Advertisement

Present Do&Don't

Minfha
Sep. 5, 2014
Advertisement

Present Do&Don't

  1. รายการ : ละครธรรมนาชีวิต เวลาออกอากาศ : ออกอากาศทุกวันจันทร์ถึงวันศุกร์ เวลา11.00 น. ช่อง : 3 นักแสดง : (ชาลี คดีเด็ด รับบท พ่อ), (ประนอม สอนสติ รับบท แม่), (ด.ช.ภาคิน วชิรกุลพัทธ์ รับ บท ใหญ่ (วัยเด็ก)), (ด.ญ.ชญาดา สร้อยซื่อ รับบท เพอื่น (ที่ดูหมิ่น)), (ณฐภัทร วัฒนกูล รับบท ใหญ่ (ตอนโต)) รูปแบบรายการ : ละครสั้น รายการ“ละครธรรมนาชีวิต" เป็นละครที่ให้ข้อคิดในด้านคุณธรรมและ จริยธรรม รู้ผิดชอบชวั่ดี ตอน : ต้นแบบความสาเร็จ http://youtu.be/KytM0MyoBhE
  2. มีการแสดงเรตกากับรายการละครตรงกับเนื้อหาในตอนนี้อย่างถูกต้อง
  3. มีการสอดแทรกเนื้อหาคุณธรรม จริยธรรม ที่ให้ข้อคิดคติ และสร้างความรักความเข้าใจในครอบครัว โดยที่พ่อแม่สอนให้ลูกเป็น คนขยัน มั่นเพียร เป็นคนดี จนประสบความสาเร็จ
  4. ในด้านจริยธรรมและจรรยาบรรณของสื่อประเภทละคร นักข่าว ได้ สัมภาษณ์คุณใหญ่โดยให้เกียรติในการสัมภาษณ์ และได้กล่าวคาชมเชย แล้วบอก กับคุณใหญ่ว่ามีคนอีกมากมายที่เอาชีวิตของคุณใหญ่ไปเป็นต้นแบบ
  5. รายการ : Hormones วัยว้าวุ่น2 เวลาออกอากาศ : ออกอากาศทุกวันเสาร์ เวลา 22.00 น. ช่อง : GTH ON AIR, YouTube GTH Channel, AIS Movie Store รูปแบบรายการ : ละครภาคต่อจากซีซันที่1 ตอน : รักกรุ้มกริ่ม
  6. วิเคราะห์ สื่อที่ไม่ถูกต้องในหลักจริยธรรมและ จรรยาบรรณ (DON’T) ประเภท ละคร บางฉากตอน รักกรุ้มกริ่ม ก็ไม่ได้ขึ้นว่า เป็นการกระทา ที่ไม่เหมาะสม ผู้ปกครองควรให้คา แนะนา ก็ตาม เพราะในฉากนั้นตัวละครก็อยู่ในวัยมัธยมฯ ฉากนี้ ถือว่าสุ่มเสี่ยงและไม่เหมาะสมอย่างยิ่ง
  7. วิเคราะห์ สื่อที่ไม่ถูกต้องในหลักจริยธรรมและ จรรยาบรรณ (DON’T) ประเภท ละคร (ต่อ) ปัญหาครอบครัวที่ไม่เข้าใจลูก ไม่ยอมให้ลูกรับสื่อที่ผิด เพราะกลัวลูกจะเอา ไปเป็นแบบอย่าง ซึ่งครอบครัวไม่ควรทจี่ะปิดกั้น ในการรับชมสื่อ แต่ควรจะให้ คา แนะนากับลูก เพราะถ้าหากลูกของท่านรู้สึกอึดอัด เขาก็จะวางตัวไม่ถูก และไม่เข้าใจ ในสิ่งทพี่่อแม่ทา ฉะนั้นสื่อและพ่อแม่ก็ต้องทา ความเข้าใจซะใหม่ว่า ความจริงแล้วสิ่งที่ จะนา เสนอจะสะท้อนปัญหาสังคมมากเพียงใด ก็ควรให้ผู้รับชมเป็นผู้คิดเอง
  8. วิเคราะห์ สื่อที่ไม่ถูกต้องในหลักจริยธรรมและ จรรยาบรรณ (DON’T) ประเภท ละคร (ต่อ) บทละครที่นาออกมานาเสนอมีคาพูดที่ออกจะดูวัยรุ่น และ เนื้อหาบทพูดค่อนข้างจะปลุกเร้าอารมณ์ ทาให้เกิดอารมณ์ยุยั่วหรือมี พฤติกรรมไปในทางที่เสี่ยง ซึ่งเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้อง
  9. วิเคราะห์ สื่อที่ไม่ถูกต้องในหลักจริยธรรมและ จรรยาบรรณ (DON’T) ประเภท ละคร (ต่อ) โฆษณาที่แฝงเข้ามาในละคร โดยที่ไม่ มีฉากเซ็นเซอร์หรือเบลอ เป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้อง อย่างยิ่ง เพราะถ้าหากต้องละครต้องการให้เห็น สปอร์เซอร์ก็ควรจะนาเสนอในตอนท้ายๆของ ละคร ไม่ใช่แฝงเข้ามาในละครแบบนี้
Advertisement