. ที่ช่อง To: เมื่อเริ่มพิมพ์ตัวอักษรลงไป ระบบ auto-complete เลือกชื่อจาก Contacts ที่เกี่ยวข้องมาให้ Tip1: สามารถกดที่ To: เพื่อเปิดหน้าต่าง Contact ได้เช่นกัน Tip2: สาหรับ Cc และ Bcc สามารถกด เพื่อเพิ่มชื่อผู้รับ message ได้เช่นเดียวกับ To: 4. ใส่หัวข้อที่ช่อง Subject หากต้องการแนบไฟล์ สามารถกด Attach a file แล้วเลือกไฟล์ที่ต้องการแนบ ขณะที่ไฟล์กาลัง upload จะขึ้นแถบแสดงสถานะการ upload Tip1: หากต้องการแนบไฟล์อื่นๆเพิ่มเติมให้กดที่ Attach another file Tip2: สามารถยกเลิกการแนบไฟล์ได้ ด้วยการเอาเครื่องหมาย หน้าชื่อไฟล์ ออก 5. ปรับแต่งข้อความได้ ด้วยเครื่องมือต่างๆ 6. ที่บริเวณด้านบน สังเกตุเห็นว่าจะมีข้อความ ซึ่งระบบจะทา การ save ข้อความให้โดยอัตโนมัติ โดยข้อความที่ยังไม่ส่งออกไป จะอยู่ใน Drafts 7. กด เพื่อส่งข้อความ Tip: หากจะยกเลิกข้อความ ให้กด
  • 11. 11 ทาความเข้าใจ Labels และ Conversations Labels และ Conversations เป็นระบบจัดการ mail แบบใหม่ที่จะช่วยให้ mail ของคุณเป็นระเบียบ และเรียกใช้งาน ได้ง่าย แต่เนื่องจากสิ่งเหล่านี้เป็นระบบที่ออกแบบขึ้นมาใหม่ การทาความเข้าใจในหลักการทางานของสิ่งเหล่านี้จึงเป็นสิ่ง สาคัญ เพื่อช่วยให้ผู้ใช้สามารถใช้งานสิ่งเหล่านี้ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ และตรงตามวัตถุประสงค์ Label สาหรับ label จะมีหน้าที่คล้ายกับ folder ใน mail แบบทั่วๆไป แต่สิ่งพิเศษกว่าคือ labels เป็นเหมือน “ป้ าย” ที่เรา แปะติดไว้กับ message ซึ่งใน message หนึ่งๆ สามารถแปะป้ ายได้มากกว่าหนึ่งป้ าย จึงเป็นการเพิ่มช่องทางในการค้นหา message นั้นได้จากหลายๆทาง ตัวอย่างเช่น ใน message ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับการจองตั๋วเครื่องบินไปเที่ยวต่างประเทศ เราสามารถแปะป้ ายได้ทั้ง “Travel” และ “Ticket” ทาให้ message นี้ปรากฎอยู่ทั้ง 2 label หากต้องการค้นหา message ดังกล่าว สามารถค้นหาได้ทั้งจาก “Travel” และ “Ticket” เราสามารถสร้าง(หรือลบ) label ขึ้นมาได้เอง โดยสามารถตั้งชื่อ ปรับสี หรือสร้าง label ซ้อนเข้าไปอีกก็ได้ แต่จะมี label พิเศษอยู่จานวนหนึ่ง ซึ่งเป็น label ที่ระบบสร้างให้ ได้แก่ Inbox, Sent Mail, Spam และ Trash ซึ่ง label เหล่านี้เราไม่ สามารถลบ เปลี่ยนสี หรือเอาป้ ายออกจาก message ได้โดยตรง ข้อควรระวังคือ การลบ message จาก Sent Mail คือการลบ message นั้น แม้ว่าเราจะแปะป้ ายอื่นๆไว้ก็ตาม เพราะ มันคือ message เดียวกันที่มี ป้ าย Sent Mail แปะอยู่ อย่างไรก็ตาม หากเผลอลบ message เราสามารถเอากลับคืนได้ที่ Trash ภายใน 30 วัน Conversations โดยปกติ message จะแสดงผลเรียงเวลาในการรับ-ส่ง ซึ่งในกรณีที่มี reply message จานวนมาก หากเรียงตาม เวลา จะเห็นว่า message ที่แต่ละคน reply จะกระจัดกระจายอยู่ เนื่องจากเวลาในการรับ-ส่ง ไม่ได้เรียงต่อเนื่องกัน ทาให้การ อ้างอิง message ต่างในหัวข้อเดียวกันทาได้ไม่สะดวก Conversations เป็นแนวคิดใหม่ที่จะมาช่วยแก้ปัญหาดังกล่าว Message ที่อยู่หัวข้อเดียวกัน แต่เรียงกันอย่างกระจัดกระจาย
  • 12. 12 Conversation รวม message ไว้ในที่เดียว Conversations จะรวมจดหมายแต่ละฉบับที่มี Subject เดียวกัน เข้ามาเป็นกลุ่มเดียว ทาให้ message ทั้งหมด รวมอยู่ด้วยกันอย่างเป็นระเบียบ ดูเรียบร้อยและสะอาดตา และทาให้สามารถอ้างอิง message เก่า ได้ในที่เดียว เมื่อเราเปิด message ที่มีคน reply กลับมา Conversation จะไปดึง message ทั้งหมดที่เกี่ยวข้องรวมถึงอันที่เราส่งไปหาผู้ที่ reply ด้วย มาซ้อนไว้ด้านหลังเรียงลาดับก่อนหลังตามเวลา ทาให้เราสามารถอ่าน message เก่าได้โดยสะดวก Tip: สามารถอ่าน message เก่าได้โดยกดที่บริเวณหัว message หรือกดที่ ทางด้านขวาของ message เพื่อดู รายละเอียดของ message เก่าๆทั้งหมด Message ทั้งหมดถูกซ้อนอยู่ด้านหลัง พร้อมอ่านได้ทันที
  • 13. 13 การจัดการ Message จดหมายทั้งหมดที่บุคคลอื่นส่งมา จะอยู่ใน Inbox สามารถเปิดดูได้ด้วยการคลิกที่จดหมายนั้น เพื่อดูรายละเอียด ต่างๆของจดหมาย โดยมีส่วนประกอบดังนี้ Tip: กด เพื่อแยกหน้าต่างใหม่ 1. ส่วนสาหรับจัดระบบ Message  Archive: เอา label Inbox ออก (ไปอยู่ใน All Mail และ label ที่เรากาหนดไว้)  Report spam: เอา label Inbox ออก (ไปอยู่ใน Spam)  Delete: เอา label Inbox ออก (ไปอยู่ใน Trash) 1 2 3 4
  • 14. 14  Move to: เอา label เดิมออก แล้วกาหนด label ใหม่ให้  Labels: กาหนด label ใหม่เพิ่มเข้าไปโดยไม่เอา label เดิมออก Tip: หากต้องการยกเลิกการกระทาต่างๆ (เช่น กรณีลบ message ผิด) สามารถทาได้โดยกดที่ Undo โดยแถบสีเหลืองนี้จะโผล่มาบริเวณด้านบนของหน้า Mail หลังกระทาสิ่งต่างๆกับ message 2. แสดง Subject ของ Message และ label ของ message นั้น Tip: สามารถแปะดาวได้โดยกดที่ บริเวณ header ของ message 3. ปุ่มสาหรับจัดการ Message Tip: กด show details เพื่อดูรายละเอียดของผู้ส่งและผู้รับ message นั้นๆ 4. ส่วนสาหรับการตอบจดหมาย หรือส่งต่อให้ผู้อื่น Tip: สามารถตอบจดหมายได้อย่างรวดเร็ว โดยกดที่บริเวณพื้นที่ว่างในกล่องสี่เหลี่ยมดังภาพ
  • 15. 15 จัดการ Labels 1. การสร้าง label ใหม่ ที่ Navigation pane กดที่ more เลือก Create new label ใส่ชื่อ label ที่ต้องการ Tip: สามารถสร้าง label ซ้อนอยู่ใน label ที่มีอยู่ได้ โดยเลือก ที่ Nest label under หลังจากสร้าง label เสร็จ label ที่เราสร้างจะอยู่ใน label list โดยเรียงลาดับตามตัวอักษร Tip: สามารถใส่สัญลักษณ์ต่างๆ เช่น !@#$%&*()_-+=[]<>,.?/ หน้าชื่อ label เพื่อให้ label นั้นเลื่อนลาดับ ขึ้นมาอยู่ด้านบน เนื่องจากสัญลักษณ์เหล่านี้จะถูกจัดลาดับก่อนหน้าตัวอักษร 2. การจัดการ label ที่ด้านขวาของ label กดที่ เพื่อจัดการกับ label
  • 16. 16 เปลี่ยนชื่อ หรือปรับ nested label ลบ label เพิ่ม label ซ้อนเข้าไป การกาหนด label ให้กับ message การกาหนด label ให้ message นั้น จะทาให้ message ปรากฏอยู่ในหน้าของ label นั้นๆ โดยที่เราสามารถกาหนด label ได้หลาย label ในหนึ่ง message ซึ่งจะส่งผลให้ message นั้นปรากฏตัวได้ในหลายๆ label โดยที่ยังคงใช้พื้นที่เท่าเดิม การกาหนด label ให้ message สามารถทาได้หลายทาง ดังต่อไปนี้ 1) ลาก label จาก Navigation pane มาวางบน message list ซึ่งจะให้ผลลัพธ์เหมือนกับการเลือก ที่ ด้านบนของ mail Tip: หากต้องการกาหนด label บน message จานวนมาก สามารถเลือก ที่หน้า message ทั้งหมดก่อน แล้วจึง ลาก label มาวาง 2) ลาก message จาก message list ไปวางบน label list โดยกดที่บริเวณด้านซ้ายของ message ซึ่งให้ผลลัพธ์เหมือนกับการเลือก Tip: หากต้องการกาหนด label บน message จานวนมาก สามารถเลือก ที่หน้า message ทั้งหมดก่อน แล้วจึง ลาก message ไปวาง การย้าย label ออกจาก message ที่หน้า Mail เมื่อกดเลือก message บริเวณส่วนที่แสดง Subject จะมี label ที่กาหนดไว้กับ message นั้น สามารถ เอาออกได้โดยกดที่ x ด้านท้าย label เลือกสีพื้นและสีตัวอักษร เลือกการแสดงใน label list เลือกการแสดงใน message list
  • 17. 17 การใช้งาน Filter Filter คือเครื่องมือที่ช่วยจัดการ message ที่บุคคลอื่นส่งมาให้โดยอัตโนมัติ โดยการตั้งเงื่อนไขที่เหมาะสม ช่วยลด ขั้นตอนต่างๆในการจัดการ message ให้คุณได้ ตั้งแต่ กาหนด label, archive, delete, star, forward หรือใช้จัดการ spam ที่บริเวณด้านบนของหน้า Mail กด Create a filter ใส่เงื่อนไขที่ใช้ในการกรอง message ให้เหมาะสม กด หรือกด เพื่อดูผลลัพธ์กับ message ที่มีอยู่ เลือกว่าจะให้ filter จัดการกับ message ที่ตรงกับเงื่อนไข อย่างไร กด
  • 18. 18 Tip: โดยปกติ filter ที่สร้างขึ้นมาจะจัดการกับ message ที่ส่งเข้ามาใหม่ แต่เราสามารถสั่งให้ filter จัดการกับ message ที่อยู่ใน mail box ของเราได้โดยการเลือก Also apply filter to conversations below การมอบหมายให้บุคคลอื่นใช้งาน Mail ในสถานการณ์ที่เราไม่สะดวกในการจัดการ mail ของตัวเอง เราสามารถมอบหมายให้บุคคลอื่นทาหน้าที่แทนเราได้ โดยการมอบสิทธิให้บุคคลนั้น เข้ามาใช้งาน mail ของเราได้จาก account ของบุคคลนั้น และสามารถตอบจดหมายต่างๆแทน เราได้ โดยที่ฝั่งผู้รับจะเห็นมา mail ส่งมาจาก e-mail ของเรา และเห็นผู้ส่งเป็นบุคคลที่เรามอบสิทธิให้ ขั้นตอนในการมอบสิทธิการเข้าใช้งาน mail มีดังนี้ 1. เจ้าของ mail เข้าไปตั้งค่าการมอบหมายสิทธิ กด Settings ที่บริเวณด้านบนของหน้า mail เลือก Accounts > Add another account ภายใต้หัวข้อ Grant access to your account: ใส่ e-mail address ของบุคคลที่เราต้องการมอบหมายสิทธิ กด
  • 19. 19 กด 2. ผู้รับมอบสิทธิ กด link ยอมรับการมอบหมายจาก mail 3. ผู้รับมอบสิทธิเข้าใช้งาน mail ของผู้มอบหมายได้จากหน้า mail ของตนเอง โดยกดที่ลูกศรชี้ลงด้านข้างชื่อ account ที่บริเวณด้านบน และกดที่ชื่อ account ของผู้มอบหมายสิทธิ เพื่อเข้าใช้งาน mail ของบุคคลนั้น สังเกตุจากชื่อ account จะเห็นเป็นชื่อของผู้มอบหมายสิทธิ บริเวณด้านบนทางซ้าย ไม่มี link เพื่อเข้าใช้ เครื่องมืออื่นๆ และจะไม่เห็น Tasks
  • 20. 20 กรณีที่มีการส่ง message โดยเข้าไป mail ของผู้ให้สิทธิ ที่ header ของ message นั้นจะระบุว่า ส่งมาจาก e-mail ของผู้ให้สิทธิ แต่ส่งโดยผู้ได้รับสิทธิ การตั้งค่า Signature Signature คือข้อความส่วนบุคคล ที่จะถูกสร้างให้อยู่ที่ด้านท้ายของทุก message ที่ส่งไปหาผู้อื่น การตั้งค่า Signature สามารถทาได้ดังต่อไปนี้ 1. กด Settings ที่บริเวณด้านบนของหน้า mail 2. ที่หัวข้อ General เลื่อนลงมาด้านล่างจะพบกับช่อง Signature: สามารถใส่ข้อความและรูปภาพลงในช่องนี้ได้ตามต้องการ 3. กด ที่ด้านล่างสุดของหน้านี้ เมื่อตั้งค่า Signature เสร็จเรียบร้อยแล้ว ทุกครั้งที่มีการเขียน message ข้อความที่เราตั้งไว้ในช่อง Signature จะปรากฏอยู่ด้านท้ายของ message นั้น หากไม่ต้องการให้ message นั้นมี Signature อยู่ สามารถลบ Signature ได้ระหว่างการเขียน message
  • 21. 21 การใช้งาน Calendar เมื่อเข้ามาที่หน้า Calendar จะพบกับส่วนประกอบต่างๆ ดังนี้ 1. ช่อง search calendar สาหรับค้นหาสิ่งต่างๆปฏิทิน สามารถกดที่ Show search options เพื่อค้นหาแบบละเอียด 2. ปุ่มสาหรับสร้างตารางเวลา โดยกดที่ หรือ Quick add สามารถดู วันที่ได้จากปฏิทินขนาดเล็กข้างใต้ปุ่ม โดยวันที่ปัจจุบันจะแสดงด้วย สี่เหลี่ยมสีส้ม และพื้นที่สีฟ้ าจะสัมพันธ์กับการแสดงผลปฏิทิน (จากตัวอย่างในรูปคือใช้การ แสดงผลของทั้งสัปดาห์) กดที่ลูกศรเพื่อเลื่อนไปดูเดือนอื่นๆได้ 3. ปรับการแสดงผลของปฏิทิน โดยสามารถเลือกได้ 4 แบบ ได้แก่ วัน สัปดาห์ เดือน 4 วัน และแบบตารางนัดหมาย ซึ่งการแสดงผลแต่ละแบบจะแตกต่างกันและเหมาะสมกับการใช้งานในแต่ละแบบ 1 2 3 4 5
  • 22. 22 4. ส่วนการแสดงปฏิทิน Calendar สามารถแสดงผลปฏิทินได้หลายๆอันพร้อมกัน เราจึงสามารถดูตารางเวลาของบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้องด้วยได้ ช่วยให้สามารถบริหารจัดการตารางนัดหมายเป็นไปได้สะดวก ส่วนของ My calendars จะหมายถึง ปฏิทินที่เรามีสิทธิ์ในการจัดการได้สูงสุด คือปฏิทินส่วนตัวที่สร้างขึ้นมาเอง หรือปฏิทินของบุคคลอื่นที่เราได้รับสิทธิ์ก็ได้ สาหรับ Other calendars จะเป็นปฏิทินของบุคคลอื่นที่เจ้าของอนุญาติให้เรา เห็นข้อมูลบางส่วน (แล้วแต่การกาหนดสิทธิ์) โดยสามารถเพิ่มปฏิทินได้ด้วยการ ใส่ชื่อเจ้าของปฏิทินในช่อง Add a coworker’s calendar 5. เป็นพื้นที่หลักในการใช้งานปฏิทิน โดนส่วนนี้จะแสดงวันที่ และตารางนัดหมายต่าง วันที่ปัจจุบันจะแสดงด้วยพื้นสีส้ม ตารางนัดหมายที่แสดงอยู่ขอบด้านบนจะหมายถึงเหตุการณ์ที่กาหนดช่วงเวลาไว้ ทั้งวัน การสร้างตารางนัดหมาย กด เพื่อเข้าสู่หน้าจอรายละเอียดของตารางนัดหมาย ซึ่งประกอบด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้
  • 23. 23 1. ช่องใส่หัวข้อของตารางนัดหมาย 2. การกาหนดช่วงเวลาของเหตุการณ์ 3. กาหนดระยะเวลาของเหตุการณ์โดยที่ All day จะหมายถึงใช้ เวลาทั้งวัน ส่วน Repeat… จะหมายถึงเหตุการณ์ที่มี กาหนดการซ้ากันหลายๆวัน โดยสามารถกาหนดรายละเอียด ต่างๆได้ 4. ใส่รายละเอียดสถานที่นัดหมาย ซึ่งหลังจากสร้างตารางนัด หมายเสร็จเรียบร้อย Calendar จะสร้าง link สาหรับดูแผนที่จาก Google maps ให้โดยอัตโนมัติ 5. กรณีที่มีปฏิทินอยู่หลายอัน สามารถเลือกได้ว่าจะสร้างตารางนัดหมายนี้ไว้ที่ปฏิทินไหน 6. รายละเอียดอื่นๆที่ต้องการอธิบายเพิ่มเติม 7. เลือกสีของเหตุการณ์นั้นๆ เพื่อจัดประเภทหรือเพื่อให้สังเกตได้ง่าย 1 2 3 4 5 6 7 8 9
  • 24. 24 8. ตั้งค่าการเตือนล่วงหน้า โดยเลือกได้ว่าจะให้เตือนเป็น E-mail, Pop-up (หรือส่งเป็น sms ในกรณีที่มีการตั้งค่า โทรศัพท์เอาไว้) เป็นเวลาล่วงหน้าเท่าไร สามารถเพิ่มการเตือนได้โดยกดที่ Add a reminder การตั้งค่านี้จะเป็นการเตือนเฉพาะบุคคล ไม่ใช่การเตือนไปยังผู้เข้าร่วม ทุกๆคน 9. การใส่รายชื่อผู้เข้าร่วม โดยสามารถพิมพ์ e-mail ส่วนบุคคลหรือ group ก็ได้ หากต้องการลบรายชื่อให้กด x ที่ด้านท้ายชื่อนั้น ที่ด้านล่างจะมีการกาหนดสิทธิ์ของผู้เข้าร่วมในการแก้ไขรายละเอียด, เชิญบุคคลอื่น หรือเห็นรายชื่อผู้เข้าร่วมทั้งหมดได้ สาหรับผู้เข้าร่วมบางคนที่ได้รับเชิญ แต่ไม่จาเป็นต้องเข้าร่วม ให้กดที่ Make some attendees optional กรณีที่มีการใส่รายชื่อผู้เข้าร่วมหลายคน สามารถหาช่วงเวลาที่ทุกคน ว่างตรงกันได้ โดยกดที่ Find a time การปรับแต่งปฏิทิน บริเวณด้านท้ายของชื่อปฏิทิน ให้กดที่ เพื่อเปิดการตั้งค่าต่างๆ มีรายละเอียดดังนี้ Display only this Calendar: แสดงผลเฉพาะปฏิทินที่เลือก โดยจะปิดการ แสดงผลของปฏิทินอื่นๆทั้งหมด Calendar settings: เข้าไปตั้งค่าปฏิทินเช่น ตั้งชื่อปฏิทิน ตั้ง Time zone Create event on this calendar: ให้ผลลัพธ์เหมือนการกด Share this Calendar: กาหนดสิทธิ์การใช้งานให้บุคคลอื่น Notifications: ตั้งค่าการเตือนล่วงหน้าของปฏิทิน
  • 25. 25 การกาหนดสิทธ์การใช้งานปฏิทินให้บุคคลอื่น บริเวณด้านท้ายของชื่อปฏิทิน ให้กดที่ เลือก Share this Calendar หากต้องการให้ทุกคนในองค์กร สามารถเข้าใช้งานปฏิทินของคุณได้ ให้เลือก Share this calendar with everyone in the organization โดยสามารถกาหนดสิทธิได้ว่าระหว่าง See all event details หรือ See only free/busy สาหรับการกาหนดสิทธิ์เป็นรายบุคคล ให้ใส่ e-mail ของบุคคลนั้นลงไปที่ช่อง Person โดยสามารถกาหนดสิทธิ์ได้ 4 ระดับ คือ  See only free/busy (hide details): อนุญาตให้เห็นเวลาว่าง  See all event details: อนุญาตให้เห็นรายละเอียดของตารางนัดหมาย  Make changes to events: อนุญาตให้แก้ไขรายละเอียดของตารางนัดหมาย  Make changes AND manage sharing: อนุญาตให้แก้ไขการตั้งค่าต่างๆรวมถึงการกาหนดสิทธิ์ของปฏิทิน
  • 26. 26 การใช้งาน Document เมื่อเข้ามาที่หน้า Documents จะพบกับส่วนประกอบต่างๆ ดังนี้ 1. ช่องสาหรับ search documents ที่ช่องนี้จะแสดงผลเงื่อนไขของเอกสารที่ปรากฏอยู่ใน document list ที่บริเวณกลางหน้าจอ ตัวอย่างจากรูปด้านบน หมายความว่า ขณะนี้เอกสารที่แสดงอยู่ใน document list เป็นเอกสารที่อยู่ใน Home เป็นประเภท Spreadsheets เจ้าของเอกสารคือเจ้าของ account ที่กาลัง login อยู่ และมีการตั้งค่า sharing ไว้ที่ระดับ private เราสามารถค้นหาเอกสารจากคาค้นต่างๆได้ โดยการพิมพ์คาค้นในช่องนี้ซึ่งจะแสดงรายชื่อเอกสารที่มี Title ตรงกับ คาค้นนั้นๆ ดังรูป 1 2 3 4 5
  • 27. 27 นอกจากค้นหาเอกสารที่มี title ตรงกับคาค้นแล้ว Google Documents ยังสามารถค้นหาเอกสารที่มีเนื้อหาตรงกับ คาค้นได้ โดยการพิมพ์คาค้นที่ต้องการ แล้วกดที่ Search for all items containing ‘…’ 2. ส่วนสาหรับสร้างและ browse documents Home จะแสดงเอกสารทั้งหมดใน Google Documents ทั้งเอกสารที่เราเป็น เจ้าของและเอกสารที่มีผู้อื่น share มาให้เรา (แต่จะไม่แสดงผลเอกสารที่ตั้งค่าให้ ซ่อนไว้ใน Home และเอกสารใน Trash) Starred จะแสดงเอกสารที่เราทาเครื่องหมายรูปดาวติดไว้ All items จะแสดงเอกสารทั้งหมด (รวมถึงเอกสารที่ตั้งค่าให้ซ่อนไว้ใน Home แต่ ไม่รวมเอกสารใน Trash) Trash จะแสดงเอกสารที่เราสั่งลบไว้ โดยที่เอกสารที่ลบจะยังคงอยู่ใน Trash จนกว่าเราจะเข้ามาลบจาก Google Docs Owned by me จะแสดงเอกสารที่เราได้สิทธิ์เป็น owner กดปุ่ม “Create new” เพื่อแสดงรายการประเภทของเอกสารที่สามารถสร้างใหม่ได้ กดปุ่ม “Upload” เพื่อแสดงรายการ upload ซึ่งสามารถเลือกได้ว่าจะ upload เป็น Files หรือ Folder นอกจากนี้ยังมี การแสดงจานวนพื้นที่ที่ใช้ไปจากพื้นที่ทั้งหมด
  • 28. 28 3. การจัดหมวดหมู่ให้ documents ส่วนนี้จะแสดง Collections ที่เราได้สร้างไว้ หน้าที่ของ Collections คือช่วยให้ เราจัดหมวดหมู่ของเอกสารได้ตามต้องการ (ทาหน้าที่คล้าย labels ใน Mail เอกสารแต่ละอันสามารถอยู่ใน Collections ได้หลายๆที่) Collections ที่เราสร้างขึ้นมา สามารถตั้งชื่อ เลือกสี สร้าง Sub-collection ตั้ง ค่าการ share และเพิ่มเอกสารเข้ามาใน Collections ได้ 4. ส่วนแสดงผล documents list ซึ่งจะแสดงผลเอกสารตามเงื่อนไขที่เราเลือก (เงื่อนไขที่เลือกจะแสดงอยู่ในช่อง search บริเวณด้านบน) กดที่ เพื่อเลือกให้แสดงผลเอกสารตามประเภทที่ต้องการ
  • 29. 29 สามารถเลือกให้แสดงเอกสารได้ตามประเภทดังนี้  Text documents  Spreadsheets  Forms  Presentations  Drawings  PDF files กดที่ เพื่อเลือกให้แสดงผลเอกสารตามการตั้งค่าต่างๆ ดังนี้ Visibility เลือกแสดงเอกสารตามระดับการตั้งค่า sharing ของเอกสารนั้น Ownership เลือกแสดงเอกสารตามสิทธิ์การเป็น owner ของเอกสารนั้น กดที่ “Sort by” เพื่อเรียงลาดับเอกสารตามลาดับ โดยสามารถเลือกเงื่อนไขได้ดังนี้  Last modified เรียงตามลาดับการแก้ไขเอกสาร  Last opened by me เรียงตามลาดับการเปิดดูเอกสาร  Title เรียงลาดับตามชื่อเอกสาร  Storage used เรียงลาดับตามขนาดเอกสาร  Priority เรียงตามลาดับความสาคัญ เลือกเครื่องหมาย หน้าชื่อเอกสารที่ต้องการ และกดที่ เพื่อเลือกคาสั่งสาหรับจัดการเอกสาร มี รายการดังนี้
  • 30. 30  Open เปิดเอกสาร  Share… เข้าสู้การตั้งค่าการ sharing  Add/Remove star ติดดาวหรือย้ายดาวออก  Don’t show in home ไม่แสดงเอกสารในหน้า home  Organize… จัดการเอกสารด้วย Collections  Rename… เปลี่ยนชื่อเอกสาร  Mark as viewed/unviewed เปลี่ยนสถานะการเปิดเอกสาร  Download… ดาวน์โหลดเอกสาร  Submit to template gallery  Move to trash ลบเอกสาร 5. ส่วนแสดง document preview ส่วนนี้จะใช้แสดงรายละเอียดต่างๆของเอกสารที่เลือกไว้ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ ชื่อเอกสาร ภาพตัวอย่างของเอกสาร เวลาเปิด/แก้ไข เอกสาร รายละเอียดของเอกสาร รายละเอียด Collections รายละเอียดการตั้งค่า Sharing
  • 31. 31 จัดระเบียบเอกสารด้วย Collections Collections ทาหน้าที่เป็นที่เก็บเอกสารให้เป็นหมวดหมู่ คล้ายกับ Labels ใน Gmail ซึ่งเอกสารแต่ละไฟล์สามารถ ปรากฏอยู่ใน Collections ได้หลาย Collections การสร้าง Collections 1. ที่หน้า Google Docs ให้กดที่ Create new > Collection 2. ใส่ชื่อ Collection ตามต้องการ > OK 3. จะปรากฏ Collection ที่เราเพิ่งสร้างขึ้นมาใน My Collections การเพิ่มเอกสารเข้าใน Collection 1. ที่หน้า Google Docs ให้เลือก หน้าชื่อเอกสารที่ต้องการ
  • 32. 32 2. หลังจากเลือกเอกสารแล้ว สามารถเพิ่มเอกสารเข้าใน Collection ได้ 2 ทางคือ a. ใช้เมาส์ลากเอกสารโดยการคลิกที่หน้าเครื่องหมาย มาวางที่ Collections ที่ต้องการ b. กดที่ Actions > Organize และเลือก Collection ที่ต้องการ 3. ที่ด้านท้ายของเอกสารจะปรากฏชื่อ Collection ที่มีเอกสารนั้นอยู่ และเมื่อเข้าไปที่ Collection นั้นๆจะปรากฏรายการของเอกสารที่อยู่ใน Collection นั้น
  • 33. 33 ฝากไฟล์กับ Google Docs Google Docs นอกจากจะเป็นที่เก็บเอกสารออนไลน์แล้ว เรายังสามารถใช้ Google Docs เป็นพื้นที่เก็บไฟล์ต่างๆได้ โดย Google Docs จะมีพื้นที่ให้ 1 GB (พื้นที่ที่ใช้จะนับเฉพาะไฟล์ที่ upload ขึ้นไป ไม่นับรวมเอกสารออนไลน์ของ Google Docs) การตรวจสอบพื้นที่ของ Google Docs เราสามารถตรวจสอบการใช้พื้นที่ได้ 2 ทางดังนี้ a. กดที่ จะสังเกตเห็นข้อความแสดงพื้นที่ในหน่วย MB ของพื้นที่ทั้งหมด b. กดที่ > Documents settings รายละเอียดจะอยู่ในหัวข้อ Storage การ Upload ไฟล์ขึ้น Google Docs 1. กดที่ และเลือก Files… หากต้องการ upload ไฟล์ หรือเลือก Folder… หากต้องการ upload folder
  • 34. 34 2. เลือกไฟล์หรือ folder ที่ต้องการ upload จากหน้าต่าง pop up 3. เมื่อเลือกไฟล์เสร็จแล้ว จะมีตัวเลือกขึ้นมาให้เลือกในกรณีที่ต้องการแปลงไฟล์เป็น Google Docs format เมื่อเลือก เสร็จแล้วให้กด 4. ที่ด้านขวาล่างของหน้า Google Docs จะปรากฏแถบแสดงการ upload เมื่อ upload เสร็จแล้วสามารถตั้งค่า sharing ได้โดยกดที่ Share ด้านท้ายชื่อเอกสารนั้น
  • 35. 35 การ Export และ Download เอกสารจาก Google Docs 1. กดที่ หน้าเอกสารที่ต้องการ download 2. กดที่ Actions > Download… 3. เลือกประเภทไฟล์ที่ต้องการ download
  • 36. 36 การเลือกประเภทไฟล์ที่ download จะขึ้นอยู่กับประเภทของเอกสาร ซึ่งมีรายละเอียดดังตาราง Google Docs format ประเภทไฟล์ที่สามารถเลือก download ได้ HTML, Open Document, PDF, Rich Text (RTF), Plain Text, Microsoft Word PDF, PowerPoint, Plain Text Microsoft Excel, Open Office Spreadsheet, PDF Microsoft Excel, Open Office Spreadsheet, PDF PDF, JPEG, PNG, SVG Original file types การสร้างและจัดรูปแบบเอกสาร การสร้างและตั้งชื่อเอกสาร 1. ที่หน้า Google Docs กด > เลือกประเภทเอกสารที่ต้องการสร้าง 2. การตั้งชื่อ (หรือเปลี่ยนชื่อ) เอกสารสามารถทาได้สองทางคือ a. กดที่ชื่อเอกสารบริเวณด้านซ้ายบนของหน้าเอกสาร b. กดที่ File > Rename…
  • 37. 37 3. ใส่ชื่อที่ต้องการลงในช่อง Rename > OK 4. ชื่อเอกสารจะเปลี่ยนเป็นชื่อที่ตั้งใหม่ ส่วนประกอบของหน้าเอกสาร ที่หน้าเอกสาร มีส่วนประกอบหลักดังนี้ 1 2 3 4
  • 38. 38 1. รายละเอียดของเอกสาร ซึ่งประกอบด้วย a. สัญลักษณ์รูปดาว สาหรับช่วยให้เข้าใช้งานเอกสารได้ง่ายขึ้น เอกสารที่ขึ้นสัญลักษณ์รูปจะปรากฏอยู่ใน แถบ ที่หน้า Google Docs (สามารถกดที่รูปดาวได้) b. ชื่อเอกสาร กดที่ชื่อเอกสารเพื่อเปลี่ยนหรือตั้งชื่อเอกสาร c. ระดับการ share ของเอกสาร ซึ่งมีทั้งหมด 5 ระดับ แต่ละระดับจะจากัดสิทธิ์การเข้าถึงดังนี้ i. Public on the web – เข้าถึงได้ ii. Anyone with the link – ทุกคนสามารถเข้าถึงได้ผ่าน link iii. This organization – user ทุกคนในองค์กร iv. People at this organization with the link – user ในองค์กรที่มี link ของเอกสาร v. Private – เฉพาะ owner และผู้ที่ได้รับสิทธิ์จาก owner เท่านั้น 2. คาสั่งการใช้งานของเอกสาร และแผงควบคุมการจัดรูปแบบเอกสาร คาสั่งในส่วนนี้จะมีรายละเอียดแตกต่างกันตามประเภทของเอกสาร (Document, Spreadsheet, Presentation หรือ Drawing) 3. ปุ่มสาหรับบันทึกเอกสารและตั้งค่าการ share ของเอกสาร โดยปกติ Google Docs จะบันทึกเอกสารให้โดยอัตโนมัติ แต่หากต้องการบันทึกเอกสาร สามารถกดที่ปุ่ม กดที่ลูกศรด้านข้างปุ่ม จะปรากฏรายการคาสั่งดังนี้
  • 39. 39  Share… สาหรับตั้งค่าการ Share ของเอกสาร  Email collaborators… ส่ง email หาผู้อื่นพร้อม link ของเอกสารนี้  Email as attachment…ส่ง email โดยแนบเอกสารนี้เข้าไปใน email  Publish to the Web… เผยแพร่ข้อมูลในเอกสาร 4. ส่วนเนื้อหาของเอกสาร ซึ่งจะขึ้นอยู่กับประเภทของเอกสารนั้นๆ เช่นกัน หน้าต่างเอกสารประเภท Document หน้าต่างเอกสารประเภท Spreadsheet หน้าต่างเอกสารประเภท Presentation หน้าต่างเอกสารประเภท Drawing หน้าต่างเอกสารประเภท Form
  • 40. 40 การดูประวัติการแก้ไขเอกสารและเรียกใช้งานเอกสารเวอร์ชันเก่า ระหว่างที่มีการแก้ไขเอกสาร Google Docs จะบันทึกเอกสารให้โดยอัตโนมัติ หากเราต้องการเรียกดูประวัติการแก้ไข เอกสาร และย้อนกลับไปใช้เอกสารเวอร์ชันก่อนหน้านี้สามารถทาได้โดย 1. ที่หน้าแก้ไขเอกสาร กด File > see revision history 2. จะปรากฏแถบด้านข้าง แสดงรายละเอียดการแก้ไขเอกสารเรียงลาดับตามเวลา และ user account ที่แก้ไข เอกสารครั้งนั้นๆ
  • 42. 42 การใช้งาน Site Google Site เป็นโปรแกรมสาหรับสร้างหน้าเวบไซต์อย่างง่าย ทาให้การเผยแพร่ข้อมูลต่างสะดวกมากยิ่งขึ้น เนื่องจากการใช้งาน Google Site นั้น ไม่จาเป็นต้องมีความรู้ในการเขียนโค้ด และเวบไซต์ที่สร้างขึ้น สามารถแสดงผลข้อมูล จาก Google Calendar, Google Docs, Youtube, Picasa และบริการอื่นๆอีกมากมาย เราสามารถกาหนดสิทธิ์การเข้าใช้งาน Google Site ได้ทั้งระดับ user account, ระดับองค์กร หรือเผยแพร่เวบไซต์ ออกสู่สาธารณะ ที่หน้า Google Site จะแสดง link ของ site ที่เราสร้างไว้และ site ที่เราลบทิ้ง สาหรับ site ที่เราลบนั้นสามารถกู้ คืนกลับมาได้ภายใน 30 วันนับจากวันที่ลบ site นั้น
  • 43. 43 การสร้าง Site 1. ที่หน้า Google Site กดที่ จะปรากฏหน้า Create new site ดังรูป 2. กดที่ Browse the gallery for more เพื่อใช้งาน template รูปแบบต่างๆของ Google Site (หากไม่ต้องการใช้ งาน template สามารถเลือก Blank template ได้)
  • 44. 44 3. ที่ช่อง Name your site ให้ใส่ชื่อ site ที่เราต้องการ ที่ช่อง Your site will be located at this URL: จะปรากฏชื่อ link ตามชื่อ site ที่เราตั้ง เราสามารถแก้ไข URL นี้ ได้ตามต้องการ 4. กดที่ Choose theme เพื่อเลือก theme ให้กับ site 5. กดที่ More option เพื่อตั้งค่ารายละเอียดต่างๆดังนี้
  • 45. 45 Site categories: รายละเอียดหมวดหมู่ของ site เป็นการใส่ tag ให้กับ site นั้น (สามารถใส่ได้หลาย tag) Site description: ใส่คาอธิบายของ site Collaborate with: ระบุสิทธิ์การเข้าใช้งาน site 6. กดที่ เพื่อสร้าง site ตามรายละเอียดที่เลือกไว้ การเปลี่ยน theme, ภาพพื้นหลัง, สี และ logo Site ที่เรามีสิทธิ์ในการแก้ไข สามารถเปลี่ยนการแสดงผลส่วนประกอบต่างๆได้ ดังนี้ 1. ที่หน้า site ให้กดที่ More actions > Manage site 2. ที่หน้า manage site บริเวณแถบด้านซ้ายจะมีหัวข้อ Site appearance ให้เลือก
  • 46. 46 3. กดที่ Themes เพื่อเปลี่ยน theme (สามารถกดที่ build your own custom theme เพื่อสร้าง theme ส่วนตัวได้) กดที่ Colors and Fonts เพื่อปรับเปลี่ยนการแสดงผล Font ในส่วนต่างๆของ site (สามารถเลือกใส่ภาพพื้นหลัง ในแต่ละส่วนของ site ได้)
  • 47. 47 4. กดที่ Site layout เพื่อปรับแต่งการจัดวางหน้า site สามารถเลือกเปลี่ยน logo ของ site ได้โดยกดที่ change logo
  • 48. 48 การเพิ่ม Sidebar item Sidebar นอกจากจะใช้แสดง page ต่างๆใน site นั้นๆแล้ว เรายังสามารถเพิ่ม item อื่นๆเข้ามาใน sidebar ได้ เพิ่มเติม เช่น Countdown สาหรับใช้นับวันถอยหลังจนกว่าจะถึงวันที่กาหนด หรือนับจานวนวันหลังจากเริ่มต้นโครงการ หรือ Text box สาหรับใส่ข้อมูลต่างๆที่ต้องการให้ปรากฏบน sidebar ดังตัวอย่างด้านล่าง ที่หน้า manage site > Site layout ให้กดที่ Add a sidebar item กด Add ที่ item ที่เราต้องการ item นั้นจะปรากฏอยู่ที่ layout ของ Sidebar:
  • 49. 49 กดที่ปุ่ม edit ใน item นั้นๆ เพื่อตั้งค่าการแสดงผลของ item (รายละเอียดการตั้งค่าจะขึ้นอยู่กับ item ด้วย) สามารถสลับลาดับการแสดงผลของ item ได้โดยการใช้เมาส์ลาก item ไปวางตามลาดับที่ต้องการ การลบ site Site ที่เราลบจะอยู่ที่ส่วน Deleted sites เป็นเวลา 30 วัน เราสามารถกู้คืน site ที่ยังอยู่ใน Deleted sites ได้โดยการ เข้าไปกดที่ จากหน้า Deleted sites ส่วนการลบ site ที่ไม่ต้องการใช้งาน จะอยู่ในหน้า manage site (ที่หน้า site กด More actions > Manage site) ที่แถบ General บริเวณด้านล่างจะมี link ให้กด delete this site
  • 50. 50 การสร้าง page โดยใช้ standard layout หากต้องการสร้าง page ใหม่ ให้กดที่ จะปรากฏ template สาหรับ page ใหม่ให้เลือก ดังนี้  Web Page: เป็นหน้า page แบบพื้นฐาน สามารถแก้ไขส่วนต่างๆของ page ได้
  • 51. 51  Announcements: เป็น page สาหรับประกาศข่าวสารต่างๆ หรือบันทึกการประชุม  File Cabinet: สาหรับ upload ไฟล์จากเครื่อง (หรือ URL) ไว้บน page นี้ได้
  • 52. 52  List: แสดงข้อมูลเป็นรายการ สามารถแก้ไขหัวข้อของแต่ละรายการได้ การแก้ไข Page Settings ในกรณีที่เราต้องการเปลี่ยนแปลงค่าต่างๆของ page เช่น แก้ไข URL ของหน้า page หรือแก้ไข template จาก Web page เป็น Announcement และอื่นๆ สามารถเข้าไปแก้ไขการตั้งค่าเหล่านี้ได้ที่ 1. ที่หน้า page กดที่ More actions > Page settings
  • 53. 53 2. จะขึ้นหน้าต่าง Page Settings สามารถแก้ไข URL ของ page นี้ได้โดยพิมพ์ URL ที่ต้องการลงในช่อง Page URL หากต้องการเปลี่ยน template ของ page นี้ให้กดที่ (Change) ด้านหลัง Currently using page template … การลบ page 1. ที่หน้า page กดที่ More actions > Delete page
  • 54. 54 2. จะขึ้นหน้าต่างยืนยัน ให้กด การกู้คืนข้อมูล page และ item หากเราลบ item หรือ page เราสามารถกู้คืนข้อมูลเหล่านั้นได้ ดังนี้ 1. ที่หน้า site กดที่ More actions > Manage site 2. ที่หน้า Manage site บริเวณแถบด้านข้างให้กดที่ Deleted items
  • 55. 55 3. จะปรากฏรายการ item และรายละเอียดของ item ที่โดนลบทิ้งดังรูป 4. กดที่เครื่องหมาย หน้า item ที่ต้องการกู้ข้อมูล และกดที่ เพื่อกู้ข้อมูลนั้นคืน การใส่ Apps อื่นเข้ามาใน page Google Sites สามารถดึงข้อมูลจาก Apps อื่นๆมาแสดงผลได้มากมาย เช่น แสดงผลข้อมูลจาก Google Calendar, Google Docs, YouTube, Picasa ฯลฯ มีขั้นตอนดังนี้ 1. ที่หน้า page ให้เข้าสู่โหมดการแก้ไข โดยกดที่ 2. เมื่อเข้าสู่โหมดการแก้ไข จะปรากฏแถบเครื่องมือสาหรับใช้แก้ไขการแสดงผลของ page ขึ้นมา ให้กดที่ Insert เครื่องมือของ Google Sites แสดงข้อมูลจาก Apps อื่นๆของ Google (สามารถใส่ video จาก YouTube และ Google Docs Video ได้) Gadgets อื่นๆ อีกมากมาย (กดที่ More gadgets เพื่อเพิ่ม gadget อื่นๆ)
  • 56. 56 กาหนดสิทธิ์การเข้าใช้งาน site Google Sites สามารถใช้เป็นเครื่องมือสื่อสารภายในทีม แผนก องค์กร หรือ เผยแพร่เนื้อหาสู่สาธารณะได้ โดยการ กาหนดสิทธิ์การเข้าใช้งาน site นั้น การตั้งค่าการกาหนดสิทธิ์สามารถทาได้โดย 1. ที่หน้า site ให้กดที่ More actions > Sharing and Permissions จะปรากฏหน้าต่างสาหรับตั้งค่าการกาหนดสิทธิ์
  • 57. 57 กดที่ Change… เพื่อตั้งระดับของ Visibility options (หลักการเดียวกับการกาหนดสิทธิ์ของ Google Docs) ที่ช่อง Add people: สามารถใส่ account ของบุคคลหรือกลุ่ม ที่ต้องการ share site นี้แบบเฉพาะเจาะจงได้ เช่นเดียวกับ การ share Google Docs บทส่งท้าย Google Apps for Business เป็นบริการเครื่องมือสื่อสารและทางานร่วมกัน ทั้งภายในและระหว่างองค์กร ผู้เขียน หวังว่า คู่มือชุดนี้จะช่วยให้ผู้ศึกษาเข้าใจหลักการใช้งานในขั้นพื้นฐาน และสามารถนาไปประยุกต์การใช้งานให้เหมาะสมกับ การทางานของตนและองค์กรเพื่อให้เกิดเป็นประโยชน์สูงสุด เนื่องจาก Google Apps for Business เป็นบริการที่มีการพัฒนาคุณภาพ และมีความสามารถใหม่ๆเพิ่มขึ้นอยู่ ตลอดเวลา รายละเอียดบางส่วนของคู่มือชุดนี้เช่น หน้าตาการใช้งาน หรือตาแหน่งของส่วนประกอบต่างๆ อาจจะแตกต่างไป บ้าง ทั้งนี้การเขียนคู่มือชุดนี้จะอธิบายเป็นส่วนๆ ซึ่งหากผู้ศึกษาทาความเข้าใจได้แล้ว ก็สามารถที่จะเรียนรู้ความสามารถ ใหม่ๆได้เองต่อไป หากคู่มือชุดนี้มีความผิดพลาดประการใด ผู้เขียนขออภัยมา ณ ที่นี้และหากผู้ศึกษาต้องการสอบถามการใช้งาน เพิ่มเติม สามารถติดต่อได้ที่ email address: google.support@tangerine.co.th