SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
Page 1
1.ประวัติการก่อตั้งประเทศ
ราชอาณาจักรกัมพูชา เมืองหลวงคือ กรุง
พนมเปญ (Phnom Penh) กัมพูชาเป็นประเทศในภูมิภาคเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนทาทิศใต้จรดกับอ่าวไทย ทาง
ทิศตะวันตกติดกับประเทศไทย ทางทิศเหนือติดกับประเทศ
ไทยและลาว ทางทิศตะวันออกติดกับเวียดนาม กัมพูชาเป็ น
อดีตประเทศอาณานิคมของฝรั่งเศสในภูมิภาคเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ เพียงแค่ประเทศเดียวเท่านั้นที่มีการ
ปกครองด้วยระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐ ธรรมนูญ
*กัมพูชาเริ่มต้นขึ้นจากการที่พระเจ้าชัยวรมันที่ 2 ได้
รวบรวมอาณาจักรขอมให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันใน
พ.ศ.1345 ซึ่งอาณาจักรมีความรุ่งเรืองมากว่า
600 ปี
Page 2
*พ.ศ.2406 กษัตริย์นโรดม (Norodom) ได้ลงนามในสนธิสัญญาฉบับ
แรกกับฝรั่งเศส ซึ่งถือเป็นจุดเริ่มต้นที่กัมพูชาตกอยู่ในอานาจของฝรั่งเศส
*พ.ศ.2497 กัมพูชาได้รับเอกราชอย่างสมบูรณ์ตามข้อตกลงใน
สนธิสัญญาเจนีวา
*พ.ศ.2513 มีการเปลี่ยนการปกครองมาเป็นสาธารณรัฐ แต่กลับล่ม
สลายใน พ.ศ.2518 เมื่อเขมรแดงหรือพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา ภายใต้การนา
ของพอล พต ขึ้นเป็นผู้นา
*พ.ศ.2522 กลุ่มกัมพูชาฝ่ายซ้ายล้มล้างรัฐบาลของเขมรแดง และ
ปกครองประเทศ
*พ.ศ.2535 กองกาลังสหประชาชาติ (UNTAC) เข้าจัดการและฟื้นฟู
กัมพูชา โดยแต่งตั้งให้มีนายกรัฐมนตรี 2 คน คือ เจ้านโรดม รณฤทธิ์ และฮุนเซน
*ต่อมาฮุนเซน ได้ทารัฐประหาร และจัดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปใน
พ.ศ.2541 โดยมีตนเองได้ดารงนายกรัฐมนตรีต่อมาจนถึงปัจจุบัน
1.ประวัติการก่อตั้งประเทศ
Page 3
2.ที่มีอิทธิพล ความเชื่อ ความคิด ของประเทศกัมพูชา
สมเด็จอัครมหาเสนาบดี เดโช ฮุนเซน (Somdech Akka Moha Sena)
เริ่มเข้าดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรีตั้งแต่อายุ 33 ปี
นับเป็นนายกรัฐมนตรีที่มีอายุน้อยที่สุดของกัมพูชา และดารง
ตาแหน่งมาหลายสมัย จนถึงปัจจุบัน ฮุน เซน วัย 18 ปี ได้เข้าร่วมกับ
ขบวนการต่อสู้กับจักรพรรดินิยมของเจ้านโรดมสีหนุ อดีตนายกรัฐมนตรี
กัมพูชา หลังจากจักรพรรดินิยมถูกโค่นล้มโดยนายพลลอน นอล (Lon Nol)
ซึ่งองค์การ CIA ของสหรัฐอเมริกาหนุนอยู่เบื้องหลัง
สละราชบัลลังก์ให้แก่พระราชโอรสนโรดมสีหมุนี
Page 4
สมเด็จพระนโรดมสีหนุหรือ เจ้าสีหนุ(Norodom Sihanouk)
อดีตกษัตริย์แห่งกัมพูชาผู้ล่วงลับไปแล้ว และเป็นนายกรัฐมนตรีอยู่
หลายสมัยก่อน สละราชบัลลังก์ให้แก่พระราชโอรสนโรดมสีหมนี
ทรงเป็น "พระวรราชบิดา" ของชาวกัมพูชา สวรรคตแล้วเมื่อวันที่ 15 ต.ค.
2555 ด้วยพระชนมายุ 89 พรรษา ขณะประทับอยู่ทกรุงปักกิ่ง ประเทศจีน
โดยช่วงที่ทรงพระชนม์ชีพ ทรงมีบทบาทอย่างสูงในการเมืองกัมพูชาสมัยใหม่
ทั้งการเรียกร้องเอกราช - ตั้งพรรคสังคมราษฎร์นิยม - มีบทบาท ใน
สงครามกลางเมือง - ตั้งแนวร่วมเขมรสามฝ่ายกับเขมรแดง นามาสู่การ
เลือกตั้งและ สิ้นสุดสงครามกลางเมืองในปี 2536ก่อยอนสละราสมบัติ
ในปี 2547 กินเนสส์บุ๊กบันทึกว่า พระองค์ทรงเป็นนักการเมืองที่ดารง
ตาแหน่งทางการเมืองมากที่สุดในโลก
2.ที่มีอิทธิพล ความเชื่อ ความคิด ของประเทศกัมพูชา
Page 5
3. นโยบายรัฐบาล และนโยบายการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของกัมพูชา
จากการที่รัฐบาลกัมพูชาได้ดาเนินการตามแผนพัฒนายุทธศาสตร์แห่งชาติ ในปี
พ.ศ.2549-2553 ตามยุทธศาสตร์ลดความยากจนแห่งชาติ รวมทั้งเป้ าหมายการพัฒนาแห่ง
สหัสวรรษของกัมพูชา ซึ่งล้วนเป็นยุทธศาสตร์หลักที่รัฐบาลกัมพูชาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมของประเทศ โดยมีจุดมุ่งหมายให้กัมพูชาเดินหน้าไปสู่การพัฒนาและความเจริญก้าวหน้า
อย่างมั่นคงและยั่งยืน และใช้เป็นพื้นฐานในการแก้ไขปัญหาสาคัญในการพัฒนาประเทศ 4 ด้าน คือ
1.ด้านการเกษตร
2.ด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
3.ด้านการพัฒนาภาคเอกชนเพื่อการสร้างงาน
4.ด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ที่รวมถึงด้านการศึกษาและสาธารณสุข
Page 6
4.สื่อ Channel
สื่อกัมพูชาโดยเฉพาะสื่อสิ่งพิมพ์ จัดว่ามีเสรีภาพมากกว่าหลายประเทศในอาเซียน
เพราะอนุญาตให้ชาวต่างชาติเป็นเจ้าของ 100 % พนมเปญโพสท์ หนังสือพิมพ์อันดับ 1 ของกัมพูชา
มีเจ้าของเป็ นชาวออสเตรเลีย
นักข่าวจากพนมเปญโพสท์ ระบุว่า มีหนังสือพิมพ์ภาษาแขมร์จานวนมากในกัมพูชา เสนอ
เนื้อหาหลากหลาย โดยเฉพาะข่าวที่ขายได้อย่างอุบัติเหตุ และคนตาย แต่สาหรับพนมเปญโพสท์ไม่มี
นโยบายนาภาพคนตายขึ้นหน้า 1 เป็นความพยายามยกระดับหนังสือพิมพ์ให้ได้มาตรฐานสากล
พนมเปญโพสท์เป็นหนังสือพิมพ์ที่ตีพิมพ์ทั้งภาษาแขมร์ และภาษาอังกฤษ และ วางตาแหน่งว่าเป็ น
เบอร์ 1 ของสื่อสิ่งพิมพ์กัมพูชา ส่วนสื่อโทรทัศน์
- อันดับแรก คือ สถานีโทรทัศน์ซีทีเอ็น ที่นาเสนอรายการแบบวาไรตี้ ได้รับความ
นิยมสูงสุด
- อันดับสอง คือ สถานีโทรทัศน์บายอน ของลูกสาวสมเด็จ
- อันดับสาม คือ สถานีฮองเมียต เป็ นสถานีข่าวที่ได้รับความนิยมสูงสุด
Page 7
5. Campaing ยอดนิยม
กัมพูชาเริ่มโครงการ “1 คน 1 ต้น” สนับสนุน
นักท่องเที่ยวปลูกต้นไม้ที่ปราสาทนครวัดนักท่องเที่ยวทางการกัมพูชา
จะเริ่มโครงการรณรงค์ให้นักท่องเที่ยวปลูกต้นไม้ เพื่อส่งเสริม
การท่องเที่ยวและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในประเทศ
โครงการรณรงค์ให้นักท่องเที่ยวปลูกต้นไม้นี้จะช่วย
ส่งเสริมให้นักท่องเที่ยวมีส่วนร่วมในการช่วยกันรักษาสิ่งแวดล้อม ลด
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ภาวะโลกร้อน และภัยธรรมชาติอื่นๆ
การท่องเที่ยวเป็นหนึ่งใน 4 เสาหลักที่ส่งเสริมเศรษฐกิจของกัมพูชา
กัมพูชาได้ต้อนรับนักท่องเที่ยวต่างชาติแล้ว 3.5 ล้านคน เพิ่มขึ้น
ร้อยละ 25 เมื่อเทียบกับปี 2554 และในปี 2555 อุตสาหกรรมการ
ท่องเที่ยวยังสร้างรายได้ให้แก่ประเทศมากกว่า 2,000 ล้านดอลลาร์
Page 8
6. search engine
https://www.facebook.com/
https://www.google.c
om
http://www.cambodia.org/
Page 9
7.อาชีพและสินค้าส่งออก
อาชีพหลักของชาวกัมพูชา คือ ภาค
เกษตรกรรม ประมาณร้อยละ 70 ภาคบริการประมาณ ร้อยละ 17
ภาคอุตสาหกรรมโรงงาน ประมาณ ร้อยละ 8 และภาคการก่อสร้าง
ประมาณร้อยละ 5 ทั้งนี้ ชาวกัมพูชาประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็ น
อาชีพหลัก พืชที่ปลูกส่วนใหญ่ ได้แก่ ข้าวเจ้า ยางพารา พริกไทย
รองลงมาคือ ประมง โดยบริเวณรอบทะเลสาบกัมพูชาเป็นแหล่งประมง น้า
จืดที่สาคัญที่สุดในภูมิภาค มีการทาป่าไม้บริเวณเขตภูเขาทางภาคเหนือโดย
ล่องมาตามแม่น้าโขง อุตสาหกรรมในประเทศเป็ นอุตสาหกรรมขนาด
ย่อม ส่วนใหญ่เป็ นโรงสีข้าว และรองเท้า
Page 10
สินค้าหลักที่กัมพูชาส่งออก คือ ผลผลิตด้าน
การเกษตร ซึ่งเป็นรายได้หลักของประชากรร้อยละ 70 ของประเทศ รวมถึง
การส่งออกเสื้อผ้าสาเร็จรูป สิ่งทอ รองเท้า ยางลาเท็กซ์ รายได้
หลักของกัมพูชามาจากภาคเกษตรกรรม ร้อยละ 32.5 ได้แก่ การกสิ
กรรม การประมง ปศุสัตว์ และป่าไม้ ซึ่งสินค้าเกษตรที่ส่งออก ได้แก่ ข้าว
ผลิตภัณฑ์ปลา และยางพารา รองลงมา ได้แก่ ข้าวโพด ถั่วเหลือง สัตว์มีชีวิต
ผลไม้ และปลา เป็นต้น ภาคอุตสาหกรรม ร้อยละ 22.4 ซึ่งสินค้า
อุตสาหกรรมส่งออก ได้แก่ เสื้อผ้าและเครื่องนุ่งห่ม รองเท้า และภาคบริการ
ร้อยละ 45.1 รายได้ที่สาคัญของภาคบริการ ได้แก่ รายได้จาก
นักท่องเที่ยว และอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและบริการ
7.อาชีพและสินค้าส่งออก
Page 11
8.ภาษา ธงชาติ เครื่องแต่งกาย วัฒนธรรม ประเพณี
ภาษา
ภาษาเขมรเป็นภาษาราชการ ส่วน
ภาษาที่ใช้โดยทั่วไป ได้แก่ อังกฤษ
ฝรั่งเศส เวียดนาม จีน และไทย
ธงชาติ
มีแถบสีน้าเงิน – แดง – น้าเงินตาม
แนวนอน โดยมีรูปปราสาทนครวัดสาม
ยอดสีขาวอยู่ตรงกลางบนแถบสีแดง
เพลงชาติ
เพลงนาคราช (Nokoreach
ศาสนา
ศาสนาประจาชาติคื อศาสนาพุทธ นิกายเถรวาท (แยกเป็น 2
นิกายย่อย คือ ธรรมยุตินิกายและมหานิกาย) แล ะศาสนาอื่นๆ
อาทิ ศาสนาอิสลามและศาสนาคริสต์
Page 12
การแต่งกาย
ผ้าซัมปอต (Sompot) มีทั้งที่เป็นผ้าฝ้ ายและผ้าไหม มีหลายแบบ ถ้าเป็นผ้าที่ใช้ในโอกาส
พิเศษจะใช้เส้นใยพื้น เมืองทอ ถ้าใช้ในชีวิตประจาวันจะใช้วัสดุราคาไม่สูง ซึ่งจะส่งมาจาก
ประเทศ ญี่ปุ่น นิยมทาลวดลายตามขวาง ถ้าเป็นชนิดหรูหราจะทอด้ายเงินและด้ายทอง
ผ้าโฮล (Hol) เป็นผ้าที่สวยงามประณีต และเก่าแก่ที่สุด จะเป็นผ้ามัดหมี่ชนิดหนึ่งเป็น แบบที่
มัดเส้นพุ่ง ผ้าโฮลที่มีชื่อเสียงด้านคุณภาพและเนื้อผ้าจะทอจาก กัมปะจาน ผ้าโฮลจะมี
ลวดลายสาหรับผู้หญิงและชาย เช่น ลายโกฎจะเป็น ลายของผู้ชาย
หญิง นิยมนุ่งผ้าถุงสีดา เนื้อมัน คาดเข็มขัด ใส่เสื้อสี งานพิธีนุ่งผ้ายก พวกในวังมักนุ่งผ้า
โจงกระเบน ไว้ผมตัด
ผู้ชาย ผ้าโจงกระเบน ใส่เสื้อคอปิด ขัดกระดุมห้าเม็ด
8.ภาษา ธงชาติ เครื่องแต่งกาย วัฒนธรรม ประเพณี
Page 13
8. วัฒนธรรม ประเพณี
ในประเทศกัมพูชา มีการทาบุญประเพณีต่างๆ เหมือนกับเมืองไทยเช่นกัน เช่น วันสงกรานต์ เริ่มจากวันที่ 13 เดือน
เมษายน ถึง 15 เมษายน ประเพณีวันลอยกระทง ช่วงสิ้นเดือนตุลาคม และอีกมากมาย วิธีบุญต่างๆ จัดขึ้นทุก ๆ ปีกัมพูชาเป็น
ประเทศที่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน วัฒนธรรมและประเพณีจึงเกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์ ความเชื่อ วิถีชีวิตของคนในประเทศ
เช่น
ระบาอัปสรา (Apsara Dance)
เป็นการแสดงนาฏศิลป์ที่โดดเด่นของกัมพูชา ซึ่งถอด
แบบการแต่งกาย และท่าร่ายรามาจากภาพจาหลักรูป
นางอัปสรที่ปราสาทนครวัด
เทศกาลน้า หรือ "บอน อม ตุก" (Bon
Om Tuk)
เทศกาลประจาปีที่ยิ่งใหญ่ของกัมพูชา จัด
ขึ้นในเดือนพฤศจิกายน เพื่อเป็นการแสดง
ความสานึกในพระคุณ ของแม่น้าที่นา
ความอุดมสมบูรณ์มาให้ โดยจะมีการแข่ง
เรือยาว แสดงพลุดอกไม้ไฟ และการแสดง
ขบวน เรือประดับไฟ
อาหารประจาชาติ
อาม็อก (Amok)
ทาจากเนื้อปลา ปรุงรสด้วยเครื่องแกงและกะทิ มีลักษณะคล้าย
ห่อหมกของไทยบางตารับอาจใช้เนื้อไก่หรือหอยแทน สาเหตุ
หนึ่งที่คนในประเทศนี้นิยมรับประทานปลา เพราะเป็นอาหารที่
หาได้ง่าย
Page 14
9.ภูมิศาสตร์ การเมือง ประชากร กัมพูชา
ภูมิศาสตร์
เป็นประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อยู่ติดกับอ่าว
ไทย มีพื้นที่ทั้งหมด 181,040 ตารางกิโลเมตรทางตะวันตกเฉียงใต้
ของคาบสมุทรอินโดจีน อยู่ในเขตร้อนชื้น ลักษณะพื้นที่เป็นที่ราบ ใจ
กลางของประเทศเป็นทะเลาสาบเขมร และมีแม่น้าโขงไหลผ่านจาก
เหนือไปใต้ลักษณะภูมิอากาศอยู่ในเขตมรสุม แบ่งเป็น 2 ฤดูชัดเจนคือ
ฤดูฝนและฤดูแล้ง อากาศค่อนข้างร้อนและมีความชื้นสูง พื้นที่ป่ามี
ประมาณสองในสามของประเทศแต่กาลังถูกทาลายทั้งโดยการตัดไม้
และการเผาเพื่อใช้เป็นพื้นที่ทางการเกษตร
ประชากร
มีประชากรกว่า 14.8 ล้านคน กัมพูชา
เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 66 ของโลก
ศาสนาพุทธนิกายเถรวาทเป็นศาสนาประจาชาติ ซึ่ง
ประชากรกัมพูชานับถือประมาณ 95% ชนกลุ่มน้อยใน
ประเทศมีชาวเวียดนาม ชาวจีน ชาวจามและชาวเขากว่า
30 เผ่า[4] เมืองหลวงและเมืองใหญ่สุด คือ พนมเปญ ซึ่ง
เป็นศูนย์กลางการเมือง เศรษฐกิจและวัฒนธรรมของ
กัมพูชา
Page 15
การเมือง
ประเทศกัมพูชามีระบบการปกครองแบบประชาธิปไตยที่มี
พระมหากษัตริย์เป็นประมุข มีนายกรัฐมนตรีเป็นผู้บริหารประเทศ เป็นการปกครองที่มี
รูปแบบรัฐเดียว
กษัตริย์องค์ปัจจุบันของกัมพูชา คือ "พระบาทสมเด็จพระบรมนาถ
นโรดมสีหมุนีตามโครงสร้างการปกครองของประเทศกัมพูชาได้กาหนดในกฤษฎีกา เมื่อ
วันที่ 12 มกราคม พ.ศ.2552 ให้มีการแบ่งเขตปกครองเป็น 1 ราชธานี (พนมเปญ) และ
23 จังหวัด ได้แก่ กรแจะ เกาะกง กันดาล กาปงจาม กาปงชนัง กาปงธม กาปงสะดือ กัม
ปอต ตาแก้ว รัตนคีรี สตึงแตรง สวายเรียง เสียมราฐ อุดรมีชัยไพลิน แกบ และพระสีหนุ
ซึ่งแต่ละจังหวัดมีศูนย์กลางการปกครอง เรียกว่า "กรุง” (อาเภอเมือง)
นอกจากนั้น ยังมีเมืองสาคัญที่มีฐานะเป็นกรุงอีก 3 แห่ง คือ กรุงปอย
เปต (จังหวัดบันเตียเมียนเจย) กรุงบาวัด (จังหวัดสวายเรียง) และกรุงสรวง (จังหวัดกา
ปงจาม) แต่ละจังหวัดหรือกรุงปกครองโดยผู้ว่าราชการจังหวัด และรองผู้ว่าราชการ
จังหวัดอีก 7-9 คน ซึ่งได้รับการแต่งตั้งตามวาระของรัฐบาล โดยจังหวัดแบ่งเขตการ
ปกครองย่อยเป็นอาเภอ (สะร็อก) และตาบล (คุ้ม) ขณะที่กรุงแบ่งเขตการปกครองย่อย
เป็นคานและสังกัด นอกจากนี้ในหมู่บ้านจะแบ่งออกเป็นชุมชนย่อยอีกเรียกว่า "ภูมิ”
โดยในปัจจุบันประเทศกัมพูชามีการกระจายอานาจแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 20
จังหวัด และ 4 เทศบาล
9.ภูมิศาสตร์ การเมือง ประชากร กัมพูชา
Page 16
รัฐบาลปัจจุบันซึ่งนาโดยสมเด็จฮุน เซน นายกรัฐมนตรี ได้แถลงนโยบายและประกาศใช้ยุทธศาสตร์
สี่เหลี่ยม เพื่อการเจริญเติบโต การจ้างงาน ความเสมอภาคและประสิทธิภาพในกัมพูชา ซึ่งเป็นยุทธศาสตร์
หลักที่รัฐบาลกัมพูชาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศ โดยมีจุดหมายให้กัมพูชาเดินหน้าไปสู่
การพัฒนาและความเจริญก้าวหน้าอย่างมั่นคงและยั่งยืน ยุทธศาสตร์สี่เหลี่ยมเป็นยุทธศาสตร์ที่นาจุดเด่นของนโยบาย
และยุทธศาสตร์ต่างๆ ของกัมพูชารวมไว้ด้วยกัน อาทิ เป้ าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษของกัมพูชา
(Cambodia’s Millennium Development Goals : CMDGs)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของกัมพูชา (Cambodia Socio-Economic Development Plan : SEDP)
ยุทธศาสตร์การลดความยากจนแห่งชาติ (National Poverty Reduction Strategy : NPRS)
มีวัตถุประสงค์สาคัญ 9 ประการได้แก่
1. การขจัดปัญหาความยากจน
2. การจัดระบบการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี
3. การส่งเสริมความเท่าเทียมทางเพศ
4. การลดอัตราการตายของทารก
5. การปรับปรุงระบบสาธารณสุข
6. การต่อสู้กับโรคติดต่อร้ายแรง
7. การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
8. การสร้างหุ้นส่วนระหว่างประเทศเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
9.การขจัดทุ่นระเบิดและการช่วยเหลือผู้เคราะห์ร้ายจากทุ่นระเบิด
10.นโยบายหลักของประเทศ
Page 17
11.บุคคลสาคัญที่ส่งผลต่อพฤติกรรม
สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน
เมื่ออายุได้ 19ปีได้เข้าร่วมในกองทัพปฏิวัติ(เขมรแดง)ทาการ
สู้กับทหารลอนนอนซึ่งสหรัฐอเมริกาให้การสนับสนุนและก่อตั้งแนวร่วมสามัคคี
ประชาชาติกู้ชาติกัมพูชาหรือเรียกว่าแนวร่วมปลดปล่อยหลังจากยุคเขมรแดง
สมเด็จฮุน เซน ป็ นนายกรัฐมนตรีของกัมพูชาดารงตาแหน่งยาวนานกว่า
20 ปี ซึ่งเป็นคนที่ทรงอิทธิพลที่สุดของกัมพูชาพฤติกรรมของขาวกัมพูชา
Page 18
พฤติกรรมของชาวกัมพูชา
คนกัมพูชามีรูปแบบการใช้ชีวิตแบบสุขนิยม
ชอบสังสรรค์ สังคม งานแต่ง วัยรุ่นกัมพูชาเมื่ออายุถึง 15
ปีก็มีคนมาจองมั่นหมายแล้ว ถ้ายังไม่มีพ่อแม่ต้องรีบหาให้
โดยเฉพาะเด็กผู้หญิง หากอายุเกิน 20 ปี ถือว่าแก่มาก
ลักษณะการไปงานที่จัดแบบโต๊ะจีน ที่กัมพูชาจะไม่มีการรอ
เวลาหรือเจ้าภาพ หากโต๊ะไหนเต็มก่อนก็จะเสิร์ฟก่อนและกิน
เสร็จก่อน ก็ลุกก่อน กลับบ้านก่อน โดยไม่สนใจผู้หลัก
ผู้ใหญ่ ประธาน หรือพิธีการต่างๆ ในงานเลย
*สิ่งที่เป็ นข้อห้ามคือ เมื่อได้มาเจอกันแล้ว อย่านัดทานข้าว
เที่ยง เพราะคนกัมพูชาชอบหลับกลางวัน ช่วงเช้าเริ่มงาน
7.30-11.00 น. และช่วงบ่ายเริ่ม 14.00-17.00 น.
ในประเทศกัมพูชาคน
ที่จะเป็นเกษตรกรหรือว่าทา
การเกษตรได้จะต้องเป็นคนที่มีฐานะ
ต่างกับเกษตรกรในประเทศไทย
เนื่องจาก 1. ที่ดินแพง 2. แรงงานไม่
มี คนรุ่นใหม่ต่างก็หันไปทางานใน
โรงงานอุตสาหกรรมเพราะรายได้
ดีกว่า นิสัยของคนกัมพูชาอีกอย่าง
หนึ่งคือชอบทาตามอย่าง ซื้อตาม
อย่าง เช่น ถ้ามีรถยนต์ยี่ห้อไหนขายดี
ก็จะขายดีทั้งประเทศ เพราะเขาจะบอก
กันปากต่อปากและจะให้ความเชื่อถือ
มากกว่าการดูโฆษณาตามสื่อต่างๆ
วัยรุ่นกัมพูชาใช้ Social Media เยอะ
มาก และใช้เก่งถึงขนาดที่บริษัท
คอมพิวเตอร์ต้องมาจ้างให้คีย์ข้อมูล
และทาโปรแกรม หรือแม้กระทั่งร้าน
ขายของออนไลน์ในไทยก็ยังส่งข้อมูล
มาให้ที่นี่คีย์เช่นกัน
Page 19
12.ค่านิยมหลักของประเทศ
ในประเทศกัมพูชามีตลาดอยู่หลายรูปแบบ ตั้งแต่ตลาดขนาดเล็ก ถึงขนาดใหญ่
ห้างสรรพสินค้า ราคาก็จะขึ้นอยู่กับอุปสงค์ อุปทาน แบรนด์จากต่างประเทศดูเหมือนว่าจะมีความ
น่าเชื่อถือมากกว่า แบรนด์ของประเทศกัมพูชาเอง ในการซื้อสินค้าแต่ละชนิดจะขึ้นอยู่กับแต่ละพื้นที่และการ
ใช้
ปัจจัยที่มีผลต่อการซื้อสินค้าแฟชั่นของชาวกัมพูชา
1.ความจาเป็น 38%
2.คุณภาพสินค้า 21%
3.แสดงถึงรสนิยมของตนเอง 11%
4.เป็นที่นิยมในกลุ่มเพื่อนๆ 9%
5.แสดงถึงฐานะ 9%
6.โปรโมชัน 7%
7.ราคา 4%
8.อื่นๆ 1%
Page 20
13.พฤติกรรมการรับสื่อ ความนิยมในสื่อแต่ละประเภท
การบริโภคสื่อ สาหรับการบริโภคสื่อของคนที่นั่น โทรทัศน์เป็น
สื่อยอดนิยมอันดับหนึ่ง รองลงมาคือสื่อ พวกบิลบอร์ด พวกสื่อออนไลน์ยังคง
ต้องพัฒนาอีกมาก โดยอินเทอร์เน็ตยังมีเฉพาะในเมืองใหญ่ สังคมออนไลน์
โดยเฉพาะ เฟซบุ๊ก ถือได้ว่าได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก สังเกตจากท่านสมเด็จ
ฮุนเซน ใช้เฟซบุ๊ก live เพื่อถ่ายทอดสดภารกิจของท่านเป็นประจา
Page 21
14.ผู้มีอิทธิพลทางความคิด สื่อonlineและofflinew
นายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรกัมพูชา ดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี
หลายสมัย สมเด็จฮุน เซน นั้นเข้าดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรีกัมพูชาครั้งแรก ตั้งแต่
อายุ 33 ปี ในยุคสาธารณรัฐประชาชนกัมพูชานับเป็นนายกรัฐมนตรีที่มีอายุน้อยที่สุด
ของกัมพูชา สมเด็จฮุน เซน เป็นผู้มีอิทธิพลในหลายด้านของกัมพูชา เป็นทั้งผู้นาความคิด
หรือแม้กระทั่งด้านทางทหารถึงกับมีคนกล่าวว่า สมเด็จฮุน เซนจะได้เป็นนายกรัฐมนตรี
และเป็นผู้นาของกัมพูชาต่อไปอีกอย่างน้อย5ปีแน่นอน
Page 22
15.สถานที่จัดกิจกรรม สไตล์แนวทางการโฆษณาที่นิยม
Cambodia Beer เปิดตัวแคมเปญ
แบบบูรณาการ รณรงค์การเปลี่ยนแปลงในการใช้
ชีวิตสร้างวัฒนธรรมใหม่ของการบริโภคและ
ความสนุกสนาน เป็นเทรนด์ใหม่ของสไตล์การใช้
ชีวิตของชาวกัมพูชาเกี่ยวกับวิธีการเปลี่ยนแปลง
ตัวเองเพื่อความสนุกสนานในการใช้ชีวิตให้มากขึ้น
ข้อความแคมเปญที่นามาออกคือ "ไปตาม
ความรู้สึกของคุณ
Spot
https://www.youtube.com/watch?v=Jwg
orjmroTo
Page 23
จัดทำโดย
นาย กฤษณธร พันธุ์ภา 1560313072
นาย ปรเมษฐ์ ว่องกิตติกูล 1560304618
นาย สุภกิณห์ โทวรรธนะ 1560308676
นาย ธนาทร เรือนจักร 1560303859
นาย ศุภฤกษ์ ไชยธนกาญจน์ 1560321513
นาย พงค์อาทิตย์ พรหมพิทักษ์ 1570305399
นาย นันท์มนัส ทั่งบุญ 1570303790

More Related Content

Similar to Bdc 412 กัมพูชา

งานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลางงานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลางorawan155
 
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

Similar to Bdc 412 กัมพูชา (10)

History of south east asia
History of south east asiaHistory of south east asia
History of south east asia
 
History of south east asia
History of south east asiaHistory of south east asia
History of south east asia
 
History of south east asia
History of south east asiaHistory of south east asia
History of south east asia
 
History of south east asia
History of south east asiaHistory of south east asia
History of south east asia
 
งานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลางงานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลาง
 
เวียดนาม
เวียดนามเวียดนาม
เวียดนาม
 
Work6 99999
Work6 99999Work6 99999
Work6 99999
 
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
 
ลักษณะสังคมและวัฒนธรรม2.1
ลักษณะสังคมและวัฒนธรรม2.1ลักษณะสังคมและวัฒนธรรม2.1
ลักษณะสังคมและวัฒนธรรม2.1
 
ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย
ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทยประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย
ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย
 

Bdc 412 กัมพูชา

  • 1. Page 1 1.ประวัติการก่อตั้งประเทศ ราชอาณาจักรกัมพูชา เมืองหลวงคือ กรุง พนมเปญ (Phnom Penh) กัมพูชาเป็นประเทศในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนทาทิศใต้จรดกับอ่าวไทย ทาง ทิศตะวันตกติดกับประเทศไทย ทางทิศเหนือติดกับประเทศ ไทยและลาว ทางทิศตะวันออกติดกับเวียดนาม กัมพูชาเป็ น อดีตประเทศอาณานิคมของฝรั่งเศสในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ เพียงแค่ประเทศเดียวเท่านั้นที่มีการ ปกครองด้วยระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐ ธรรมนูญ *กัมพูชาเริ่มต้นขึ้นจากการที่พระเจ้าชัยวรมันที่ 2 ได้ รวบรวมอาณาจักรขอมให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันใน พ.ศ.1345 ซึ่งอาณาจักรมีความรุ่งเรืองมากว่า 600 ปี
  • 2. Page 2 *พ.ศ.2406 กษัตริย์นโรดม (Norodom) ได้ลงนามในสนธิสัญญาฉบับ แรกกับฝรั่งเศส ซึ่งถือเป็นจุดเริ่มต้นที่กัมพูชาตกอยู่ในอานาจของฝรั่งเศส *พ.ศ.2497 กัมพูชาได้รับเอกราชอย่างสมบูรณ์ตามข้อตกลงใน สนธิสัญญาเจนีวา *พ.ศ.2513 มีการเปลี่ยนการปกครองมาเป็นสาธารณรัฐ แต่กลับล่ม สลายใน พ.ศ.2518 เมื่อเขมรแดงหรือพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา ภายใต้การนา ของพอล พต ขึ้นเป็นผู้นา *พ.ศ.2522 กลุ่มกัมพูชาฝ่ายซ้ายล้มล้างรัฐบาลของเขมรแดง และ ปกครองประเทศ *พ.ศ.2535 กองกาลังสหประชาชาติ (UNTAC) เข้าจัดการและฟื้นฟู กัมพูชา โดยแต่งตั้งให้มีนายกรัฐมนตรี 2 คน คือ เจ้านโรดม รณฤทธิ์ และฮุนเซน *ต่อมาฮุนเซน ได้ทารัฐประหาร และจัดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปใน พ.ศ.2541 โดยมีตนเองได้ดารงนายกรัฐมนตรีต่อมาจนถึงปัจจุบัน 1.ประวัติการก่อตั้งประเทศ
  • 3. Page 3 2.ที่มีอิทธิพล ความเชื่อ ความคิด ของประเทศกัมพูชา สมเด็จอัครมหาเสนาบดี เดโช ฮุนเซน (Somdech Akka Moha Sena) เริ่มเข้าดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรีตั้งแต่อายุ 33 ปี นับเป็นนายกรัฐมนตรีที่มีอายุน้อยที่สุดของกัมพูชา และดารง ตาแหน่งมาหลายสมัย จนถึงปัจจุบัน ฮุน เซน วัย 18 ปี ได้เข้าร่วมกับ ขบวนการต่อสู้กับจักรพรรดินิยมของเจ้านโรดมสีหนุ อดีตนายกรัฐมนตรี กัมพูชา หลังจากจักรพรรดินิยมถูกโค่นล้มโดยนายพลลอน นอล (Lon Nol) ซึ่งองค์การ CIA ของสหรัฐอเมริกาหนุนอยู่เบื้องหลัง สละราชบัลลังก์ให้แก่พระราชโอรสนโรดมสีหมุนี
  • 4. Page 4 สมเด็จพระนโรดมสีหนุหรือ เจ้าสีหนุ(Norodom Sihanouk) อดีตกษัตริย์แห่งกัมพูชาผู้ล่วงลับไปแล้ว และเป็นนายกรัฐมนตรีอยู่ หลายสมัยก่อน สละราชบัลลังก์ให้แก่พระราชโอรสนโรดมสีหมนี ทรงเป็น "พระวรราชบิดา" ของชาวกัมพูชา สวรรคตแล้วเมื่อวันที่ 15 ต.ค. 2555 ด้วยพระชนมายุ 89 พรรษา ขณะประทับอยู่ทกรุงปักกิ่ง ประเทศจีน โดยช่วงที่ทรงพระชนม์ชีพ ทรงมีบทบาทอย่างสูงในการเมืองกัมพูชาสมัยใหม่ ทั้งการเรียกร้องเอกราช - ตั้งพรรคสังคมราษฎร์นิยม - มีบทบาท ใน สงครามกลางเมือง - ตั้งแนวร่วมเขมรสามฝ่ายกับเขมรแดง นามาสู่การ เลือกตั้งและ สิ้นสุดสงครามกลางเมืองในปี 2536ก่อยอนสละราสมบัติ ในปี 2547 กินเนสส์บุ๊กบันทึกว่า พระองค์ทรงเป็นนักการเมืองที่ดารง ตาแหน่งทางการเมืองมากที่สุดในโลก 2.ที่มีอิทธิพล ความเชื่อ ความคิด ของประเทศกัมพูชา
  • 5. Page 5 3. นโยบายรัฐบาล และนโยบายการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของกัมพูชา จากการที่รัฐบาลกัมพูชาได้ดาเนินการตามแผนพัฒนายุทธศาสตร์แห่งชาติ ในปี พ.ศ.2549-2553 ตามยุทธศาสตร์ลดความยากจนแห่งชาติ รวมทั้งเป้ าหมายการพัฒนาแห่ง สหัสวรรษของกัมพูชา ซึ่งล้วนเป็นยุทธศาสตร์หลักที่รัฐบาลกัมพูชาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศ โดยมีจุดมุ่งหมายให้กัมพูชาเดินหน้าไปสู่การพัฒนาและความเจริญก้าวหน้า อย่างมั่นคงและยั่งยืน และใช้เป็นพื้นฐานในการแก้ไขปัญหาสาคัญในการพัฒนาประเทศ 4 ด้าน คือ 1.ด้านการเกษตร 2.ด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 3.ด้านการพัฒนาภาคเอกชนเพื่อการสร้างงาน 4.ด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ที่รวมถึงด้านการศึกษาและสาธารณสุข
  • 6. Page 6 4.สื่อ Channel สื่อกัมพูชาโดยเฉพาะสื่อสิ่งพิมพ์ จัดว่ามีเสรีภาพมากกว่าหลายประเทศในอาเซียน เพราะอนุญาตให้ชาวต่างชาติเป็นเจ้าของ 100 % พนมเปญโพสท์ หนังสือพิมพ์อันดับ 1 ของกัมพูชา มีเจ้าของเป็ นชาวออสเตรเลีย นักข่าวจากพนมเปญโพสท์ ระบุว่า มีหนังสือพิมพ์ภาษาแขมร์จานวนมากในกัมพูชา เสนอ เนื้อหาหลากหลาย โดยเฉพาะข่าวที่ขายได้อย่างอุบัติเหตุ และคนตาย แต่สาหรับพนมเปญโพสท์ไม่มี นโยบายนาภาพคนตายขึ้นหน้า 1 เป็นความพยายามยกระดับหนังสือพิมพ์ให้ได้มาตรฐานสากล พนมเปญโพสท์เป็นหนังสือพิมพ์ที่ตีพิมพ์ทั้งภาษาแขมร์ และภาษาอังกฤษ และ วางตาแหน่งว่าเป็ น เบอร์ 1 ของสื่อสิ่งพิมพ์กัมพูชา ส่วนสื่อโทรทัศน์ - อันดับแรก คือ สถานีโทรทัศน์ซีทีเอ็น ที่นาเสนอรายการแบบวาไรตี้ ได้รับความ นิยมสูงสุด - อันดับสอง คือ สถานีโทรทัศน์บายอน ของลูกสาวสมเด็จ - อันดับสาม คือ สถานีฮองเมียต เป็ นสถานีข่าวที่ได้รับความนิยมสูงสุด
  • 7. Page 7 5. Campaing ยอดนิยม กัมพูชาเริ่มโครงการ “1 คน 1 ต้น” สนับสนุน นักท่องเที่ยวปลูกต้นไม้ที่ปราสาทนครวัดนักท่องเที่ยวทางการกัมพูชา จะเริ่มโครงการรณรงค์ให้นักท่องเที่ยวปลูกต้นไม้ เพื่อส่งเสริม การท่องเที่ยวและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในประเทศ โครงการรณรงค์ให้นักท่องเที่ยวปลูกต้นไม้นี้จะช่วย ส่งเสริมให้นักท่องเที่ยวมีส่วนร่วมในการช่วยกันรักษาสิ่งแวดล้อม ลด การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ภาวะโลกร้อน และภัยธรรมชาติอื่นๆ การท่องเที่ยวเป็นหนึ่งใน 4 เสาหลักที่ส่งเสริมเศรษฐกิจของกัมพูชา กัมพูชาได้ต้อนรับนักท่องเที่ยวต่างชาติแล้ว 3.5 ล้านคน เพิ่มขึ้น ร้อยละ 25 เมื่อเทียบกับปี 2554 และในปี 2555 อุตสาหกรรมการ ท่องเที่ยวยังสร้างรายได้ให้แก่ประเทศมากกว่า 2,000 ล้านดอลลาร์
  • 8. Page 8 6. search engine https://www.facebook.com/ https://www.google.c om http://www.cambodia.org/
  • 9. Page 9 7.อาชีพและสินค้าส่งออก อาชีพหลักของชาวกัมพูชา คือ ภาค เกษตรกรรม ประมาณร้อยละ 70 ภาคบริการประมาณ ร้อยละ 17 ภาคอุตสาหกรรมโรงงาน ประมาณ ร้อยละ 8 และภาคการก่อสร้าง ประมาณร้อยละ 5 ทั้งนี้ ชาวกัมพูชาประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็ น อาชีพหลัก พืชที่ปลูกส่วนใหญ่ ได้แก่ ข้าวเจ้า ยางพารา พริกไทย รองลงมาคือ ประมง โดยบริเวณรอบทะเลสาบกัมพูชาเป็นแหล่งประมง น้า จืดที่สาคัญที่สุดในภูมิภาค มีการทาป่าไม้บริเวณเขตภูเขาทางภาคเหนือโดย ล่องมาตามแม่น้าโขง อุตสาหกรรมในประเทศเป็ นอุตสาหกรรมขนาด ย่อม ส่วนใหญ่เป็ นโรงสีข้าว และรองเท้า
  • 10. Page 10 สินค้าหลักที่กัมพูชาส่งออก คือ ผลผลิตด้าน การเกษตร ซึ่งเป็นรายได้หลักของประชากรร้อยละ 70 ของประเทศ รวมถึง การส่งออกเสื้อผ้าสาเร็จรูป สิ่งทอ รองเท้า ยางลาเท็กซ์ รายได้ หลักของกัมพูชามาจากภาคเกษตรกรรม ร้อยละ 32.5 ได้แก่ การกสิ กรรม การประมง ปศุสัตว์ และป่าไม้ ซึ่งสินค้าเกษตรที่ส่งออก ได้แก่ ข้าว ผลิตภัณฑ์ปลา และยางพารา รองลงมา ได้แก่ ข้าวโพด ถั่วเหลือง สัตว์มีชีวิต ผลไม้ และปลา เป็นต้น ภาคอุตสาหกรรม ร้อยละ 22.4 ซึ่งสินค้า อุตสาหกรรมส่งออก ได้แก่ เสื้อผ้าและเครื่องนุ่งห่ม รองเท้า และภาคบริการ ร้อยละ 45.1 รายได้ที่สาคัญของภาคบริการ ได้แก่ รายได้จาก นักท่องเที่ยว และอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและบริการ 7.อาชีพและสินค้าส่งออก
  • 11. Page 11 8.ภาษา ธงชาติ เครื่องแต่งกาย วัฒนธรรม ประเพณี ภาษา ภาษาเขมรเป็นภาษาราชการ ส่วน ภาษาที่ใช้โดยทั่วไป ได้แก่ อังกฤษ ฝรั่งเศส เวียดนาม จีน และไทย ธงชาติ มีแถบสีน้าเงิน – แดง – น้าเงินตาม แนวนอน โดยมีรูปปราสาทนครวัดสาม ยอดสีขาวอยู่ตรงกลางบนแถบสีแดง เพลงชาติ เพลงนาคราช (Nokoreach ศาสนา ศาสนาประจาชาติคื อศาสนาพุทธ นิกายเถรวาท (แยกเป็น 2 นิกายย่อย คือ ธรรมยุตินิกายและมหานิกาย) แล ะศาสนาอื่นๆ อาทิ ศาสนาอิสลามและศาสนาคริสต์
  • 12. Page 12 การแต่งกาย ผ้าซัมปอต (Sompot) มีทั้งที่เป็นผ้าฝ้ ายและผ้าไหม มีหลายแบบ ถ้าเป็นผ้าที่ใช้ในโอกาส พิเศษจะใช้เส้นใยพื้น เมืองทอ ถ้าใช้ในชีวิตประจาวันจะใช้วัสดุราคาไม่สูง ซึ่งจะส่งมาจาก ประเทศ ญี่ปุ่น นิยมทาลวดลายตามขวาง ถ้าเป็นชนิดหรูหราจะทอด้ายเงินและด้ายทอง ผ้าโฮล (Hol) เป็นผ้าที่สวยงามประณีต และเก่าแก่ที่สุด จะเป็นผ้ามัดหมี่ชนิดหนึ่งเป็น แบบที่ มัดเส้นพุ่ง ผ้าโฮลที่มีชื่อเสียงด้านคุณภาพและเนื้อผ้าจะทอจาก กัมปะจาน ผ้าโฮลจะมี ลวดลายสาหรับผู้หญิงและชาย เช่น ลายโกฎจะเป็น ลายของผู้ชาย หญิง นิยมนุ่งผ้าถุงสีดา เนื้อมัน คาดเข็มขัด ใส่เสื้อสี งานพิธีนุ่งผ้ายก พวกในวังมักนุ่งผ้า โจงกระเบน ไว้ผมตัด ผู้ชาย ผ้าโจงกระเบน ใส่เสื้อคอปิด ขัดกระดุมห้าเม็ด 8.ภาษา ธงชาติ เครื่องแต่งกาย วัฒนธรรม ประเพณี
  • 13. Page 13 8. วัฒนธรรม ประเพณี ในประเทศกัมพูชา มีการทาบุญประเพณีต่างๆ เหมือนกับเมืองไทยเช่นกัน เช่น วันสงกรานต์ เริ่มจากวันที่ 13 เดือน เมษายน ถึง 15 เมษายน ประเพณีวันลอยกระทง ช่วงสิ้นเดือนตุลาคม และอีกมากมาย วิธีบุญต่างๆ จัดขึ้นทุก ๆ ปีกัมพูชาเป็น ประเทศที่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน วัฒนธรรมและประเพณีจึงเกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์ ความเชื่อ วิถีชีวิตของคนในประเทศ เช่น ระบาอัปสรา (Apsara Dance) เป็นการแสดงนาฏศิลป์ที่โดดเด่นของกัมพูชา ซึ่งถอด แบบการแต่งกาย และท่าร่ายรามาจากภาพจาหลักรูป นางอัปสรที่ปราสาทนครวัด เทศกาลน้า หรือ "บอน อม ตุก" (Bon Om Tuk) เทศกาลประจาปีที่ยิ่งใหญ่ของกัมพูชา จัด ขึ้นในเดือนพฤศจิกายน เพื่อเป็นการแสดง ความสานึกในพระคุณ ของแม่น้าที่นา ความอุดมสมบูรณ์มาให้ โดยจะมีการแข่ง เรือยาว แสดงพลุดอกไม้ไฟ และการแสดง ขบวน เรือประดับไฟ อาหารประจาชาติ อาม็อก (Amok) ทาจากเนื้อปลา ปรุงรสด้วยเครื่องแกงและกะทิ มีลักษณะคล้าย ห่อหมกของไทยบางตารับอาจใช้เนื้อไก่หรือหอยแทน สาเหตุ หนึ่งที่คนในประเทศนี้นิยมรับประทานปลา เพราะเป็นอาหารที่ หาได้ง่าย
  • 14. Page 14 9.ภูมิศาสตร์ การเมือง ประชากร กัมพูชา ภูมิศาสตร์ เป็นประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อยู่ติดกับอ่าว ไทย มีพื้นที่ทั้งหมด 181,040 ตารางกิโลเมตรทางตะวันตกเฉียงใต้ ของคาบสมุทรอินโดจีน อยู่ในเขตร้อนชื้น ลักษณะพื้นที่เป็นที่ราบ ใจ กลางของประเทศเป็นทะเลาสาบเขมร และมีแม่น้าโขงไหลผ่านจาก เหนือไปใต้ลักษณะภูมิอากาศอยู่ในเขตมรสุม แบ่งเป็น 2 ฤดูชัดเจนคือ ฤดูฝนและฤดูแล้ง อากาศค่อนข้างร้อนและมีความชื้นสูง พื้นที่ป่ามี ประมาณสองในสามของประเทศแต่กาลังถูกทาลายทั้งโดยการตัดไม้ และการเผาเพื่อใช้เป็นพื้นที่ทางการเกษตร ประชากร มีประชากรกว่า 14.8 ล้านคน กัมพูชา เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 66 ของโลก ศาสนาพุทธนิกายเถรวาทเป็นศาสนาประจาชาติ ซึ่ง ประชากรกัมพูชานับถือประมาณ 95% ชนกลุ่มน้อยใน ประเทศมีชาวเวียดนาม ชาวจีน ชาวจามและชาวเขากว่า 30 เผ่า[4] เมืองหลวงและเมืองใหญ่สุด คือ พนมเปญ ซึ่ง เป็นศูนย์กลางการเมือง เศรษฐกิจและวัฒนธรรมของ กัมพูชา
  • 15. Page 15 การเมือง ประเทศกัมพูชามีระบบการปกครองแบบประชาธิปไตยที่มี พระมหากษัตริย์เป็นประมุข มีนายกรัฐมนตรีเป็นผู้บริหารประเทศ เป็นการปกครองที่มี รูปแบบรัฐเดียว กษัตริย์องค์ปัจจุบันของกัมพูชา คือ "พระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดมสีหมุนีตามโครงสร้างการปกครองของประเทศกัมพูชาได้กาหนดในกฤษฎีกา เมื่อ วันที่ 12 มกราคม พ.ศ.2552 ให้มีการแบ่งเขตปกครองเป็น 1 ราชธานี (พนมเปญ) และ 23 จังหวัด ได้แก่ กรแจะ เกาะกง กันดาล กาปงจาม กาปงชนัง กาปงธม กาปงสะดือ กัม ปอต ตาแก้ว รัตนคีรี สตึงแตรง สวายเรียง เสียมราฐ อุดรมีชัยไพลิน แกบ และพระสีหนุ ซึ่งแต่ละจังหวัดมีศูนย์กลางการปกครอง เรียกว่า "กรุง” (อาเภอเมือง) นอกจากนั้น ยังมีเมืองสาคัญที่มีฐานะเป็นกรุงอีก 3 แห่ง คือ กรุงปอย เปต (จังหวัดบันเตียเมียนเจย) กรุงบาวัด (จังหวัดสวายเรียง) และกรุงสรวง (จังหวัดกา ปงจาม) แต่ละจังหวัดหรือกรุงปกครองโดยผู้ว่าราชการจังหวัด และรองผู้ว่าราชการ จังหวัดอีก 7-9 คน ซึ่งได้รับการแต่งตั้งตามวาระของรัฐบาล โดยจังหวัดแบ่งเขตการ ปกครองย่อยเป็นอาเภอ (สะร็อก) และตาบล (คุ้ม) ขณะที่กรุงแบ่งเขตการปกครองย่อย เป็นคานและสังกัด นอกจากนี้ในหมู่บ้านจะแบ่งออกเป็นชุมชนย่อยอีกเรียกว่า "ภูมิ” โดยในปัจจุบันประเทศกัมพูชามีการกระจายอานาจแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 20 จังหวัด และ 4 เทศบาล 9.ภูมิศาสตร์ การเมือง ประชากร กัมพูชา
  • 16. Page 16 รัฐบาลปัจจุบันซึ่งนาโดยสมเด็จฮุน เซน นายกรัฐมนตรี ได้แถลงนโยบายและประกาศใช้ยุทธศาสตร์ สี่เหลี่ยม เพื่อการเจริญเติบโต การจ้างงาน ความเสมอภาคและประสิทธิภาพในกัมพูชา ซึ่งเป็นยุทธศาสตร์ หลักที่รัฐบาลกัมพูชาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศ โดยมีจุดหมายให้กัมพูชาเดินหน้าไปสู่ การพัฒนาและความเจริญก้าวหน้าอย่างมั่นคงและยั่งยืน ยุทธศาสตร์สี่เหลี่ยมเป็นยุทธศาสตร์ที่นาจุดเด่นของนโยบาย และยุทธศาสตร์ต่างๆ ของกัมพูชารวมไว้ด้วยกัน อาทิ เป้ าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษของกัมพูชา (Cambodia’s Millennium Development Goals : CMDGs) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของกัมพูชา (Cambodia Socio-Economic Development Plan : SEDP) ยุทธศาสตร์การลดความยากจนแห่งชาติ (National Poverty Reduction Strategy : NPRS) มีวัตถุประสงค์สาคัญ 9 ประการได้แก่ 1. การขจัดปัญหาความยากจน 2. การจัดระบบการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี 3. การส่งเสริมความเท่าเทียมทางเพศ 4. การลดอัตราการตายของทารก 5. การปรับปรุงระบบสาธารณสุข 6. การต่อสู้กับโรคติดต่อร้ายแรง 7. การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 8. การสร้างหุ้นส่วนระหว่างประเทศเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน 9.การขจัดทุ่นระเบิดและการช่วยเหลือผู้เคราะห์ร้ายจากทุ่นระเบิด 10.นโยบายหลักของประเทศ
  • 17. Page 17 11.บุคคลสาคัญที่ส่งผลต่อพฤติกรรม สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน เมื่ออายุได้ 19ปีได้เข้าร่วมในกองทัพปฏิวัติ(เขมรแดง)ทาการ สู้กับทหารลอนนอนซึ่งสหรัฐอเมริกาให้การสนับสนุนและก่อตั้งแนวร่วมสามัคคี ประชาชาติกู้ชาติกัมพูชาหรือเรียกว่าแนวร่วมปลดปล่อยหลังจากยุคเขมรแดง สมเด็จฮุน เซน ป็ นนายกรัฐมนตรีของกัมพูชาดารงตาแหน่งยาวนานกว่า 20 ปี ซึ่งเป็นคนที่ทรงอิทธิพลที่สุดของกัมพูชาพฤติกรรมของขาวกัมพูชา
  • 18. Page 18 พฤติกรรมของชาวกัมพูชา คนกัมพูชามีรูปแบบการใช้ชีวิตแบบสุขนิยม ชอบสังสรรค์ สังคม งานแต่ง วัยรุ่นกัมพูชาเมื่ออายุถึง 15 ปีก็มีคนมาจองมั่นหมายแล้ว ถ้ายังไม่มีพ่อแม่ต้องรีบหาให้ โดยเฉพาะเด็กผู้หญิง หากอายุเกิน 20 ปี ถือว่าแก่มาก ลักษณะการไปงานที่จัดแบบโต๊ะจีน ที่กัมพูชาจะไม่มีการรอ เวลาหรือเจ้าภาพ หากโต๊ะไหนเต็มก่อนก็จะเสิร์ฟก่อนและกิน เสร็จก่อน ก็ลุกก่อน กลับบ้านก่อน โดยไม่สนใจผู้หลัก ผู้ใหญ่ ประธาน หรือพิธีการต่างๆ ในงานเลย *สิ่งที่เป็ นข้อห้ามคือ เมื่อได้มาเจอกันแล้ว อย่านัดทานข้าว เที่ยง เพราะคนกัมพูชาชอบหลับกลางวัน ช่วงเช้าเริ่มงาน 7.30-11.00 น. และช่วงบ่ายเริ่ม 14.00-17.00 น. ในประเทศกัมพูชาคน ที่จะเป็นเกษตรกรหรือว่าทา การเกษตรได้จะต้องเป็นคนที่มีฐานะ ต่างกับเกษตรกรในประเทศไทย เนื่องจาก 1. ที่ดินแพง 2. แรงงานไม่ มี คนรุ่นใหม่ต่างก็หันไปทางานใน โรงงานอุตสาหกรรมเพราะรายได้ ดีกว่า นิสัยของคนกัมพูชาอีกอย่าง หนึ่งคือชอบทาตามอย่าง ซื้อตาม อย่าง เช่น ถ้ามีรถยนต์ยี่ห้อไหนขายดี ก็จะขายดีทั้งประเทศ เพราะเขาจะบอก กันปากต่อปากและจะให้ความเชื่อถือ มากกว่าการดูโฆษณาตามสื่อต่างๆ วัยรุ่นกัมพูชาใช้ Social Media เยอะ มาก และใช้เก่งถึงขนาดที่บริษัท คอมพิวเตอร์ต้องมาจ้างให้คีย์ข้อมูล และทาโปรแกรม หรือแม้กระทั่งร้าน ขายของออนไลน์ในไทยก็ยังส่งข้อมูล มาให้ที่นี่คีย์เช่นกัน
  • 19. Page 19 12.ค่านิยมหลักของประเทศ ในประเทศกัมพูชามีตลาดอยู่หลายรูปแบบ ตั้งแต่ตลาดขนาดเล็ก ถึงขนาดใหญ่ ห้างสรรพสินค้า ราคาก็จะขึ้นอยู่กับอุปสงค์ อุปทาน แบรนด์จากต่างประเทศดูเหมือนว่าจะมีความ น่าเชื่อถือมากกว่า แบรนด์ของประเทศกัมพูชาเอง ในการซื้อสินค้าแต่ละชนิดจะขึ้นอยู่กับแต่ละพื้นที่และการ ใช้ ปัจจัยที่มีผลต่อการซื้อสินค้าแฟชั่นของชาวกัมพูชา 1.ความจาเป็น 38% 2.คุณภาพสินค้า 21% 3.แสดงถึงรสนิยมของตนเอง 11% 4.เป็นที่นิยมในกลุ่มเพื่อนๆ 9% 5.แสดงถึงฐานะ 9% 6.โปรโมชัน 7% 7.ราคา 4% 8.อื่นๆ 1%
  • 20. Page 20 13.พฤติกรรมการรับสื่อ ความนิยมในสื่อแต่ละประเภท การบริโภคสื่อ สาหรับการบริโภคสื่อของคนที่นั่น โทรทัศน์เป็น สื่อยอดนิยมอันดับหนึ่ง รองลงมาคือสื่อ พวกบิลบอร์ด พวกสื่อออนไลน์ยังคง ต้องพัฒนาอีกมาก โดยอินเทอร์เน็ตยังมีเฉพาะในเมืองใหญ่ สังคมออนไลน์ โดยเฉพาะ เฟซบุ๊ก ถือได้ว่าได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก สังเกตจากท่านสมเด็จ ฮุนเซน ใช้เฟซบุ๊ก live เพื่อถ่ายทอดสดภารกิจของท่านเป็นประจา
  • 21. Page 21 14.ผู้มีอิทธิพลทางความคิด สื่อonlineและofflinew นายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรกัมพูชา ดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี หลายสมัย สมเด็จฮุน เซน นั้นเข้าดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรีกัมพูชาครั้งแรก ตั้งแต่ อายุ 33 ปี ในยุคสาธารณรัฐประชาชนกัมพูชานับเป็นนายกรัฐมนตรีที่มีอายุน้อยที่สุด ของกัมพูชา สมเด็จฮุน เซน เป็นผู้มีอิทธิพลในหลายด้านของกัมพูชา เป็นทั้งผู้นาความคิด หรือแม้กระทั่งด้านทางทหารถึงกับมีคนกล่าวว่า สมเด็จฮุน เซนจะได้เป็นนายกรัฐมนตรี และเป็นผู้นาของกัมพูชาต่อไปอีกอย่างน้อย5ปีแน่นอน
  • 22. Page 22 15.สถานที่จัดกิจกรรม สไตล์แนวทางการโฆษณาที่นิยม Cambodia Beer เปิดตัวแคมเปญ แบบบูรณาการ รณรงค์การเปลี่ยนแปลงในการใช้ ชีวิตสร้างวัฒนธรรมใหม่ของการบริโภคและ ความสนุกสนาน เป็นเทรนด์ใหม่ของสไตล์การใช้ ชีวิตของชาวกัมพูชาเกี่ยวกับวิธีการเปลี่ยนแปลง ตัวเองเพื่อความสนุกสนานในการใช้ชีวิตให้มากขึ้น ข้อความแคมเปญที่นามาออกคือ "ไปตาม ความรู้สึกของคุณ Spot https://www.youtube.com/watch?v=Jwg orjmroTo
  • 23. Page 23 จัดทำโดย นาย กฤษณธร พันธุ์ภา 1560313072 นาย ปรเมษฐ์ ว่องกิตติกูล 1560304618 นาย สุภกิณห์ โทวรรธนะ 1560308676 นาย ธนาทร เรือนจักร 1560303859 นาย ศุภฤกษ์ ไชยธนกาญจน์ 1560321513 นาย พงค์อาทิตย์ พรหมพิทักษ์ 1570305399 นาย นันท์มนัส ทั่งบุญ 1570303790