SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
 
	
     	
  
 

         WAP( Wireless Application Protocol ) เปน Protocol ที่เปนมาตรฐานสากลที่เกิดจาก
ความรวมมือกันของ หลายๆบริษัท ผูผลิตโทรศัพทมือถือ เพื่อนําเอาลูกเลนหรือ ความสามารถ
ตางๆ ของ Wireless Application และ ของทางดาน Internet ใหมาใชได บนเครื่องโทรศัพทมือถือ
WAP จะทําใหผูใชโทรศัพทมือถือ ใชงานทางดาน Internet ทั่วๆไปได เหมือนๆกับใชงานผานทาง
เครื่องคอมพิวเตอรโดยที่ WAPนั้นไมตองการ CPUที่ มีประสิทธิภาพสูงๆไมตองการหนวยความจํา
มากๆไมตองการแหลงพลังงานมาก




WEB ที่ถูกออกแบบสําหรับมือถือนั่นเอง ซึ่งสามารถเชื่อมตอกับ WAP ได 3 ชองทางไดแก
• โทรศัพทมือถือรุนที่รองรับ GPRS และมี WEB Browser
• เครื่องคอมพิวเตอรที่มี Air Card
• เครื่องคอมพิวเตอรผานโทรศัพทมือถือรุนที่รองรับ GPRS
การใชงานมีขอจํากัดอยูหลายเรื่องดวยเชนกันที่อาจทําใหผใชรูสึกแปลกและ ติดขัดบาง
                                                                   ู
เชน ขอจํากัดดาน Bandwidth, มี Display ขนาดเล็ก และ มีสวนของการปอนขอมูลเขา ( Input )
ที่แตกตางจากการใชงาน บนคอมพิวเตอรอยูพอสมควร แตจุดเดนของ WAP นั้น ก็คือทําให
ใชงานไดผานทางโทรศัพทมือถือ ซึ่งสามารถพกพา หรือนําไปใชงาน ณ ที่ไหนๆ ก็ได ซึ่งจุดนี้
ก็นาจะหักลางกับขอจํากัดตางๆลงได




          WAPนั้นถูกออกแบบมาเพื่อใหใชกับอุปกรณไรสายตางๆไมจํากัดเพียงแคโทรศัพทมือถือ
เทานั้น หากยังรวมไปถึง วิทยุติดตามตัว ( Pager ), วิทยุรับสงที่เรียกวา Two-Way Radio,
Smartphone และรวมไปถึงอุปกรณสือสารตางๆ ตั้งแตระดับ Low-End จนถึง High-End เลยทีเดียว
ซึ่ง ระบบ Network ที่ใชกับ WAP ไดนั้นก็ใชไดหลากหลายรูปแบบ ทั้ง CDPD, CDMA, GSM, PDC,
PHS, TDMA, FLEX, ReFLEX, iDEN, TETRA, DECT, DataTAC และ Mobitex.
WAP เปน Protocol สําหรับการสื่อสารซึ่งสามารถใชงานไดกับระบบปฏิบัติการ ( OS :
Operating ) ตางๆ ไดหลากหลาย ทั้ง PalmOS, EPOS, Windows CE, FLEXOS, OS/9, JavaOS
และอื่นๆ อีก WAP นั้นจะชวยสนับสนุน Bearer หลักๆในการสง Message เชน Short Message
Service ( SMS ) , Circuit Switched Data, Unstructured Supplementary Services Data
( USSD )และในอนาคตอันใกล ก็จะสนับสนุน General Packet Radio Services ( GPRS )
นอกจากนี้ก็ยังมีการนําเอาเทคโนโลยีใหมๆตางๆ มาใชกับโทรศัพทมือถือมากขึ้นโดยอาศัย WAP
และ เทคโนโลยีที่เกี่ยวกับการสง Message เขามาชวยในการทํางานอีกดวย เชน HSCSD, EDGE
และ WCDMA




ความเปนมาของ WAP
          WAP Forumถูกสรางขึ้นในป1997เพื่อศึกษาและพัฒนามาตรฐานการสื่อสารขอมูลผานทาง
อุปกรณไรสายตางๆ ยุคของการติดตอสื่อสารแบบออกเปน 3 ยุค
ยุคที่ 1คือการสื่อสารที่ใชโทรศัพทเคลื่อนที่ที่ใชเปนระบบอนาลอก
ยุคที่ 2 คือ ยุคที่เริ่มนําเอาระบบดิจิตอลมาใช
ยุคที่ 3 คือ เริ่มมีการพัฒนาเทคโนโลยีนี้ขึ้น
องคประกอบของ WAP สามารถแบงออกเปน 5 สวนประกอบยอยดังนี้
WAE (Wireless Application Environment)
 ประกอบดวยบราวเซอรขนาดเล็กที่ทําหนาที่ประมวลผลขอมูล - Wireless Mark Language(WML)
- WMLScript - Wireless Telephony Application(WTA,WTAI) - รูปแบบขอมูล (Content Format)-
WSP (Wireless Session Protocol) ทําหนาที่จัดเตรียมชั้นแอพพลิเคชันของ WAP
ดวยอินเทอรเฟซมาตรฐาน 2 แบบ คือ บริการที่ตองมีการเชื่อมตอกันกอนซึ่งทํางานบน WTP
และบริการที่ไมตองมีการเชื่อมตอ
- WTP ( Wireless Transaction Protocol ) ทํางานบนบริการรับสงขอมูลเพื่อจัดเตรียมโปรโตคอล
การติดตอ(transaction-oriented)
-WTLS ( Wireless Transport LayerS ecurity ) เปนโปรโตคอลรัษาความปลอดภัยที่มีพื้นฐานมาจาก
โปรโตคอลมาตรฐาน TLS (Transport Layer Security)
- WDP ( Wireless Datagram Protocol ) ชั้นรับสงขอมูลของWAPเรียกวาWDPทําหนาที่บริการสื่อที่
ใชในการสงขอมูลบนเน็ตเวิรคชนิดตาง ๆ


WAP Architecture
  WAP แบงออกเปน 5 Layer ตามสถาปตยกรรมแบบ OSI model (Open System Interconnection
model) ดังภาพ




Layer ของ WAP
เปรียบเทียบ Layer ของWAP กับInternet




WAP Model
- โครงสรางการทํางานของ Web และ WAP จะเปนแบบ Client/Server เมื่อ Client รองขอ (Request)
ขอมูลไปยัง แลว Server จะสงขอมูลตอบกลับ (Response) ไปให ดังภาพ
- การติดตอระหวาง Client/Server ของ Web จะใชโปรโตคอลมาตรฐานของอินเทอรเน็ต เชน HTTP
และ TCP/CP เปนตน โดย Client/Server
จะอยูในเครือขายเดียวกันหรือเชื่อมกันไดผานโปรโตคลอมาตรฐานของอินเทอรเน็ต
- สําหรับโมเดลการทํางานของ WAP นั้น จะมีสวนที่เพิ่มเขามาคือ Gateway ที่เปนตัวกลางระหวาง
Client (WAP device) กับServer ที่ Client ตองการติดตอดวย ดังภาพ
- การติดตอระหวาง Client/Server ของ WAP จะตองกระทําผาน Gateway โดย Client กับ Gateway
จะติดตอกันดวยโปรโตคอลของ WAP และรับสงขอมูลแบบ Binary Gateway กับ Server แตจะ
ติดตอกันดวยโปรโตคอลมาตรฐานของอินเทอรเน็ต
- Gateway จึงทํางานเสมือนเปนตัวเชื่อมโปรโตคอลทั้ง 2 ฝงใหติดตอสื่อสารกันไดโดยโทรเขาใช
บริการผาน ISP (Internet Service Provider) โดยที่ Gateway และ Web Serverที่ใหบริการขอมูล
WAP อยูในเครือขายอินเทอรเน็ต


เปรียบเทียบความแตกตางระหวาง WAP Site และ WEB Site




ทำไมตองเปน Protocol WAP
สาเหตุที่ตองมีการสรางโปรโตคอล WAP ขึ้นมาใหม
แทนที่จะใชโปรโตคอลเดิมนั้นเนื่องจากโปรโตคอลมาตรฐานบางอยางของอินเทอรเน็ตที่ใชอยู เชน
HTTP, TCP หรือ HTML นั้นเหมาะสําหรับการนํามาใชงานและจัดการกับขอมูลขนาดใหญ เชน
รูปภาพกราฟกหรือมัลติมีเดีย ซึ่งตองอาศัยตัวกลางที่มีความเร็วสูงพอสมควร
ดังนั้นโปรโตคอลเดิมที่ใชกับอินเทอรเน็ต
จึงไมเหมาะสมกับการนํามาใชในเครือขายโทรศัพทที่มีเสถียรภาพในการรักษาวงจรการเชื่อมตอและ
ความเร็วในการรับสงขอมูลที่ต่ํา อยูในชวงระหวาง 9.6-14.4 Kbps เทานั้น
          นอกจากนี้อุปกรณ WAP อยางโทรศัพทมือถือ ยังมีขอจํากัดในการทํางานหลายอยาง เชน
ขนาดของจอภาพ การแสดงผล หนวยความจํา รวมทั้งการปอนขอมูล (input)
ดังนั้นจึงจําเปนตองออกแบบเปน โปรโตคอล WAP ขึ้นมาใหม
เพื่อใหเหมาะสมกับเครือขายสื่อสารและอุปกรณ WAP ที่จะใชดวย
ซึ่งในปจจุบันผูผลิตโทรศัพทมือถือไดพัฒนาอุปกรณเสริมออกมาจําหนาย
เพื่อทําใหสามารถพิมพขอความไดงายขึ้น รวมทั้งมีการออกแบบหนาจอใหมีขนาดใหญขึ้น
เหตุผลหนึ่งที่สําคัญในการสรางโปรโตคอลของ WAP
ขึ้นมาก็เพื่อใหเปนมาตรฐานเปดสําหรับอุปกรณไรสายทุกตัวที่จะทํางานกับ WAP
ซึ่งจะเปนมาตรฐานที่ไมยึดติดกับฮารดแวร และมีความเปนอิสระจากเครือขาย
ตัวอยางขอกําหนดของโปรโตคอล WAP ที่ตางจากโปรโตคอลเดิม ก็คือ ขอมูลเอกสาร WML ของ
WAP ตองมีการบีบอัดใหอยูในรูปไบนารี่ที่มีขนาดเล็กกอนที่จะสงไปใหอุปกรณแสดงผล
ซึ่งตางจากเอกสาร HTML ของเว็บ ซึ่งจะถูกสงไปให Client หรือWeb Browser โดยไมมีการบีบอัด

บริการและประโยชนของ WAP
ประโยชนที่ผูใชจะไดจากการใชบริการ WAP คือ ผูใชสามารถเขาถึงขอมูลและบริการของ WAP
ที่อยูในเครือขายอินเทอรเน็ตหรืออินทราเน็ตไดอยางรวดเร็วผานอุปกรณ WAP ตางๆ
บริการของ WAP จากเว็บไซดตางๆ ในปจจุบันมีรูปแบบคลายกัน ดังตัวอยางตอไปนี้
- Information Service เชน การคนหาเบอรโทรศัพท ขอมูลการเดินทาง ตรวจสอบสภาพอากาศ
ตรวจสอบสภาพการจราจร พยากรณดวงชะตา ตารางการฉายภาพยนตร ฯลฯ
 - Transaction Service เชน การจายคาบริการตางๆ การโอนเงิน การซื้อขายสินคา การซื้อขายหุน
จองตั๋วหนัง ดาวนโหลดบริการเสริมตางๆ เชน wallpaper theme เพลง เปนตน
ตัวอยางการเขา WAP จากโทรศัพทเคลื่อนทีhttp://mobilemagic.sanook.com/wap/
                                        ่




http://www.youtube.com/watch?v=DzwZUSC5YR0&feature=related ตัวอยางวีดีโอ
อางอิง
ทรงเกียรติ ภาวดี. WAP.ไทยเจริญการพิมพ, กรุงเทพฯ : 2543.
นิรันดร ทะนงศักดิ์มนตรี. WAP The World In Your Hand ยอโลกไวในมือคุณ. เอช.เอ็น.กรุป จํากัด,
กรุงเทพฯ : 2543.
อุษาวดี สิงหศิวานนท. Easy Life บน WEB และ WAP.โปรวิชั่น, กรุงเทพ : 2544.
http://wiki.nectec.or.th/ru/IT630_1_2008Students/WAPforBookStoreSlide
http://www.wapforum.org/
http://www.w3schools.com/wap/
http://mobilemagic.sanook.com/wap/
http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=0689ad70740a4028

More Related Content

Viewers also liked

Case study 2_ameenah_robert_suzanne_vicki_final
Case study 2_ameenah_robert_suzanne_vicki_finalCase study 2_ameenah_robert_suzanne_vicki_final
Case study 2_ameenah_robert_suzanne_vicki_finalvickbaxter
 
Anthony Bishop Administrative Professional BS Business Administration
Anthony Bishop Administrative Professional BS Business AdministrationAnthony Bishop Administrative Professional BS Business Administration
Anthony Bishop Administrative Professional BS Business Administrationsirbishop
 
Toxoplasmose
Toxoplasmose Toxoplasmose
Toxoplasmose milenemb
 
Case study 2_ameenah_robert_suzanne_vicki_final
Case study 2_ameenah_robert_suzanne_vicki_finalCase study 2_ameenah_robert_suzanne_vicki_final
Case study 2_ameenah_robert_suzanne_vicki_finalvickbaxter
 
Akinetic mutism after subarachnoid haemorrhage
Akinetic mutism after subarachnoid haemorrhageAkinetic mutism after subarachnoid haemorrhage
Akinetic mutism after subarachnoid haemorrhageGuus Schoonman
 
Intracranial hypertension and headache
Intracranial hypertension and headacheIntracranial hypertension and headache
Intracranial hypertension and headacheGuus Schoonman
 
Recent advances in diagnosis of glaucoma
Recent advances in diagnosis of glaucomaRecent advances in diagnosis of glaucoma
Recent advances in diagnosis of glaucomaJaspreet Kauldhar
 
Kuala lumpur international air port
Kuala lumpur international air portKuala lumpur international air port
Kuala lumpur international air portYuwita Killua
 
Presentation about commercial building
Presentation about commercial buildingPresentation about commercial building
Presentation about commercial buildingYuwita Killua
 
Recent advances in diagnosis of glaucoma
Recent advances in diagnosis of glaucomaRecent advances in diagnosis of glaucoma
Recent advances in diagnosis of glaucomaJaspreet Kauldhar
 

Viewers also liked (17)

Case study 2_ameenah_robert_suzanne_vicki_final
Case study 2_ameenah_robert_suzanne_vicki_finalCase study 2_ameenah_robert_suzanne_vicki_final
Case study 2_ameenah_robert_suzanne_vicki_final
 
13510189
1351018913510189
13510189
 
13510160 presentation
13510160 presentation13510160 presentation
13510160 presentation
 
Anthony Bishop Administrative Professional BS Business Administration
Anthony Bishop Administrative Professional BS Business AdministrationAnthony Bishop Administrative Professional BS Business Administration
Anthony Bishop Administrative Professional BS Business Administration
 
concept phone poerpoint
concept phone poerpointconcept phone poerpoint
concept phone poerpoint
 
Toxoplasmose
Toxoplasmose Toxoplasmose
Toxoplasmose
 
portfolio
portfolioportfolio
portfolio
 
Catalogo
CatalogoCatalogo
Catalogo
 
Concept Phone 13510189
Concept Phone 13510189Concept Phone 13510189
Concept Phone 13510189
 
Case study 2_ameenah_robert_suzanne_vicki_final
Case study 2_ameenah_robert_suzanne_vicki_finalCase study 2_ameenah_robert_suzanne_vicki_final
Case study 2_ameenah_robert_suzanne_vicki_final
 
Akinetic mutism after subarachnoid haemorrhage
Akinetic mutism after subarachnoid haemorrhageAkinetic mutism after subarachnoid haemorrhage
Akinetic mutism after subarachnoid haemorrhage
 
10 Concept Design
10 Concept Design10 Concept Design
10 Concept Design
 
Intracranial hypertension and headache
Intracranial hypertension and headacheIntracranial hypertension and headache
Intracranial hypertension and headache
 
Recent advances in diagnosis of glaucoma
Recent advances in diagnosis of glaucomaRecent advances in diagnosis of glaucoma
Recent advances in diagnosis of glaucoma
 
Kuala lumpur international air port
Kuala lumpur international air portKuala lumpur international air port
Kuala lumpur international air port
 
Presentation about commercial building
Presentation about commercial buildingPresentation about commercial building
Presentation about commercial building
 
Recent advances in diagnosis of glaucoma
Recent advances in diagnosis of glaucomaRecent advances in diagnosis of glaucoma
Recent advances in diagnosis of glaucoma
 

Similar to 13510160

บทที่ 2 (1)
บทที่ 2 (1)บทที่ 2 (1)
บทที่ 2 (1)nopphanut
 
Wi max technology
Wi max technology Wi max technology
Wi max technology cakiiminikii
 
อินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดอินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดnoooom
 
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร (1)
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร (1)Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร (1)
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร (1)Aqilla Madaka
 
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสารLesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสารAqilla Madaka
 
วิธีการเชื่อมต่อ Internet
วิธีการเชื่อมต่อ Internetวิธีการเชื่อมต่อ Internet
วิธีการเชื่อมต่อ InternetLaughter' Meepoom
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นNoomim
 
คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407
คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407
คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407Pitchayut Wongsriphuak
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPop Cholthicha
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPop Cholthicha
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPop Cholthicha
 

Similar to 13510160 (20)

บทที่ 2 (1)
บทที่ 2 (1)บทที่ 2 (1)
บทที่ 2 (1)
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Communication Concept
Communication ConceptCommunication Concept
Communication Concept
 
Wi max technology
Wi max technology Wi max technology
Wi max technology
 
Wimax
WimaxWimax
Wimax
 
Connect1
Connect1Connect1
Connect1
 
Protocol
ProtocolProtocol
Protocol
 
4wire-wireless.ppt
4wire-wireless.ppt4wire-wireless.ppt
4wire-wireless.ppt
 
4wire-wireless.ppt
4wire-wireless.ppt4wire-wireless.ppt
4wire-wireless.ppt
 
Computer network & internet
Computer network & internetComputer network & internet
Computer network & internet
 
อินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดอินเทอร์เนด
อินเทอร์เนด
 
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร (1)
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร (1)Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร (1)
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร (1)
 
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสารLesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
 
วิธีการเชื่อมต่อ Internet
วิธีการเชื่อมต่อ Internetวิธีการเชื่อมต่อ Internet
วิธีการเชื่อมต่อ Internet
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
 
คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407
คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407
คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 

13510160

  • 1.      
  • 2.   WAP( Wireless Application Protocol ) เปน Protocol ที่เปนมาตรฐานสากลที่เกิดจาก ความรวมมือกันของ หลายๆบริษัท ผูผลิตโทรศัพทมือถือ เพื่อนําเอาลูกเลนหรือ ความสามารถ ตางๆ ของ Wireless Application และ ของทางดาน Internet ใหมาใชได บนเครื่องโทรศัพทมือถือ WAP จะทําใหผูใชโทรศัพทมือถือ ใชงานทางดาน Internet ทั่วๆไปได เหมือนๆกับใชงานผานทาง เครื่องคอมพิวเตอรโดยที่ WAPนั้นไมตองการ CPUที่ มีประสิทธิภาพสูงๆไมตองการหนวยความจํา มากๆไมตองการแหลงพลังงานมาก WEB ที่ถูกออกแบบสําหรับมือถือนั่นเอง ซึ่งสามารถเชื่อมตอกับ WAP ได 3 ชองทางไดแก • โทรศัพทมือถือรุนที่รองรับ GPRS และมี WEB Browser • เครื่องคอมพิวเตอรที่มี Air Card • เครื่องคอมพิวเตอรผานโทรศัพทมือถือรุนที่รองรับ GPRS
  • 3. การใชงานมีขอจํากัดอยูหลายเรื่องดวยเชนกันที่อาจทําใหผใชรูสึกแปลกและ ติดขัดบาง ู เชน ขอจํากัดดาน Bandwidth, มี Display ขนาดเล็ก และ มีสวนของการปอนขอมูลเขา ( Input ) ที่แตกตางจากการใชงาน บนคอมพิวเตอรอยูพอสมควร แตจุดเดนของ WAP นั้น ก็คือทําให ใชงานไดผานทางโทรศัพทมือถือ ซึ่งสามารถพกพา หรือนําไปใชงาน ณ ที่ไหนๆ ก็ได ซึ่งจุดนี้ ก็นาจะหักลางกับขอจํากัดตางๆลงได WAPนั้นถูกออกแบบมาเพื่อใหใชกับอุปกรณไรสายตางๆไมจํากัดเพียงแคโทรศัพทมือถือ เทานั้น หากยังรวมไปถึง วิทยุติดตามตัว ( Pager ), วิทยุรับสงที่เรียกวา Two-Way Radio, Smartphone และรวมไปถึงอุปกรณสือสารตางๆ ตั้งแตระดับ Low-End จนถึง High-End เลยทีเดียว ซึ่ง ระบบ Network ที่ใชกับ WAP ไดนั้นก็ใชไดหลากหลายรูปแบบ ทั้ง CDPD, CDMA, GSM, PDC, PHS, TDMA, FLEX, ReFLEX, iDEN, TETRA, DECT, DataTAC และ Mobitex.
  • 4. WAP เปน Protocol สําหรับการสื่อสารซึ่งสามารถใชงานไดกับระบบปฏิบัติการ ( OS : Operating ) ตางๆ ไดหลากหลาย ทั้ง PalmOS, EPOS, Windows CE, FLEXOS, OS/9, JavaOS และอื่นๆ อีก WAP นั้นจะชวยสนับสนุน Bearer หลักๆในการสง Message เชน Short Message Service ( SMS ) , Circuit Switched Data, Unstructured Supplementary Services Data ( USSD )และในอนาคตอันใกล ก็จะสนับสนุน General Packet Radio Services ( GPRS ) นอกจากนี้ก็ยังมีการนําเอาเทคโนโลยีใหมๆตางๆ มาใชกับโทรศัพทมือถือมากขึ้นโดยอาศัย WAP และ เทคโนโลยีที่เกี่ยวกับการสง Message เขามาชวยในการทํางานอีกดวย เชน HSCSD, EDGE และ WCDMA ความเปนมาของ WAP WAP Forumถูกสรางขึ้นในป1997เพื่อศึกษาและพัฒนามาตรฐานการสื่อสารขอมูลผานทาง อุปกรณไรสายตางๆ ยุคของการติดตอสื่อสารแบบออกเปน 3 ยุค ยุคที่ 1คือการสื่อสารที่ใชโทรศัพทเคลื่อนที่ที่ใชเปนระบบอนาลอก
  • 5. ยุคที่ 2 คือ ยุคที่เริ่มนําเอาระบบดิจิตอลมาใช ยุคที่ 3 คือ เริ่มมีการพัฒนาเทคโนโลยีนี้ขึ้น องคประกอบของ WAP สามารถแบงออกเปน 5 สวนประกอบยอยดังนี้ WAE (Wireless Application Environment) ประกอบดวยบราวเซอรขนาดเล็กที่ทําหนาที่ประมวลผลขอมูล - Wireless Mark Language(WML) - WMLScript - Wireless Telephony Application(WTA,WTAI) - รูปแบบขอมูล (Content Format)- WSP (Wireless Session Protocol) ทําหนาที่จัดเตรียมชั้นแอพพลิเคชันของ WAP ดวยอินเทอรเฟซมาตรฐาน 2 แบบ คือ บริการที่ตองมีการเชื่อมตอกันกอนซึ่งทํางานบน WTP และบริการที่ไมตองมีการเชื่อมตอ - WTP ( Wireless Transaction Protocol ) ทํางานบนบริการรับสงขอมูลเพื่อจัดเตรียมโปรโตคอล การติดตอ(transaction-oriented) -WTLS ( Wireless Transport LayerS ecurity ) เปนโปรโตคอลรัษาความปลอดภัยที่มีพื้นฐานมาจาก โปรโตคอลมาตรฐาน TLS (Transport Layer Security) - WDP ( Wireless Datagram Protocol ) ชั้นรับสงขอมูลของWAPเรียกวาWDPทําหนาที่บริการสื่อที่ ใชในการสงขอมูลบนเน็ตเวิรคชนิดตาง ๆ WAP Architecture WAP แบงออกเปน 5 Layer ตามสถาปตยกรรมแบบ OSI model (Open System Interconnection model) ดังภาพ Layer ของ WAP
  • 6. เปรียบเทียบ Layer ของWAP กับInternet WAP Model - โครงสรางการทํางานของ Web และ WAP จะเปนแบบ Client/Server เมื่อ Client รองขอ (Request) ขอมูลไปยัง แลว Server จะสงขอมูลตอบกลับ (Response) ไปให ดังภาพ - การติดตอระหวาง Client/Server ของ Web จะใชโปรโตคอลมาตรฐานของอินเทอรเน็ต เชน HTTP และ TCP/CP เปนตน โดย Client/Server จะอยูในเครือขายเดียวกันหรือเชื่อมกันไดผานโปรโตคลอมาตรฐานของอินเทอรเน็ต - สําหรับโมเดลการทํางานของ WAP นั้น จะมีสวนที่เพิ่มเขามาคือ Gateway ที่เปนตัวกลางระหวาง Client (WAP device) กับServer ที่ Client ตองการติดตอดวย ดังภาพ
  • 7. - การติดตอระหวาง Client/Server ของ WAP จะตองกระทําผาน Gateway โดย Client กับ Gateway จะติดตอกันดวยโปรโตคอลของ WAP และรับสงขอมูลแบบ Binary Gateway กับ Server แตจะ ติดตอกันดวยโปรโตคอลมาตรฐานของอินเทอรเน็ต - Gateway จึงทํางานเสมือนเปนตัวเชื่อมโปรโตคอลทั้ง 2 ฝงใหติดตอสื่อสารกันไดโดยโทรเขาใช บริการผาน ISP (Internet Service Provider) โดยที่ Gateway และ Web Serverที่ใหบริการขอมูล WAP อยูในเครือขายอินเทอรเน็ต เปรียบเทียบความแตกตางระหวาง WAP Site และ WEB Site ทำไมตองเปน Protocol WAP สาเหตุที่ตองมีการสรางโปรโตคอล WAP ขึ้นมาใหม แทนที่จะใชโปรโตคอลเดิมนั้นเนื่องจากโปรโตคอลมาตรฐานบางอยางของอินเทอรเน็ตที่ใชอยู เชน HTTP, TCP หรือ HTML นั้นเหมาะสําหรับการนํามาใชงานและจัดการกับขอมูลขนาดใหญ เชน รูปภาพกราฟกหรือมัลติมีเดีย ซึ่งตองอาศัยตัวกลางที่มีความเร็วสูงพอสมควร ดังนั้นโปรโตคอลเดิมที่ใชกับอินเทอรเน็ต จึงไมเหมาะสมกับการนํามาใชในเครือขายโทรศัพทที่มีเสถียรภาพในการรักษาวงจรการเชื่อมตอและ ความเร็วในการรับสงขอมูลที่ต่ํา อยูในชวงระหวาง 9.6-14.4 Kbps เทานั้น นอกจากนี้อุปกรณ WAP อยางโทรศัพทมือถือ ยังมีขอจํากัดในการทํางานหลายอยาง เชน ขนาดของจอภาพ การแสดงผล หนวยความจํา รวมทั้งการปอนขอมูล (input) ดังนั้นจึงจําเปนตองออกแบบเปน โปรโตคอล WAP ขึ้นมาใหม เพื่อใหเหมาะสมกับเครือขายสื่อสารและอุปกรณ WAP ที่จะใชดวย
  • 8. ซึ่งในปจจุบันผูผลิตโทรศัพทมือถือไดพัฒนาอุปกรณเสริมออกมาจําหนาย เพื่อทําใหสามารถพิมพขอความไดงายขึ้น รวมทั้งมีการออกแบบหนาจอใหมีขนาดใหญขึ้น เหตุผลหนึ่งที่สําคัญในการสรางโปรโตคอลของ WAP ขึ้นมาก็เพื่อใหเปนมาตรฐานเปดสําหรับอุปกรณไรสายทุกตัวที่จะทํางานกับ WAP ซึ่งจะเปนมาตรฐานที่ไมยึดติดกับฮารดแวร และมีความเปนอิสระจากเครือขาย ตัวอยางขอกําหนดของโปรโตคอล WAP ที่ตางจากโปรโตคอลเดิม ก็คือ ขอมูลเอกสาร WML ของ WAP ตองมีการบีบอัดใหอยูในรูปไบนารี่ที่มีขนาดเล็กกอนที่จะสงไปใหอุปกรณแสดงผล ซึ่งตางจากเอกสาร HTML ของเว็บ ซึ่งจะถูกสงไปให Client หรือWeb Browser โดยไมมีการบีบอัด บริการและประโยชนของ WAP
  • 9. ประโยชนที่ผูใชจะไดจากการใชบริการ WAP คือ ผูใชสามารถเขาถึงขอมูลและบริการของ WAP ที่อยูในเครือขายอินเทอรเน็ตหรืออินทราเน็ตไดอยางรวดเร็วผานอุปกรณ WAP ตางๆ บริการของ WAP จากเว็บไซดตางๆ ในปจจุบันมีรูปแบบคลายกัน ดังตัวอยางตอไปนี้ - Information Service เชน การคนหาเบอรโทรศัพท ขอมูลการเดินทาง ตรวจสอบสภาพอากาศ ตรวจสอบสภาพการจราจร พยากรณดวงชะตา ตารางการฉายภาพยนตร ฯลฯ - Transaction Service เชน การจายคาบริการตางๆ การโอนเงิน การซื้อขายสินคา การซื้อขายหุน จองตั๋วหนัง ดาวนโหลดบริการเสริมตางๆ เชน wallpaper theme เพลง เปนตน ตัวอยางการเขา WAP จากโทรศัพทเคลื่อนทีhttp://mobilemagic.sanook.com/wap/ ่ http://www.youtube.com/watch?v=DzwZUSC5YR0&feature=related ตัวอยางวีดีโอ
  • 10. อางอิง ทรงเกียรติ ภาวดี. WAP.ไทยเจริญการพิมพ, กรุงเทพฯ : 2543. นิรันดร ทะนงศักดิ์มนตรี. WAP The World In Your Hand ยอโลกไวในมือคุณ. เอช.เอ็น.กรุป จํากัด, กรุงเทพฯ : 2543. อุษาวดี สิงหศิวานนท. Easy Life บน WEB และ WAP.โปรวิชั่น, กรุงเทพ : 2544. http://wiki.nectec.or.th/ru/IT630_1_2008Students/WAPforBookStoreSlide http://www.wapforum.org/ http://www.w3schools.com/wap/ http://mobilemagic.sanook.com/wap/ http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=0689ad70740a4028