Advertisement
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
Advertisement
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
Advertisement
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
Advertisement
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
Advertisement
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
Advertisement
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
Advertisement
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
Advertisement
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
Advertisement
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
Advertisement
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
ชีวา ณ 11.docx
Upcoming SlideShare
คุณเป็นใคร 2.docxคุณเป็นใคร 2.docx
Loading in ... 3
1 of 566
Advertisement

More Related Content

Recently uploaded(20)

Advertisement

ชีวา ณ 11.docx

  1. ชีวา ณ เคหาสน์ ณ อาศรม ณ อารมณ์ ณ อาลัย เรียบเรียงโดย เมทนี แสงธรรม Complied by: Martin Chan 编制者: 马丁 陈 17/03/2566 ๑ ๑
  2. 11.15 AM. มาตั้งเป้าหมายนิยาย ให้ตอบโจทย์นักอ่าน ด้วยแนวคิด The Golden Circle กันเถอะ! สวัสดีค่ะนักเขียนชาวเด็กดีทุกคน มีใครรู้จักไซม่อน ซิเน็ค (Simon Sinek) ผู้เขียนหนังสือ เรื่อง Start with Why กันบ้างไหมคะ พี่แนนนี่เพน ชื่นชอบแนวคิดของเขามากๆ เลยค่ะ
  3. โดยเฉพาะแนวคิด เรื่อง The Golden Circle ที่ชวนให้เราตั้งคาถามถึงสิ่งที่เรากาลัง ทาอยู่ โดยตั้งคาถาม จากข้างในออกไปข้างนอก แบบ Why > How > What ที่เน้นตั้งเป้าหมายก่อน เป็นอันดับแรก
  4. จากนั้น ค่อยหาวิธีการเพื่อให้ได้มา ซึ่งสิ่งที่ต้องการ เป็นอันดับสุดท้ายนั่นเอง แนวคิดนี้ แม้ว่าส่วนใหญ่จะนาไปใช้ในแง่ของการ ทาธุรกิจ และเป็นแนวคิดของนักการตลาดมากก ว่า
  5. แต่ว่าในมุมของนักเขียน ซึ่งเป็นผู้สร ้างผลงานคนหนึ่งเหมือนกัน พี่คิดว่าเราสามารถเอามาปรับใช ้ได้แน่ นอนค่ะ เพราะว่ามีโควทหนึ่งของซิเน็คที่ดังไปทั่ วบ้านทั่วเมืองบอกเอาไว้ว่า “People don’t buy what you do; they buy why you do it. And what you do simply proves what you believe” คนเขาไม่ได้ซื้อสิ่งที่คุณทาหรอกนะ พวกเขาซื้อ เพราะเหตุผลที่คุณทามันขึ้นมาต่างหาก
  6. และสิ่งที่คุณทาออกมา มันก็พิสูจน์ในสิ่งที่คุณเชื่อนั่นแหละ ถ้าหากลองเทียบ กับการเขียนนิยายดู เราจะพบว่า นิยายที่มีเป้าหมาย หรือมีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน จะมีการสร้างพล็อต หรือโครงเรื่องที่ค่อนข้างสมบูรณ์
  7. และกลายเป็นนิยาย ที่ตอบโจทย์ทั้งตัวเราและนักเอ่านได้ใน ที่สุด หากใคร ยังไม่ได้คิดเลยว่า เราเขียนนิยายไปเพราะอะไร พี่ก็อยากชวนทุกคน มาลองตั้งเป้าหมายให้นิยายของเรา ด้วยวิธีเหล่านี้ดูค่ะ
  8. หากใครทาได้ นิยายของเราจะดาเนินเรื่องแบบมีมิติ และเข้าถึงนักอ่านมากขึ้นแน่นอน! The Golden Circle: แนวคิดของคนชอบตั้งคาถาม
  9. ก่อนจะไปตั้งเป้าหมายกัน หลายคนอาจจะสงสัยว่าพูดถึงไซม่อน ซิเน็คอยู่ดีๆ ทาไมโผล่มาเรื่องการตั้งเป้าหมายตัวละ ครได้ล่ะ อย่างที่พี่ได้พูด เกริ่นเรื่อง The Golden Circle ไปแล้วคร่าวๆ ใจความสาคัญของแนวคิดนี้ ก็คือ การตั้งคาถาม ในสิ่งที่เรากาลังทาอยู่ยังไงล่ะคะ
  10. คาถามของ The Golden Circle ก็คือ การตั้งเป้าหมายให้สิ่งที่เราทา เราต้องรู้จุดมุ่งหมายในสิ่งที่เราทาก่อน สิ่งที่เราทาออกมา จึงจะตอบโจทย์ทั้งตัวเราและคนที่ได้รับส าร ส่วนวิธีการนั้นก็ต้องตามมาหลังจากเรา มีเป้าหมายแล้ว แนวคิด The Golden Circle ในหนังสือ Start with Why จะเน้นไปที่
  11. การตั้งคาถามว่า Why, How, What เป็นการตั้งคาถามจากตัวเราก่อน ตอนแรกที่เห็น พี่ก็แอบงงอยู่เหมือนกันว่า ทาไม อย่างไร และอะไร จะสามารถตอบโจทย์การทาสิ่งต่างๆ ได้ยังไง จนพี่ ลองคิดพลิกแพลงหลายๆ แบบดู
  12. ถึงเข้าใจว่า สิ่งที่แนวคิด The Golden Circle ต้องการสื่อ ไม่ใช่สิ่งที่เกิดขึ้น แต่เป็ น “เหตุผล” ที่ทาให้เกิดสิ่งเหล่านั้นขึ้นมา ต่างหาก ดังนั้น พี่ขอสรุปสั้นๆ ให้เข้าใจกันแบบง่ายๆ เลยว่า
  13. แนวคิดนี้ ใช้ความเชื่อของผู้สร้าง ทาให้ผู้คนสนใจ ในสิ่งที่กาลังเกิดขึ้นนั่นเอง โดยการเริ่มคาถามแรกด้วย Why ว่า จุดมุ่งหมาย หรือความเชื่อของเราคืออะไร (Belief) ทาไมเราถึงอยากทาสิ่งๆ นี้ขึ้นมา เช่น เราอยากเขียนนิยายเรื่องนี้เพราะอะไร
  14. ไม่ใช่ในแง่ของนักเขียน ว่าอยากเขียน ก็เลยเขียนนะคะ แต่เป็ นเหตุผลในแง่ของความเชื่อ ว่าฉันอยากเขียนนิยายเรื่องนี้ขึ้นม า เพราะต้องการสื่อสารอะไรออกมา มากกว่า ต่อมาคือ How
  15. การลงมือทา (Action) ให้เป้าหมายของเราสาเร็จนั่นเอง ขั้นตอนในข้อนี้ คือการสรรหาวิธีการต่างๆ ทั้งการศึกษาหาข้อมูล หาไอเดียแรงบันดาลใจใหม่ๆ วางพล็อตเรื่อง โครงเรื่อง ให้เห็นภาพที่ชัดเจน เพียงเท่านี้ การเขียนออกนอกทะเล ก็แทบจะไม่เกิดขึ้นกับนิยายของเราแล้ว ค่ะ
  16. สุดท้ายคือ What ผลลัพธ์ที่ได้มาคืออะไร (Result) ก็คือ การเขียนนิยาย หรือนิยายที่เขียนจบแล้วนั่นเองค่ะ ถ้าหากเรามองกระบวนการทั้งหมด ผ่านสามคาถามนี้
  17. สองขั้นตอนที่สาคัญที่สุด ก็คือ Why และ How ซึ่งเป็นแนวคิด และกระบวนการที่สื่อให้เห็นถึงความใส่ใ จ และผลลัพธ์ที่ได้คือสิ่งที่เราทาออกมาด้ว ยความตั้งใจ แม้นักอ่านจะไม่ได้รับรู้เป้าหมาย หรือกระบวนการแรกเริ่มของนิยายที่เรา เขียน แต่เนื้อเรื่องและแนวคิดที่สอดแทรกเอาไ ว้
  18. จะแสดงให้เห็นถึง ความตั้งใจของนักเขียนได้อย่างดีแน่นอ น ลองตั้งเป้าหมายนิยายด้วยแนวคิดนี้กัน!
  19. ปัญหาของในนิยาย ที่หลายคนอาจจะนึกไม่ถึง ก็คือ การกระทาของตัวละคร ในพล็อตเรื่องที่แสดงออกมาได้ซ้าซาก และชวนให้รู้สึกเบื่อได้ง่าย เช่น ฮีโร่ที่ต้องการเป็นวีรบุรุษ และคนเลวที่กระทาแต่เรื่องชั่วช ้า ตัวละครเหล่านี้ เหมือนแสดงออกมาแค่เรื่องขาวกับดา ชี้แค่ผิดกับถูก และชูว่าการกระทาที่ยิ่งใหญ่ที่สุด
  20. ก็คือการเสียสละ ไม่เห็นแก่ตัว และสร ้างสันติภาพให้โลกอะไรทานองนั้ น ซึ่งการมีตัวละครและพล็อตเรื่องแบบนี้ ไม่ใช่เรื่องผิดแต่อย่างใดนะคะ พี่เพียงอยากให้ทุกคน ได้เห็นว่านิยายเดี๋ยวนี้ เล่าเรื่องยังไง และอยากลองชวนทุกคน
  21. มาตั้งเป้าหมายที่แตกต่างดูบ้าง เท่านั้นเองค่ะ ตัวอย่าง ที่อยากนามาเล่าให้เห็นภาพในวันนี้ อยู่ในหนังสงครามปี 1998 เรื่อง Saving Private Ryan ค่ะ
  22. หนังเรื่องนี้ มีเนื้อหา เกี่ยวกับการสูญเสียกาลังทหารและชีวิต ของผู้คนในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง โดยเป้าหมายของหนัง ไม่ใช่การเอาชนะสงคราม ไม่ใช่การยึดฐานที่มั่นของศัตรู
  23. หรือมีเรื่องโหดร ้าย เกี่ยวกับนักโทษสงครามแต่อย่างใด เพราะหนังเรื่องนี้ มีเป้าหมายคือ การช่วยให้ชายคนหนึ่งได้กลับบ้านอย่า งปลอดภัยเท่านั้นเองค่ะ ภารกิจของตัวละครแทบทั้งเรื่อง ผูกโยงกับพล็อตได้อย่างน่าสนใจเ ลยค่ะ
  24. เป้าหมายเฉพาะกิจ ของทหารทั้งแปดคนในเรื่อง คือ การเข้าไปในสนามรบ เพื่อพาทหารคนหนึ่งกลับมาให้ได้ โดยที่ทหารแต่ละคน ต่างไม่เข้าใจว่าทาไมพวกเขาต้องเสี่ยง ชีวิต คนส่วนใหญ่เพื่อชีวิตของคนๆ เดียวด้วย
  25. ซึ่งในท้ายที่สุด เหล่าทหารก็ทาภารกิจจนตาย และคนที่พวกเขาเข้าไปช่วยเหลือ ก็ได้กลับบ้านโดยสวัสดิภาพ จากตัวอย่าง เหตุผลที่ทหารเหล่านี้ ต้องไปช่วยเหลือทหารคนหนึ่งกลับบ้าน ให้ได้ เพราะว่าลูกชายของครอบครัวนี้ ต่างเป็นทหาร และตายในสงครามทุกคน เหลือเพียงทหารคนดังกล่าวที่ยังไม่รู้ชะ ตาชีวิต
  26. ดังนั้น นี่จึงเป็นภารกิจที่มีเป้าหมาย เพื่อชดเชยความสูญเสีย ที่เกิดขึ้นจากสงคราม ให้กับครอบครัวของทหารที่ยังเหลืออยู่ แม้จะเป็นการตั้งเป้าหมาย ที่ค่อนข้างเป็นนามธรรม แต่ก็สามารถสื่อ ให้เห็นว่าความสูญเสียระหว่างสงครามนั้ น กระทบจิตใจของคนที่เกี่ยวข้องได้ดี
  27. เรามาลองถอด เรื่องราวตามแนวคิด The Golden Circle กันค่ะ Why - ผลกระทบที่เกิดจากสงคราม ความสูญเสียของผู้คนที่เกี่ยวข้องกับสง คราม How - สิ่งที่สื่อถึงความสูญเสียได้ดีที่สุด ก็คือ คนที่ยังรอคอยการกลับมาของผู้เป็นที่รั ก
  28. และชีวิตของทหารที่ต้องทาตามคาสั่งผู้ บังคับบัญชา What - หนังเรื่อง Saving Private Ryan การช่วยเหลือชายคนหนึ่ง ให้กลับบ้านไปหาครอบครัวอย่างปลอด ภัย
  29. ในท้ายที่สุดนี้ เราสามารถตั้งเป้าหมายได้ง่ายๆ ดังนี้
  30. 1. เป้าหมายนามธรรม (แนวคิด) ที่ต้องการสื่อสารออกไปคืออะไร 2. วิธีการวางพล็อต และโครงเรื่อง เพื่อให้เห็นนามธรรมที่ชัดเจน 3. ใครคือตัวละครที่จะทาเป้าหมายของเรา ให้สาเร็จ 4. เขียนนิยายของคุณออกมาให้จบ เป็นยังไงบ้างคะ พอจะเอาไปปรับใช้กันได้ใช่ไหม
  31. จริงๆ มันเป็นวิธีที่เหมาะสาหรับนักเขียนที่กาลั งจะสร ้างนิยายเรื่องใหม่ขึ้นมามากที่สุด แต่หากใครมีนิยายของตัวเองอยู่แล้ว ก็ลองเอาเป้าหมายเหล่านี้ ไปเพิ่มให้ตัวละครของเราทา เป็นพล็อตย่อยดู ก็น่าสนใจไปอีกแบบนะคะ พี่แนนนี่เพน หวังว่า บทความนี้จะทาให้นักอยากเขียน
  32. ทุกคนค้นพบจุดมุ่งหมายในการเขียนนิ ยาย และสามารถนาเทคนิควิธีการเหล่านี้ ไปใช้กับตัวละครในนิยายของเราได้นะค ะ หากใครอยากได้เทคนิค หรือทริคเกี่ยวกับอะไรเพิ่มเติม สามารถคอมเมนต์ไว้ในบทความนี้ได้เล ยค่ะ พี่จะพยายามหาเรื่องราวดีๆ มาบอกต่อ นักเขียนทุกคน ให้สุดความสามารถเลยค่ะ ^^พี่แนนนี่เพน
  33. 33 จัดฮวงจุ้ยบ้านเสริมมงคล รับ “ตรุษจีนปีขาล” 60 อ.มาศ เผยสูตร หาทิศไตรอสูร 80 ตัวอย่างวิธีดูทิศร้าย 90 วิธีคานวณองศาบ้านออนไลน์ แม่นยายิ่งกว่าเข็มทิศ 113 เลขศาสตร ์: ความหมายของตัวเลข และดาว 9 ยุค 130 พลิกวิกฤติ...ลิขิตดวงดาว 2566 145 โหราศาสตร ์จีน-ความลับในปฏิกิริยา 5 ธาตุของจีน ตอน 1- Pentagram พลังงานแห่งจักรวาล 193 ปรากฏการณ์พระอาทิตย์ตกตรง 15 ช่องประตู ปราสาทพนมรุ้ง ปี 2566 นทท.ห้ามพลาด 200 ไขความลับที่ซ่อนในเว็บ ดูดวงจีน ซินแสหลัว 229 การปฏิวัติของโครนอส 243 ดูโหวงเฮ้งจากสีสันของผู้ป่วย 252 เทคนิคการเลือกบ้านอย่างไรให้เฮง 272 กัวหมิง หมายเลขประจาตัวฮวงจุ้ย 287 “คุณเป็ นคนธาตุอะไร???” 302 แต่งเติมสีสันของห้อง ให้ถูกโฉลก ตามธาตุปีเกิด สารบัญ
  34. 318 ฮวงจุ้ย 337 ประวัติฮวงจุ้ยในจีน 346 พาไปส่องเคล็ดลับการจัดฮวงจุ้ยโต๊ะทางานใหม่ให้ถูกทิศ 363 รายงานลักษณะอากาศทั่วไป วันนี้ (20 มี.ค. 66) 367 ตานานเทศกาลบ๊ะจ่าง 370 ความสัมพันธ์ระหว่าง หยิน-หยาง ตามทฤษฎี แพทย์แผนจีน 415 ฉินจิ๋นซีเป็ นฮ่องเต้องค์แรกของราชวงศ์ฉิน by DrPK 472 เลือกบ้านหลังสุดท้าย ต้องดูตั้งแต่ดิน 477 “5 เทคนิค” การตัดสินใจ‼ 498 เลือกตั้ง วันใด❓ ส่งเสริมดวง พล.อ.ประยุทธ์มากที่สุด
  35. จัดฮวงจุ้ยบ้านเสริมมงคล รับ “ตรุษจีนปี ขาล” https://www.bangkokbiznews.com/business/984134
  36. ต้อนรับปีขาล หรือปีเสือในปี 65 ว่าด้วยศาสตร ์ฮวงจุ้ย ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ธาตุดิน , ทิศใต้ ธาตุไฟ จัดบ้าน ปลูกต้นไม้อะไรถึงจะดีต่อชีวิต ขณะทิศร ้าย ต้องปรับปรุงพื้นที่อย่างไร? ให้ชีวิตราบลื่น เพื่อเสริมมงคลรับตรุษจีนปีขาล
  37. ก้าวย่างเข้าสู่ปี ขาล ได้เพียงไม่นาน สถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด- 19 ก็เริ่มกลับมารุนแรงอีกครั้ง สะท้อนจากจานวนผู้ติดเชื้อที่เพิ่มขึ้นอย่ างรวดเร็ว สร ้างกระแสตื่นตัวให้กับผู้คนไม่น้อย ขณะที่ค่าฝุ่นละออง PM 2.5 ยังคงสูงอย่างต่อเนื่อง การใช้ชีวิตท่ามกลางโรคภัย และมลพิษทางอากาศเช่นนี้
  38. การเสริมมงคล ให้การอยู่อาศัยภายในบ้าน คงหนีไม่พ้น เรื่องการแก้ไข ให้อากาศที่หายใจกันอยู่ทุกวัน บริสุทธิ์เพียงพอ เพื่อให้มีสุขภาพที่ดีห่างไกลโรคภั ยไข้เจ็บ ซึ่งถือได้ว่าเป็ นมงคลกับชีวิตยิ่งกว่ าสิ่งใด
  39. ว่าด้วยเรื่องทิศ และการเสริมมงคลนั้น ปรมาจารย์ ทางด้านศาสตร ์ฮวงจุ้ย หลายท่าน เห็นตรงกันว่าในปี 2565 ซึ่งปีนักษัตรตรงกับปีขาล ทิศที่ดี ได้แก่ ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ธาตุดิน
  40. ส่งเสริมด้านการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร การเสริมพลังในทิศนี้ ท่านแนะนาให้ปลูกต้นไม้สีเขียวให้ร่มเง า สร ้างความร่มเย็นให้กับชีวิต ทิศใต้ ธาตุไฟ ส่งเสริมด้านชื่อเสียง การยอมรับจากคนรอบข้าง แนะนาให้ จัดเป็ นที่นั่งทางานใช้ความคิด ควรตกแต่งด้วยสีโทนร ้อน เช่น สีแดง หรือติดตั้งโคมไฟให้แสงสว่างเพิ่มพลังห
  41. ยาง เพื่อให้เกิดความเคลื่อนไหวโดยตลอด การเลือกใช ้สอยพื้นที่บ้านในสองทิศนี้ ให้มีความสอดคล้องกับกิจกรรมในด้าน ดังกล่าว จะช่วยให้งานราบรื่น ได้ผลดี ตามหลักการออกแบบอาคาร จากข้อมูลเอสซีจี โฮม ระบุว่า ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเป็นทิศรับกระแสลมเย็นตามธรรมชา ติ
  42. ในช่วงฤดูหนาวของไทย เพื่อเพิ่มการหมุนเวียนอากาศ ภายในบ้านตามปกติ จึงควรเปิดประตูหน้าต่างรับลมทางทิศนี้ อาจปลูกต้นไม้ ช่วยสร ้างร่มเงาบังแสงแดดร ้อน ในช่วงสาย
  43. เพิ่มความชื้นให้กับอากาศที่แห้ง และดักจับฝุ่นละอองบางส่วน ซึ่งปัจจุบันการเปิดรับลมธรรมชาติโดย ตรง อาจมีความเสี่ยงกับเชื้อโรค รวมทั้งฝุ่นละอองขนาดเล็ก ที่ส่งผลเสียต่อสุขภาพ ในวันที่แอปพลิเคชั่น แสดงค่าฝุ่นละอองในอากาศสูง
  44. ดังนั้น หากต้องการเปิดรับลมธรรมชาติ จึงควรปรับปรุง คุณภาพอากาศที่จะนาเข้ามาใช ้ภายใน บ้าน ให้เป็นอากาศบริสุทธิ์เสียก่อน ด้วยการดูดอากาศจากภายนอก
  45. นามาผ่าน ระบบกรองฝุ่นของเครื่อง ERV (Energy Recovery Ventilation) และผ่านการดักจับเชื้อโรค ของเครื่องสร ้างประจุอิออนลบ (Ionizer Air Purifier) นอกจากนี้ เครื่อง ERV
  46. ยังสามารถระบายอากาศเสียออกจากบ้ านได้อีกด้วย เมื่ออากาศภายในบ้านบริสุทธิ์ ไร ้ฝุ่น ไร ้เชื้อโรค สมาชิกภายในบ้านย่อมมีสุขภาพที่ดี ถือเป็นมงคลชีวิต
  47. ทิศใต้ จัดเป็ นทิศรับแสงแดด เกือบตลอดทั้งวัน
  48. การปรับปรุงพื้นที่บ้านส่วนนี้ ให้สามารถนั่งทางานได้ยาวนานขึ้ น จึงจาเป็ นต้องลดความร้อน และความสว่างจ้าจากแสงแดด ช่วงสายจนถึงช่วงเย็น
  49. ด้วยการติดตั้งหลังคากันสาด ที่มุงด้วยแผ่นโปร่งแสง ยื่นยาวออกมาปกคลุม พื้นที่ภายนอกบ้าน
  50. ร่วมกับการติดตั้งไม้ระแนง หรือแผ่นไม้เทียมฉลุลวดลาย เพื่อลดปริมาณแสงแดด ที่จะส่องผ่านประตูหน้าต่าง เข้ามายังพื้นที่นั่งทางาน
  51. ทาให้ยังคงได้ ทั้งแสงสว่างธรรมชาติที่พอเหมาะกับกา รใช้งาน และลดความร ้อนไปพร ้อม ๆ กัน
  52. นอกจาก การเสริมมงคลในทิศที่กล่าวมาแล้วนั้น ปรมาจารย์ ทางด้านศาสตร ์ฮวงจุ้ย หลายท่าน ลงความเห็นว่า ยังมีทิศร ้าย ที่ควรหลีกเลี่ยงการเข้าไปใช ้งาน วิธีลดพลังร้ายของทิศทาง คือควรปรับปรุงพื้นที่นั้น ๆ เพื่อให้ส่งผลเสียน้อยลง
  53. สาหรับทิศร ้าย ได้แก่ ทิศตะวันตกเฉียงใต้ ธาตุดิน ส่งเสริมด้านการปกป้องคุ้มครอง การอุปถัมภ์ครอบครัว การเสริมมงคล โดยทิศนี้ ท่านแนะนาให้จัดพื้นที่ให้สะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อย และควรติดตั้งโคมไฟเปิดให้สว่างอยู่เสม อ
  54. และอีกทิศที่ถือว่าเป็นทิศร ้าย ในปี 2565 นี้ คือ ทิศเหนือ ธาตุน้า ส่งเสริมด้านการงานอาชีพ ธุรกิจ
  55. ในทิศนี้ แนะนาไม่ให้ทาการทุบรื้อ ปรับปรุง ต่อเติมใด ๆ ที่จะเป็นการทาให้เกิดการกระทบกระเทื อน ควรทิ้งให้สิ่งร ้ายตั้งอยู่นิ่ง ๆ และ ควรจัดพื้นที่ให้สะอาด และสว่างอยู่เสมอเช่นกัน
  56. หากพูดกัน ตามหลักการออกแบบอาคาร ทิศตะวันตกเฉียงใต้ จัดเป็นทิศรับลมร ้อนชื้น ในช่วงฤดูร ้อนถึงฤดูฝนของไทย
  57. การเปิดประตูหน้าต่าง รับลมทางทิศนี้ จาเป็นจะต้องเก็บกวาด พื้นที่บริเวณนั้นให้สะอาด และไม่มีสิ่งของตั้งกีดขวางทางลม เพื่อให้การหมุนเวียนอากาศคล่องตัว และได้รับอากาศดีเข้าบ้าน
  58. ส่วน ทิศเหนือ จัดเป็นทิศที่ได้รับความร ้อน จากแสงแดดน้อย มีแสงสว่างตามธรรมชาติ ตลอดทั้งวัน จึงเหมาะกับ การใช ้งานเป็นพื้นที่นั่งอ่านหนังสือ หรือทากิจกรรม ที่ต้องการความถูกต้องแม่นยาของสี เช่น การเพ้นท์สีรูปวาด เป็นต้น
  59. ดังนั้น พื้นที่บ้านทั้งสองทิศนี้ ยังคงสามารถเข้าไปใช้สอยได้ตามปกติ ซึ่งถือว่าสอดคล้องตามหลักของของฮว งจุ้ย ตามที่ปรมาจารย์หลาย ๆ ท่านได้กล่าวมา
  60. การปรับบ้านเสริมมงคล ตามศาสตร ์ฮวงจุ้ย ไม่ได้พิจารณา เพียงแค่ทิศทางเท่านั้น แต่ยังทาการพิจารณา ในมุมมองของที่ตั้งรูปลักษณ์ ดวงชะตา และฤกษ์ยาม ควบคู่ไปพร ้อม ๆ กัน ดังที่ปรมาจารย์ทางด้านศาสตร ์ฮวงจุ้ยท่ านหนึ่ง ได้กล่าวสรุปเป็นหลักการ
  61. ในการปรับบ้านเพื่อเสริมมงคลเอาไว้สั้น ๆ อย่างน่าสนใจว่า "หลีกเลี่ยงเคราะห์ภัย มุ่งหามงคล" อ.มาศ เผยสูตร หาทิศไตรอสูร https://www.facebook.com/MasFengShui/?locale=th_TH ในทุกๆปี มีทิศร ้ายแรงประจาปี ซึ่งไม่ควรไปละเมิด กระทบกระเทือน ก่อให้เกิดการสั่นสะเทือน หรือเสียงดัง
  62. ณ ทิศดังกล่าว ซึ่งทิศร ้ายในทางฮวงจุ้ย ที่ควรทาความรู้จักและระวังไว้ ก็คือ "ทิศไตรอสูร" หรือ "ซานซา / ซาสัวะ" • ถ้าปีใดเป็นปีวอก ชวด มะโรง คือ...ทิศใต้
  63. • ถ้าปีใดเป็นปีกุน เถาะ มะแม คือ...ตะวันตก • ถ้าปีใดเป็นปีขาล มะเมีย จอ คือ...ทิศเหนือ • ถ้าปีใดเป็นปีมะเส็ง ระกา ฉลู ...คือ ตะวันออก คาว่า....ซาสัวะ ซา แปลว่า...3 สัวะ แปลว่า...อสูร
  64. ตั้งชื่อแบบไทยๆ ว่า...ทิศไตรอสูร หรือเรียกสั้นๆว่า ทิศอสูรประจาปี (จริงๆแล้ว พลังร้ายประจาเดือน, วัน, ยาม ก็คานวณแบบเดียวกัน) เงื่อนไขที่จะไปรบกวนพลังของทิศ นี้ มี 2 ประการ คือ
  65. 1. ในปีใดที่บ้านของเรามีทิศหลังบ้าน ...เป็นทิศอสูรประจาปี ก็จะไม่เป็นมงคล ส่วนถ้าเป็นบ้านปัจจุบันซึ่งอยู่มานานแล้ ว ก็ห้ามเริ่มซ่อมแซม ต่อเติม ตอก เจาะ ตอกตะปู รื้อถอน ตกแต่ง ทาพื้น ปูกระเบื้อง ขัดหิน ปรับปรุง หรือ ซ่อมแซมสิ่งของ ที่ทาให้เกิดเสียงดังหรือสั่นสะเทือน ทั้งภายนอกและภายในตัวบ้าน
  66. รวมไปถึง การโยกย้ายเฟอร ์นิเจอร ์โต๊ะ ตู้ เตียง เปลี่ยนทิศหัวนอน การตั้งน้าพุ ตู้ปลา ขุดบ่อน้า ติดตั้งเครื่องปรับอากาศ พัดลม ติดรูปภาพ เดินสายไฟ ขุดลอกท่อน้า ติดวอล์เปเปอร ์ ตอกเสาเข็ม ติดป้าย เปลี่ยนหลังคา ขุดดิน เปิดร ้านใหม่ (หมายเหตุ แต่ถ้ากาลังสร้างอยู่แล้ว ต่อเนื่องมาจากปี ก่อน ก็จะถือว่าไม่เป็ นอะไร)
  67. จะมีภัยนานาประการ เช่น เจ้าบ้านตายจาก อุบัติเหตุ พิการ อัมพาต เจ็บป่วยรักษายาก โรคเรื้อรัง เสียทรัพย์โจรภัย
  68. โดยหากเป็นบ้านที่สร ้างเสร็จใหม่ และทิศหลังบ้านพิงทิศอสูรประจาปี ก็ห้ามย้ายเข้าบ้านในปีนี้ ต้องรอไปถึงหลัง 22 ธ.ค. เข้าสู่ปีใหม่ จึงจะสามารถย้ายเข้าอยู่ได้
  69. นอกจากนี้... ก็ยังห้ามการฝังศพ ที่หันศีรษะคนที่เสียชีวิต พิงชี้ไปทางทิศนี้ จะส่งผลต่อชะตาชีวิตของลูกหลานอย่า งรุนแรง
  70. 2. สาหรับบ้านที่หันทิศอื่นนั้น ก็แค่...ห้ามกระทาเฉพาะทิศที่เป็นทิศอสู รของบ้าน ไม่ว่าจะเป็นภายนอกหรือภายในตัวบ้าน ทั้งการซ่อมแซม ต่อเติม ตอก เจาะ รื้อถอน ขุดดิน ตัดต้นไม้ ตัดกิ่งไม้ใหญ่ ซ่อมท่อ ถนน กาแพง หรือผนังบ้าน
  71. หากทาโดยไม่ได้ดูฤกษ์ อาจไปกระตุ้นพลังไม่ดีประจาปี ซึ่งจะทาให้เกิดผลร ้ายขึ้นมาได้ อย่างรวดเร็วภายใน 1-7 วัน และผลร ้ายจะยังคงอยู่อย่างน้อย 4 เดือน