SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ใใใใใใใใใใใใใใใ
ใใใใใใ:
1สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ความมั่นคงด้านพลังงานไม่ได้มีเพียงมิติเดียว
รศ.ดร. จานง สรพิพัฒน์
อดีตประธานสายพลังงาน
บัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
กรรมการสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ มหาวิทยาลัยรังสิต
2สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ช่วงนี้ผมมักจะได้รับคาถามเสมอๆ ว่า สร้างโรงไฟฟ้ าถ่านหินดีไม่ดี หรือภาครัฐกับพวกต้าน
โรงไฟฟ้ าถ่านหินใครถูกหรือผิด ซึ่งผมจะตอบไปว่าถูกทั้งคู่ ไม่มีใครถูกหรือผิด แล้วแต่ว่าจะมองมุม
ไหน แต่คาตอบสั้นๆ แบบนี้ ไม่น่าจะเป็นคาตอบที่ดี เพราะไม่ช่วยให้สังคมเข้าใจอะไรดีขึ้น และยังไม่
ช่วยสังคมไทยตาสว่างว่าจะหาทางออกเรื่องแบบนี้อย่างไร จึงทาให้ผมต้องลงมือเขียนบทความชิ้นนี้
ปัญหาเรื่องนโยบายพลังงานว่าจะสร้างและใช้พลังงานประเภทไหนดี เป็นเรื่องที่มีความ
ซับซ้อนสูง เพราะต้องมองในหลายมิติ ไม่มีแหล่งพลังงานชนิดใดที่ดีพร้อมไร้ที่ติ และไม่มีพลังงาน
ชนิดใดที่เลวสมบูรณ์แบบไปทุกมิติ แต่เรื่องนโยบายพลังงานก็ไม่ได้ยากจนต้องให้ผู้เชี่ยวชาญเท่านั้น
ตัดสินใจ
กล่าวโดยทั่วไปแล้ว ในมิติด้านพลังงานสมัยใหม่ มีประเด็นหลักๆ ที่ต้องพิจารณาดังนี้
ก) ความมั่นคงในการจัดหาพลังงาน เป็นความจริงที่ว่าการจัดหาแหล่งพลังงานต้องกระจาย
ชนิดของพลังงานไปหลายๆ อย่าง ไม่กระจุกตัวไปที่แหล่งพลังงานชนิดใดชนิดหนึ่ง แต่ที่สาคัญว่า
ต้องพิจารณาด้วยว่า พลังงานที่ใช้นั้น เป็นพลังงานเบื้องต้นของภายในประเทศหรือต้องนาเข้า เช่น
กรณีถ่านหิน ถ้าใช้ถ่านหินภายในประเทศย่อมมีความมั่นคงมากว่าถ่านหินที่ต้องนาเข้าจาก
ต่างประเทศ แต่เรื่องนี้จะซับซ้อนและตอบยากว่า อะไรจะมั่นคงกว่ากัน ระหว่างถ่านหินที่นาเข้าจาก
ต่างประเทศ เมื่อเทียบกับพลังงานชีวมวลที่เป็นของภายในประเทศ
ข) ราคาไฟฟ้ าที่ผลิตได้ อยู่ในระดับที่ผู้ใช้สามารถจ่ายได้ (Affordability) ผมไม่ใช้คาว่าถูก
เพราะว่าบ่อยครั้งที่ราคาไฟฟ้าที่ผลิตได้นั้นดูเหมือนว่าถูก แต่ไม่ถูกจริง เพราะยังไม่ได้รวมค่าเสียหาย
ด้านสิ่งแวดล้อมที่มีอยู่จริง ที่ไม่ได้รวมเข้าไปในค่าไฟฟ้ า (externality) เพราะไม่สามารถตีความ
เสียหายเป็นเม็ดเงินได้ (no market value) แม้วันนี้ไม่ได้จ่ายโดยตรง แต่วันหน้าก็ต้องชดใช้รับกรรม
จากความเสียหายนั้นอยู่ดี ตัวอย่างเช่น มลพิษจากก๊าซเรือนกระจก ที่ส่งผลให้เกิดสภาวะโลกร้อนเป็น
ต้น แต่ในทางกลับกัน หากเลือกใช้เทคโนโลยีที่ใช้เชื้อเพลิงที่สะอาดมากๆ ต้นทุนไฟฟ้ าก็จะแพง
ระยับ จนทาให้เศรษฐกิจชะงักงันแบกรับไม่ได้ ตัวอย่างที่เห็นได้ง่ายๆ เช่นในช่วงที่ราคาน้ามันแพง
มากๆ ส่งผลให้พลังงานทุกประเภทที่ใช้ผลิตไฟฟ้ าแพงไปด้วย สร้างความฝืดเคืองทางเศรษฐกิจไป
ทั่ว ดังนั้น การวางแผนนโยบาย จึงต้องแสวงหาจุดพอดี ว่าราคาที่เหมาะสมนั้นอยู่ตรงไหน
ค) ด้านสิ่งแวดล้อม ประเด็นด้านสิ่งแวดล้อมเป็นเรื่องสังคมไทยให้ความสนใจและตื่นตัว
มากเมื่อเทียบกับอดีต ผมจะไม่ลงรายละเอียดมาก แต่จะชี้ประเด็นของราคาต้นทุนพลังงานกับ
สิ่งแวดล้อม โดยปกติแล้วพลังงานที่สกปรกและมีผลกระทบกับสิ่งแวดล้อมสูง จะมีราคาถูก
3สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
เช่น พลังงานนิวเคลียร์และถ่านหิน ส่วนพลังงานที่สะอาดกว่า มีแนวโน้มที่แพงกว่า เช่น
พลังงานแสงแดดและลม
ง) ความเป็ นธรรมด้านสังคม ปัญหาด้านสังคมเกี่ยวข้องกับปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมโดยตรง
โดยเฉพาะผู้ที่ได้รับผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมโดยตรง ทาให้ชีวิตความเป็นอยู่เสื่อมทรามลง และ
สร้างปัญหาการเมือง-สังคมในระยะยาว จึงมีหลักอยู่ว่า ผู้ที่ได้รับผลกระทบจะต้องได้รับการเยียวยา
จนมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ไม่ด้อยไปกว่าเดิม (หรือแม้แต่ดีขึ้นกว่าเดิม) เพื่อลดแรงต่อต้านจากพื้นที่
และสร้างความเป็นธรรมให้กับผู้ต้องเผชิญการสูญเสียจากพัฒนาโครงการ ค่าชดเชยต่างๆ จะถูกใส่
กลับเข้าไปในราคาค่าไฟฟ้า ขณะที่รายได้ส่วนหนึ่งจะกลับมาชดเชยให้กับผู้สูญเสีย
ในประเทศที่มีความเจริญทางเศรษฐกิจสูง เช่น ยุโรปตะวันตก ญี่ปุ่ น หรือแม้แต่จีน จะให้
ความสาคัญในประเด็นนี้มาก เพราะเกี่ยวข้องกับความมั่นคงของทรัพยากรมนุษย์ และเสถียรภาพ
ทางการเมืองในระยะยาว ซึ่งตรงข้ามกับรัฐไทย ที่มักจะละเลยในประเด็นนี้มาก เพราะรัฐไทยมักจะมี
ค่านิยมว่า เมื่อรัฐตัดสินใจดาเนินการแล้ว ผู้ได้รับผลกระทบจะต้องเสียสละอย่างไม่มีเงื่อนไข การ
ชดเชยจึงมักไม่คุ้มค่ากับความเสียหายจริงที่เกิดขึ้น ขณะที่ผู้ใช้ไฟอื่นๆ ได้รับประโยชน์จากค่าไฟฟ้ าที่
ต่ากว่าความเป็นจริง แนวคิดการจัดการแบบผู้ได้เปรียบจะได้ประโยชน์สูงสุดแต่ฝ่ายเดียว(winners
take all) แท้ที่จริงแล้วเป็นแนวคิดการพัฒนาเศรษฐกิจแบบโบราณในยุคอาณานิคมที่ใช้กันมา
ยาวนาน จนถึงเมื่อทศวรรษที่ 1970 จริงอยู่การชดเชยอย่างคุ้มค่า จะส่งผลให้ค่าไฟฟ้ าแพงขึ้น แต่
การที่รัฐละเลยต่อประเด็นนี้จะทาให้การพัฒนาใดๆ ในระยะยาวของประเทศจะพบกับแรงต่อต้าน
มากขึ้นเรื่อยๆ จนการพัฒนาเศรษฐกิจใดๆ ชะงักงันไม่อาจกระทาได้ต่อไป และก่อให้เกิดความ
วุ่นวายทางสังคมและการเมืองในที่สุด ซึ่งประเทศตะวันตกและญี่ปุ่ นก็เคยประสบปัญหาแบบนี้มา
ก่อน จึงได้มีการปรับเปลี่ยนแนวทางดาเนินนโยบายพลังงานเสียใหม่ ดังที่ผมจะเขียนให้อ่านใน
ตอนท้ายของบทความนี้ (ลองคิดดูซีครับ ประเทศเหล่านี้ มีประชาธิปไตยสูง มาตรฐานด้าน
สิ่งแวดล้อมสูง ให้ความสาคัญกับหลักความเป็นธรรม แล้วจะพัฒนาโรงไฟฟ้าใหม่ๆ ได้อย่างไร ถ้ายัง
มีแนวคิดแบบเดิมๆ)
เนื่องจากการเลือกพลังงานประเภทใดก็ตามล้วนได้อย่างเสียอย่าง การเลือกรูปแบบผสมผสาน
ระหว่างการผลิตไฟฟ้าด้วยเชื้อเพลิงชนิดต่างๆ จึงเป็นแนวทางปฏิบัติที่ทุกประเทศทากัน แต่ปัญหาที่
ยากที่สุดในการวางแผนนโยบายด้านพลังงานคือ การให้น้าหนักว่ามิติใดมีความสาคัญมากกว่ากัน
(ซึ่งจะส่งผลว่าท้ายสุดแล้ว จะมีโรงไฟฟ้าประเภทใดเกิดขึ้นมากหรือน้อย) เพราะกลุ่มผลประโยชน์ที่
4
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
แตกต่างในสังคมย่อมมีมุมมองที่ต่างกัน เช่น ผู้ใช้ไฟฟ้ าที่ไม่ได้รับผลกระทบโดยตรง จะมีแนวโน้มที่
จะให้ความสาคัญกับการจัดหาพลังงานราคาถูกมากว่า ขณะที่ประชาชนในท้องถิ่นที่ได้ผลกระทบ
โดยตรง มีแนวโน้มที่จะให้ความสาคัญกับผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและความเป็นธรรมทางสังคมที่
ตนได้รับมากกว่า
ทางออกเรื่องนี้สาหรับประเทศที่พัฒนาแล้ว รัฐจะไม่ใช่ผู้ตัดสินชี้ขาดว่าจะเลือกพัฒนา
โรงไฟฟ้ารูปแบบใด แต่จะเสนอทางเลือกแบบต่างๆ ต่อสาธารณะชนเพื่อฟังความเห็นจากฝ่ายต่างๆ
อย่างรอบด้าน พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้ทุกฝ่ายเสนอทางเลือกรูปแบบอื่นๆ ไปพร้อมกัน เพื่อนามา
เปรียบเทียบว่าแบบใดมีข้อดีและเสียอย่างไร ใครได้ประโยชน์ใครเสียประโยชน์ เพื่อขอรับฉันทามติ
จากประชาชนส่วนใหญ่ว่ามีรสนิยมเช่นใด แผนพัฒนาโรงไฟฟ้ าของประเทศก็จะเป็นเช่นนั้น เช่น
ประชาชนชาวเยอรมันส่วนใหญ่เลือกเอาพลังงานหมุนเวียนเป็นเป้าหมายหลักในระยะยาว ขณะที่ชาว
ฝรั่งเศสกลับเลือกเอาพลังงานนิวเคลียร์เป็นพลังงานหลัก ทั้งที่สองประเทศอยู่ติดกัน
ที่ผ่านมารัฐไทยใช้วิธีบริหารด้านพลังงานในแบบที่เรียกว่า คุณพ่อรู้ดี(DAD) คือตัดสินใจด้วย
เทคโนแครตของภาครัฐ (Decide) ตามด้วยประกาศบังคับทางกฎหมาย(Announce) และปกป้ อง
นโยบายของรัฐ เมื่อเกิดแรงต่อต้าน (Defense) ระบบแบบนี้อาจใช้ได้ดีในอดีต เมื่อความรู้ความ
เข้าใจของประชาชนยังน้อย แต่เมื่อประเทศได้มีความเจริญทางเศรษฐกิจมาถึงระดับหนึ่งแล้ว
ประชาชนมีความตื่นรู้มากขึ้น สมควรที่รัฐจะได้มีการปฏิรูปเสียใหม่ให้ประชาชนมีส่วนร่วมตั้งแต่ต้น
จนจบอย่างที่อารยประเทศเขาทากัน ในแบบที่เห็นประชาชนเป็นเพื่อน (PAL) คือเริ่มจากเสนอ
รูปแบบต่างๆ รวมถึงข้อดีข้อเสียต่างๆ ต่อประชาชน เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วม (Participate) ให้
คาแนะนาต่างๆ สาหรับทางเลือกที่เป็นไปได้ (Advice) และกระจายความรับผิดชอบให้แต่ละภาค
ส่วนที่เกี่ยวข้องไปดาเนินการ(Liberate) (ทานองเดียวกับที่เราเป็นเจ้าของบ้านที่เชิญให้สถาปนิกมา
ช่วยออกแบบบ้าน รัฐเป็นเหมือนสถาปนิก ขณะที่ประชาชนเป็นเจ้าของบ้านที่มีหน้าที่บอกสถาปนิกว่า
อยากได้บ้านแบบไหน ส่วนสถาปนิกก็ให้คาแนะนาและออกแบบบ้านที่เป็นไปได้และอยู่ในงบ) ใน
เมื่อเรากาลังอยู่ในโหมดการปฏิรูปแล้ว เราก็น่าที่จะปฏิรูปเรื่องพลังงานใหม่ได้เสียที
ท้ายสุดผมอยากบอกกับทุกท่านว่า นโยบายพลังงานไม่มีคาว่าถูกหรือผิด ขึ้นกับว่าเราจะ
เลือกเอาทางออกแบบไหน แต่อย่าลืมว่าเราเลือกแบบไหนเราก็ได้แบบนั้น ที่สาคัญขอให้ช่วยกัน
คิดแบบยาวๆ ทางออกหลายอย่างดูเหมือนให้ผลดีในระยะสั้นแต่ไม่ยั่งยืน ขณะที่ทางออกในบาง
แบบดูเหมือนว่ามีอุปสรรคมาก แต่จะยั่งยืนกว่าในระยะยาว
รศ.ดร. จานง สรพิพัฒน์
เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com
ประธานสถาบันคลังปัญญาฯ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
บรรณาธิการ: น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล
ผู้เขียน : รศ.ดร.จานง สรพิพัฒน์
สานักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ
ที่มาภาพ : http://www.ikwangsung.com/wp-content/uploads/2014/12/chemical_plant-.jpg
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม.
10900 โทรศัพท์ 02-938-8826 โทรสาร 02-938-8864

More Related Content

Viewers also liked

Dewatering pada pekerjaan sipil
Dewatering pada pekerjaan sipilDewatering pada pekerjaan sipil
Dewatering pada pekerjaan sipilagungtri07
 
Memoria e 415 bis cpp marzo 2014
Memoria e 415 bis cpp marzo 2014 Memoria e 415 bis cpp marzo 2014
Memoria e 415 bis cpp marzo 2014 Paolo Ferraro
 
Фотоальбом ПДД МБДОУ детский сад №9
Фотоальбом ПДД МБДОУ детский сад №9Фотоальбом ПДД МБДОУ детский сад №9
Фотоальбом ПДД МБДОУ детский сад №9Anastasia Simonova
 

Viewers also liked (6)

Dewatering pada pekerjaan sipil
Dewatering pada pekerjaan sipilDewatering pada pekerjaan sipil
Dewatering pada pekerjaan sipil
 
Ensuring Accurate HCC Coding and Documentation
Ensuring Accurate HCC Coding and Documentation Ensuring Accurate HCC Coding and Documentation
Ensuring Accurate HCC Coding and Documentation
 
Treball jonatan dani
Treball jonatan daniTreball jonatan dani
Treball jonatan dani
 
Taklimat bakal haji
Taklimat bakal hajiTaklimat bakal haji
Taklimat bakal haji
 
Memoria e 415 bis cpp marzo 2014
Memoria e 415 bis cpp marzo 2014 Memoria e 415 bis cpp marzo 2014
Memoria e 415 bis cpp marzo 2014
 
Фотоальбом ПДД МБДОУ детский сад №9
Фотоальбом ПДД МБДОУ детский сад №9Фотоальбом ПДД МБДОУ детский сад №9
Фотоальбом ПДД МБДОУ детский сад №9
 

More from Klangpanya

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยKlangpanya
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคKlangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยKlangpanya
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนKlangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsKlangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 

More from Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

ความมั่นคงทางพลังงานไม่ได้มีเพียงมิติเดียว

  • 1. วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ใใใใใใใใใใใใใใใ ใใใใใใ: 1สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ความมั่นคงด้านพลังงานไม่ได้มีเพียงมิติเดียว รศ.ดร. จานง สรพิพัฒน์ อดีตประธานสายพลังงาน บัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี กรรมการสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 2. 2สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ช่วงนี้ผมมักจะได้รับคาถามเสมอๆ ว่า สร้างโรงไฟฟ้ าถ่านหินดีไม่ดี หรือภาครัฐกับพวกต้าน โรงไฟฟ้ าถ่านหินใครถูกหรือผิด ซึ่งผมจะตอบไปว่าถูกทั้งคู่ ไม่มีใครถูกหรือผิด แล้วแต่ว่าจะมองมุม ไหน แต่คาตอบสั้นๆ แบบนี้ ไม่น่าจะเป็นคาตอบที่ดี เพราะไม่ช่วยให้สังคมเข้าใจอะไรดีขึ้น และยังไม่ ช่วยสังคมไทยตาสว่างว่าจะหาทางออกเรื่องแบบนี้อย่างไร จึงทาให้ผมต้องลงมือเขียนบทความชิ้นนี้ ปัญหาเรื่องนโยบายพลังงานว่าจะสร้างและใช้พลังงานประเภทไหนดี เป็นเรื่องที่มีความ ซับซ้อนสูง เพราะต้องมองในหลายมิติ ไม่มีแหล่งพลังงานชนิดใดที่ดีพร้อมไร้ที่ติ และไม่มีพลังงาน ชนิดใดที่เลวสมบูรณ์แบบไปทุกมิติ แต่เรื่องนโยบายพลังงานก็ไม่ได้ยากจนต้องให้ผู้เชี่ยวชาญเท่านั้น ตัดสินใจ กล่าวโดยทั่วไปแล้ว ในมิติด้านพลังงานสมัยใหม่ มีประเด็นหลักๆ ที่ต้องพิจารณาดังนี้ ก) ความมั่นคงในการจัดหาพลังงาน เป็นความจริงที่ว่าการจัดหาแหล่งพลังงานต้องกระจาย ชนิดของพลังงานไปหลายๆ อย่าง ไม่กระจุกตัวไปที่แหล่งพลังงานชนิดใดชนิดหนึ่ง แต่ที่สาคัญว่า ต้องพิจารณาด้วยว่า พลังงานที่ใช้นั้น เป็นพลังงานเบื้องต้นของภายในประเทศหรือต้องนาเข้า เช่น กรณีถ่านหิน ถ้าใช้ถ่านหินภายในประเทศย่อมมีความมั่นคงมากว่าถ่านหินที่ต้องนาเข้าจาก ต่างประเทศ แต่เรื่องนี้จะซับซ้อนและตอบยากว่า อะไรจะมั่นคงกว่ากัน ระหว่างถ่านหินที่นาเข้าจาก ต่างประเทศ เมื่อเทียบกับพลังงานชีวมวลที่เป็นของภายในประเทศ ข) ราคาไฟฟ้ าที่ผลิตได้ อยู่ในระดับที่ผู้ใช้สามารถจ่ายได้ (Affordability) ผมไม่ใช้คาว่าถูก เพราะว่าบ่อยครั้งที่ราคาไฟฟ้าที่ผลิตได้นั้นดูเหมือนว่าถูก แต่ไม่ถูกจริง เพราะยังไม่ได้รวมค่าเสียหาย ด้านสิ่งแวดล้อมที่มีอยู่จริง ที่ไม่ได้รวมเข้าไปในค่าไฟฟ้ า (externality) เพราะไม่สามารถตีความ เสียหายเป็นเม็ดเงินได้ (no market value) แม้วันนี้ไม่ได้จ่ายโดยตรง แต่วันหน้าก็ต้องชดใช้รับกรรม จากความเสียหายนั้นอยู่ดี ตัวอย่างเช่น มลพิษจากก๊าซเรือนกระจก ที่ส่งผลให้เกิดสภาวะโลกร้อนเป็น ต้น แต่ในทางกลับกัน หากเลือกใช้เทคโนโลยีที่ใช้เชื้อเพลิงที่สะอาดมากๆ ต้นทุนไฟฟ้ าก็จะแพง ระยับ จนทาให้เศรษฐกิจชะงักงันแบกรับไม่ได้ ตัวอย่างที่เห็นได้ง่ายๆ เช่นในช่วงที่ราคาน้ามันแพง มากๆ ส่งผลให้พลังงานทุกประเภทที่ใช้ผลิตไฟฟ้ าแพงไปด้วย สร้างความฝืดเคืองทางเศรษฐกิจไป ทั่ว ดังนั้น การวางแผนนโยบาย จึงต้องแสวงหาจุดพอดี ว่าราคาที่เหมาะสมนั้นอยู่ตรงไหน ค) ด้านสิ่งแวดล้อม ประเด็นด้านสิ่งแวดล้อมเป็นเรื่องสังคมไทยให้ความสนใจและตื่นตัว มากเมื่อเทียบกับอดีต ผมจะไม่ลงรายละเอียดมาก แต่จะชี้ประเด็นของราคาต้นทุนพลังงานกับ สิ่งแวดล้อม โดยปกติแล้วพลังงานที่สกปรกและมีผลกระทบกับสิ่งแวดล้อมสูง จะมีราคาถูก
  • 3. 3สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เช่น พลังงานนิวเคลียร์และถ่านหิน ส่วนพลังงานที่สะอาดกว่า มีแนวโน้มที่แพงกว่า เช่น พลังงานแสงแดดและลม ง) ความเป็ นธรรมด้านสังคม ปัญหาด้านสังคมเกี่ยวข้องกับปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมโดยตรง โดยเฉพาะผู้ที่ได้รับผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมโดยตรง ทาให้ชีวิตความเป็นอยู่เสื่อมทรามลง และ สร้างปัญหาการเมือง-สังคมในระยะยาว จึงมีหลักอยู่ว่า ผู้ที่ได้รับผลกระทบจะต้องได้รับการเยียวยา จนมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ไม่ด้อยไปกว่าเดิม (หรือแม้แต่ดีขึ้นกว่าเดิม) เพื่อลดแรงต่อต้านจากพื้นที่ และสร้างความเป็นธรรมให้กับผู้ต้องเผชิญการสูญเสียจากพัฒนาโครงการ ค่าชดเชยต่างๆ จะถูกใส่ กลับเข้าไปในราคาค่าไฟฟ้า ขณะที่รายได้ส่วนหนึ่งจะกลับมาชดเชยให้กับผู้สูญเสีย ในประเทศที่มีความเจริญทางเศรษฐกิจสูง เช่น ยุโรปตะวันตก ญี่ปุ่ น หรือแม้แต่จีน จะให้ ความสาคัญในประเด็นนี้มาก เพราะเกี่ยวข้องกับความมั่นคงของทรัพยากรมนุษย์ และเสถียรภาพ ทางการเมืองในระยะยาว ซึ่งตรงข้ามกับรัฐไทย ที่มักจะละเลยในประเด็นนี้มาก เพราะรัฐไทยมักจะมี ค่านิยมว่า เมื่อรัฐตัดสินใจดาเนินการแล้ว ผู้ได้รับผลกระทบจะต้องเสียสละอย่างไม่มีเงื่อนไข การ ชดเชยจึงมักไม่คุ้มค่ากับความเสียหายจริงที่เกิดขึ้น ขณะที่ผู้ใช้ไฟอื่นๆ ได้รับประโยชน์จากค่าไฟฟ้ าที่ ต่ากว่าความเป็นจริง แนวคิดการจัดการแบบผู้ได้เปรียบจะได้ประโยชน์สูงสุดแต่ฝ่ายเดียว(winners take all) แท้ที่จริงแล้วเป็นแนวคิดการพัฒนาเศรษฐกิจแบบโบราณในยุคอาณานิคมที่ใช้กันมา ยาวนาน จนถึงเมื่อทศวรรษที่ 1970 จริงอยู่การชดเชยอย่างคุ้มค่า จะส่งผลให้ค่าไฟฟ้ าแพงขึ้น แต่ การที่รัฐละเลยต่อประเด็นนี้จะทาให้การพัฒนาใดๆ ในระยะยาวของประเทศจะพบกับแรงต่อต้าน มากขึ้นเรื่อยๆ จนการพัฒนาเศรษฐกิจใดๆ ชะงักงันไม่อาจกระทาได้ต่อไป และก่อให้เกิดความ วุ่นวายทางสังคมและการเมืองในที่สุด ซึ่งประเทศตะวันตกและญี่ปุ่ นก็เคยประสบปัญหาแบบนี้มา ก่อน จึงได้มีการปรับเปลี่ยนแนวทางดาเนินนโยบายพลังงานเสียใหม่ ดังที่ผมจะเขียนให้อ่านใน ตอนท้ายของบทความนี้ (ลองคิดดูซีครับ ประเทศเหล่านี้ มีประชาธิปไตยสูง มาตรฐานด้าน สิ่งแวดล้อมสูง ให้ความสาคัญกับหลักความเป็นธรรม แล้วจะพัฒนาโรงไฟฟ้าใหม่ๆ ได้อย่างไร ถ้ายัง มีแนวคิดแบบเดิมๆ) เนื่องจากการเลือกพลังงานประเภทใดก็ตามล้วนได้อย่างเสียอย่าง การเลือกรูปแบบผสมผสาน ระหว่างการผลิตไฟฟ้าด้วยเชื้อเพลิงชนิดต่างๆ จึงเป็นแนวทางปฏิบัติที่ทุกประเทศทากัน แต่ปัญหาที่ ยากที่สุดในการวางแผนนโยบายด้านพลังงานคือ การให้น้าหนักว่ามิติใดมีความสาคัญมากกว่ากัน (ซึ่งจะส่งผลว่าท้ายสุดแล้ว จะมีโรงไฟฟ้าประเภทใดเกิดขึ้นมากหรือน้อย) เพราะกลุ่มผลประโยชน์ที่
  • 4. 4 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต แตกต่างในสังคมย่อมมีมุมมองที่ต่างกัน เช่น ผู้ใช้ไฟฟ้ าที่ไม่ได้รับผลกระทบโดยตรง จะมีแนวโน้มที่ จะให้ความสาคัญกับการจัดหาพลังงานราคาถูกมากว่า ขณะที่ประชาชนในท้องถิ่นที่ได้ผลกระทบ โดยตรง มีแนวโน้มที่จะให้ความสาคัญกับผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและความเป็นธรรมทางสังคมที่ ตนได้รับมากกว่า ทางออกเรื่องนี้สาหรับประเทศที่พัฒนาแล้ว รัฐจะไม่ใช่ผู้ตัดสินชี้ขาดว่าจะเลือกพัฒนา โรงไฟฟ้ารูปแบบใด แต่จะเสนอทางเลือกแบบต่างๆ ต่อสาธารณะชนเพื่อฟังความเห็นจากฝ่ายต่างๆ อย่างรอบด้าน พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้ทุกฝ่ายเสนอทางเลือกรูปแบบอื่นๆ ไปพร้อมกัน เพื่อนามา เปรียบเทียบว่าแบบใดมีข้อดีและเสียอย่างไร ใครได้ประโยชน์ใครเสียประโยชน์ เพื่อขอรับฉันทามติ จากประชาชนส่วนใหญ่ว่ามีรสนิยมเช่นใด แผนพัฒนาโรงไฟฟ้ าของประเทศก็จะเป็นเช่นนั้น เช่น ประชาชนชาวเยอรมันส่วนใหญ่เลือกเอาพลังงานหมุนเวียนเป็นเป้าหมายหลักในระยะยาว ขณะที่ชาว ฝรั่งเศสกลับเลือกเอาพลังงานนิวเคลียร์เป็นพลังงานหลัก ทั้งที่สองประเทศอยู่ติดกัน ที่ผ่านมารัฐไทยใช้วิธีบริหารด้านพลังงานในแบบที่เรียกว่า คุณพ่อรู้ดี(DAD) คือตัดสินใจด้วย เทคโนแครตของภาครัฐ (Decide) ตามด้วยประกาศบังคับทางกฎหมาย(Announce) และปกป้ อง นโยบายของรัฐ เมื่อเกิดแรงต่อต้าน (Defense) ระบบแบบนี้อาจใช้ได้ดีในอดีต เมื่อความรู้ความ เข้าใจของประชาชนยังน้อย แต่เมื่อประเทศได้มีความเจริญทางเศรษฐกิจมาถึงระดับหนึ่งแล้ว ประชาชนมีความตื่นรู้มากขึ้น สมควรที่รัฐจะได้มีการปฏิรูปเสียใหม่ให้ประชาชนมีส่วนร่วมตั้งแต่ต้น จนจบอย่างที่อารยประเทศเขาทากัน ในแบบที่เห็นประชาชนเป็นเพื่อน (PAL) คือเริ่มจากเสนอ รูปแบบต่างๆ รวมถึงข้อดีข้อเสียต่างๆ ต่อประชาชน เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วม (Participate) ให้ คาแนะนาต่างๆ สาหรับทางเลือกที่เป็นไปได้ (Advice) และกระจายความรับผิดชอบให้แต่ละภาค ส่วนที่เกี่ยวข้องไปดาเนินการ(Liberate) (ทานองเดียวกับที่เราเป็นเจ้าของบ้านที่เชิญให้สถาปนิกมา ช่วยออกแบบบ้าน รัฐเป็นเหมือนสถาปนิก ขณะที่ประชาชนเป็นเจ้าของบ้านที่มีหน้าที่บอกสถาปนิกว่า อยากได้บ้านแบบไหน ส่วนสถาปนิกก็ให้คาแนะนาและออกแบบบ้านที่เป็นไปได้และอยู่ในงบ) ใน เมื่อเรากาลังอยู่ในโหมดการปฏิรูปแล้ว เราก็น่าที่จะปฏิรูปเรื่องพลังงานใหม่ได้เสียที ท้ายสุดผมอยากบอกกับทุกท่านว่า นโยบายพลังงานไม่มีคาว่าถูกหรือผิด ขึ้นกับว่าเราจะ เลือกเอาทางออกแบบไหน แต่อย่าลืมว่าเราเลือกแบบไหนเราก็ได้แบบนั้น ที่สาคัญขอให้ช่วยกัน คิดแบบยาวๆ ทางออกหลายอย่างดูเหมือนให้ผลดีในระยะสั้นแต่ไม่ยั่งยืน ขณะที่ทางออกในบาง แบบดูเหมือนว่ามีอุปสรรคมาก แต่จะยั่งยืนกว่าในระยะยาว
  • 5. รศ.ดร. จานง สรพิพัฒน์ เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com ประธานสถาบันคลังปัญญาฯ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ บรรณาธิการ: น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล ผู้เขียน : รศ.ดร.จานง สรพิพัฒน์ สานักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ ที่มาภาพ : http://www.ikwangsung.com/wp-content/uploads/2014/12/chemical_plant-.jpg สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-938-8826 โทรสาร 02-938-8864