SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
1. การศึกษาพุทธประวัติในสังคมไทยกับแนวทางแบบธรรมประวัติและชีวประวัติ
การศึกษาพุทธประวัติในสังคมไทยที่ผ่านมา ส่วนมากมักจะศึกษาในแนวทางของธรรมะประวัติ โดย
จะมีการสอนธรรมะและมีเรื่องของอภินิหารสอดแทรกเข้าไปในการดาเนินเรื่อง แต่ในอีกทางหนึ่งยังมี
การศึกษาพุทธประวัติในแนวทางแบบชีวประวัติอีกด้วย อาทิ งานเขียนของสมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรม-
พระยาวชิรญาณวโรรส อันเนื่องมาจากเป็นช่วงที่อิทธิพลของตะวันตกได้เข้ามาในสังคมไทยพร้อมกับการ
เปลี่ยนแปลงของโลกทัศน์ใหม่ๆที่เกิดขึ้นภายหลังจากการปฏิวัติอุตสาหกรรม เช่น ความก้าวหน้าทาง
วิทยาการและวิทยาศาสตร์ ดังนั้นจึงมีความจาเป็นที่จะต้องพยายามอธิบายศาสนาพุทธให้ดูเป็นในแนวทาง
ของวิทยาศาสตร์และมีความน่าเชื่อถือมากขึ้น ซึ่งพระองค์ท่านได้พยายามอธิบายเรื่องอภินิหารในพุทธ
ประวัติไว้ว่า เป็นเรื่องของความไพเราะในเชิงกาพย์ จุดประสงค์เพื่อการสรรเสริญพระพุทธองค์
เมื่อทาการศึกษาพุทธประวัติในแนวทางของชีวประวัติแล้ว จะเห็นได้ถึงบริบทที่แวดล้อมพระพุทธ
องค์ อาทิ สภาพการณ์ของการเมืองการปกครอง สังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมในอินเดียสมัยก่อน
พุทธกาลและสมัยพุทธกาล ซึ่งนับว่าเป็นประโยชน์ต่องานวิชาการเป็นอย่างมาก
2. สภาพการณ์ในสมัยก่อนพุทธกาลและสมัยพุทธกาล
2.1 สภาพการณ์ทางการเมืองการปกครอง
จากการศึกษาพบว่าในสมัยอินเดียก่อนพุทธกาล เมืองโดยส่วนมากจะปกครองโดยใช้
ระบอบ “สามัคคีธรรม” ซึ่งเป็นระบอบสภาหรือสมิติกับฐานะของราชา โดยราชาในที่นี้ไม่ใช่หมายถึง
อาจารย์ วรศักดิ์มหัทธโนบล
ผู้อานวยการศูนย์จีนศึกษาสถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ถอดความจากการนาเสนอในที่ประชุมเวทีวิชาการเรื่อง "พุทธโคดม" จัดโดยโครงการคลังปัญญาเพื่ออภิวัฒน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิ
วัตน์ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เมื่อวันอังคารที่ 9 กันยายน 2557 เวลา 13.00-16.30 น. ณ ห้องประชุม 8-802 อาคารสาทรธานี 1 ศูนย์
ศึกษาสาทรธานี มหาวิทยาลัยรังสิต ภายใต้การสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และมูลนิธิสถาบันสร้างสรรค์
ปัญญาสาธารณะ (สปส.)
1
: บทวิเคราะห์ทางการเมือง
สังคม และเศรษฐกิจพุทธโคดม
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ฉบับที่ 2 / 2557
เอกสารวิชาการฉบับย่อ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
กษัตริย์ แต่เป็นคนที่เป็นชนชั้นสูงและเกิดมาในชนชั้นปกครอง เมื่อเกิดปัญหาก็จะมาประชุม
ตกลงร่วมกันในประเด็นดังกล่าวว่ามีมติอย่างไร โดยมีประธานสภาเป็นผู้นาประชุม เนื่องจาก
ระบอบสภาแบบสามัคคีธรรมในข้างต้น จะต้องยึดถือความสามัคคีในกลุ่มเป็นอย่างมาก
เพื่อให้การบริหารจัดการนั้นเป็นไปอย่างราบรื่น ซึ่งต่อมาระบอบสามัคคีธรรมในรูปแบบนี้ได้
ถูกท้าทายและถูกตั้งคาถามว่าเป็นระบอบการบริหารราชการที่ขาดความคล่องตัว ไม่มี
ประสิทธิภาพ ฉะนั้นความคิดหนึ่งที่เกิดขึ้นเพื่อนาพาไปสู่การเปลี่ยนแปลง ก็คือความคิดแบบ
”ราชาธิปไตย” คือระบอบที่มอบอานาจในการตัดสินใจสูงสุดให้กับคนที่เป็นประธาน ต่อมา
ระบอบนี้ถูกเรียกว่าระบอบกษัตริย์ โดยราชาทั้งหมดต่างมอบอานาจให้กับกษัตริย์ในการ
ตัดสินใจ ทั้งนี้ก็อาจยังคงมีสภาอยู่เพื่อฟังเสียงขุนนางอื่นๆที่อยู่ในสภาด้วย
สุดท้ายพอเวลาผ่านไปสังคมมีความก้าวหน้าและซับซ้อนมากขึ้น ก็เกิดความต้องการ
ในการยึดครองรัฐอื่นๆ ด้วยเหตุผลหนึ่งคือทรัพยากรและประสิทธิภาพในการบริหารที่ไม่
เท่ากัน จึงเกิดความคิดที่เรียกว่า ”จักรวรรดิ” เป็นระบอบการปกครองที่ไปผนวกเอารัฐอื่นๆมา
อยู่ภายใต้อานาจรัฐของตนเอง โดยรัฐเล็กๆ จะถูกเรียกว่า “ชนบท” แต่ภายหลังเมื่อเกิด
ความคิดทางจักรวรรดิ ขอบขัณฑสีมาจึงขยายตัวและถูกเรียกว่า ”มหาชนบท” โดยการ
ปกครองในสมัยนั้นจะแบ่งเป็นหน่วยการปกครองย่อย อาทิ คาม นิคม เขตต์ และปัจจันตะ ซึ่ง
ทั้งหมดนี้จะถูกแบ่งตามหน้าที่ที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับขนาดหรือความอุดมสมบูรณ์ของแต่ละ
พื้นที่
2.2 สภาพการณ์ทางสังคม
สภาพสังคมในอินเดียสมัยก่อน ตามหลักศาสนาพราหมณ์ จะมีการแบ่งเป็นชนชั้น 4
วรรณะ ได้แก่ พราหมณ์ กษัตริย์ แพศย์ ศูทร โดยในสมัยนั้นจะมีวรรณะศูทรที่ทาหน้าที่ใน
การใช้แรงงานด้านการเกษตร เปรียบได้กับแรงงานรับจ้างในสมัยปัจจุบัน โดยมีทาสหรือทาสี
เป็นผู้รับจ้าง ซึ่งวรรณะศูทรจะเป็นผู้ดูแลอีกชั้นหนึ่ง และอีกสิ่งหนึ่งที่น่าสนใจคือ ได้มีอาชีพ
ทางช่างฝีมือต่างๆเกิดขึ้น ได้แก่ ช่างโลหะ(กัมมาระ) ช่างไม้(วัฒกี) สถาปนิก(ถบติ) ช่างกลึง
(ภมการ) ช่างหิน(ปาสาณโกฏฏกะ) โดยรวมแล้วมีช่าง 18 หมู่ นอกเหนือจากนี้ยังพบว่ามีงาน
เทศกาล มีแหล่งเริงรมย์อย่างภัตาคาร มีโรงเหล้า และมีซ่องโสเภณีอีกด้วย
2.3 สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจ
 การจัดเก็บภาษีในระบบเศรษฐกิจ
จากการศึกษาพบว่าในสมัยนั้น ได้มีการจัดเก็บระบบภาษี โดยในที่นี้จะขอ
ยกตัวอย่าง แคว้นมคธ ในสมัยพระเจ้าพิมพิสาร ซึ่งรัฐนี้ถือว่าเป็นรัฐที่มีความ
เจริญก้าวหน้ามากในหลากหลายด้าน โดยเฉพาะระบบการบริหารจัดการทางด้าน
เศรษฐกิจที่เรียกว่า การเก็บภาษี โดยจะมีนายภาษีที่ถูกเรียกว่า คามโภชกะ และมีระบบ
ภาษีที่แน่นอนเรียกว่า ษัฏภาคินหรือระบบ 6 ชัก 1 หมายความว่าผลผลิตที่ได้มาของรัฐ
2
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ไม่ว่าพื้นที่ผลผลิตจะมีขนาดใหญ่ขนาดไหนก็ตาม ได้มาเท่าไหร่ก็ตาม ก็จะถูกแบ่ง
ออกเป็น 6 ส่วน และรัฐจะเอาไปเป็นภาษี 1 ส่วน
ภายหลังพระเจ้าพิมพิสารสิ้นพระชนม์ พระเจ้าอชาตศัตรูก็ได้ขึ้นครองราชย์ต่อ
และก็ยังสืบทอดระบบจัดการภาษีที่เรียกว่า ระบบษัฏภาคิน อยู่แต่ทั้งนี้มีการพัฒนาขึ้น
โดยแบ่งเป็นสัดส่วนตั้งแต่เศรษฐกิจขนาดเล็กจนถึงขนาดกลางขึ้นไป คล้ายๆกับ SME
ในปัจจุบัน เรียกว่า “พลี” โดยพลีในสมัยนั้นคือการจัดเก็บภาษีโดยการคานวณจากพื้นที่ที่
มีการเพาะปลูกหรือ 6 ชัก 1 ตามที่ได้กล่าวไป
ต่อมาก็คือ “ภาค” เป็นการจัดเก็บภาษีที่มีความก้าวหน้ามาก โดยการแยก
ประเภทของผลิตผล เนื่องจากพืชแต่ละชนิดใช้ระยะเวลาในการเจริญเติบโตก่อนที่จะ
สามารถเก็บเกี่ยวได้ต่างกัน นอกเหนือจากจากการจัดเก็บภาษีสินค้าการเกษตรแล้ว ยังมี
การจัดเก็บภาษีจากลักษณะงานของแต่ละบุคคลที่เรียกว่า “การหรือกร” เช่น การจัดเก็บ
ภาษีจากช่างโลหะ(กัมมาละ) ช่างไม้(วัฒกี)เป็นต้น
สุดท้าย “ศุลกะ” เป็นการเก็บภาษีตามวาระตามสัญญาในรูปของส่วย โดยเป็น
การเหมาจ่ายว่าในหนึ่งปีจะต้องจ่ายทั้งสิ้นกี่ครั้งหรือกี่ปีจ่ายกี่ครั้ง จานวนเท่าไหร่
 เมืองการค้าและการค้าแดนไกล
ด้วยปัจจัยต่างๆ ทางด้านการเมือง สังคมและเศรษฐกิจ ที่มีการพัฒนาก้าวหน้าเป็น
อย่างมาก อีกทั้งการเกิดงานด้านอุตสาหกรรมเล็กๆ โดยเฉพาะงานหัตถกรรม เช่น
ช่างฝีมือต่างๆ สังคมจึงมีการพัฒนาและหาปฏิสัมพันธ์ใหม่ๆ โดยสิ่งที่น่าสนใจเป็นอย่าง
มากในช่วงสมัยก่อนพุทธกาลก็คือ การค้าทางไกลและทาให้เกิด “ปุฏเภทนะ” ซึ่งในคัมภีร์
ได้ให้คาอธิบายไว้ว่าเป็นศูนย์กลางทางการค้า โดยในที่นี้จะขอยกตัวอย่าง เมืองสาเกต
ซึ่งเป็นเมืองที่โดดเด่นมากทางด้านการค้า โดยเมืองสาเกตนี้จะเป็นศูนย์กลางในการ
กระจายของสินค้าไปยังเมืองต่างๆ
3. ประเด็นแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในที่ประชุม
 สาเหตุการออกบวชของเจ้าชายสิทธัตถะ
สังคมไทยโดยส่วนมากมักจะเข้าใจว่าเจ้าชายสิทธัตถะพบกับปัญหาชีวิตที่ไม่สามารถ
หาคาตอบให้กับการเกิด การแก่ การเจ็บ การตายได้ หรือที่เรียกกันว่าปรากฏการณ์ของเทว
ทูตทั้ง 4 จึงตัดสินใจออกบวช แต่ในอีกทางหนึ่งในนิกายมหายานกลับไม่เข้าใจเช่นนั้น โดย
ทางฝั่งมหายานจะเข้าใจว่าสาเหตุของการออกบวชของเจ้าชายสิทธัตถะมีความสัมพันธ์กับ
ความขัดแย้งทางการเมืองภายใน ในเรื่องของการแย่งน้าในแม่น้าโรหินีระหว่างสักกะกับญาติ
ของตนคือฝ่ายเทวทหะ
ย้อนกลับไปในข้างต้น ที่ได้กล่าวถึงความเจริญรุ่งเรืองของแคว้นมคธที่มีความ
3
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
เจริญก้าวหน้าจนไปไกลถึงการค้าในต่างแดนแล้ว แต่แคว้นสักกะของเจ้าชายสิทธัตถะยังคงอยู่
กับการเกษตรกรรม ด้วยเหตุนี้การเกษตรกรรมจึงเป็นเรื่องที่สาคัญยิ่ง นอกเหนือจากนี้ สักกะ
ยังคงใช้ระบอบสามัคคีธรรมในการบริหารจัดการ โดยภายหลังจากการแย่งชิงน้า ฝ่ายสักกะได้
นาปัญหานี้เข้าสู่ที่ประชุมสภา และมีมติออกมาว่าให้ทาสงครามกับฝ่ายเทวทหะ ซึ่งมีอยู่เพียงผู้
เดียวที่คัดค้านมตินี้คือ เจ้าชายสิทธัตถะ ทั้งๆที่เจ้าชายทรงรู้ว่าถ้าแพ้มติแล้ว ผลที่ตามมาของ
คนที่แพ้มติจะต้องถูกลงโทษ ซึ่งบทลงโทษที่รุนแรงที่สุดคือ ประหารชีวิตหรือไม่ก็เนรเทศ โดย
ในกรณีของเจ้าชายคือ เนรเทศ และการเนรเทศนี้มีรูปแบบปฏิบัติ คือการโกนผม เพื่อให้ผู้อื่นรู้
ว่าบุคคลผู้นี้ได้กระทาความผิดมา ซึ่งเจ้าชายสิทธัตถะก็ต้องปลงผม นอกเหนือจากนี้เจ้าชาย
สิทธัตถะยังเลือกที่จะแต่งชุดแบบนักบวชและออกเดินทางธุดงค์อีกด้วย
 กษัตริย์กับการเกษตร
ดร.นพ. มโน เลาหวนิช ให้ความเห็นไว้ว่า พระเจ้าสุทโธทนะ พระราชบิดาของเจ้าชาย
สิทธัตถะตามที่คนส่วนมากเข้าใจ แท้จริงแล้วอาจจะไม่ใช่พระราชบิดาของเจ้าชายและกษัตริย์
อย่างที่เราเข้าใจกัน นอกจากนี้บุตรชายของพระพุทธเจ้าที่มีพระนามว่า ราหุล ก็ไม่ใช่พระราช
บุตรของพระองค์เช่นกัน เพราะชื่อในวัฒนธรรมของอินเดียจะต้องสอดคล้องกับวรรณะ แต่ใน
ที่นี้ความหมายของพระนามสุทโธทนะ แปลว่าข้าวสวย และความหมายของพระนามราหุล
แปลว่า ห่วงที่พันธนาการนักโทษ จึงมีความไปได้น้อยมาก ที่จะเป็นพระนามของกษัตริย์อย่าง
ที่เราเข้าใจ
แต่ทั้งนี้ในความเห็นของอาจารย์ วรศักดิ์มหัทธโนบล กลับเห็นไปในทางตรงกันข้าม
โดย อ.วรศักดิ์ได้อ้างอิงถึงศิลปศาสตร์ 18 ประการ ซึ่งในประการสุดท้ายได้บอกไว้ว่า การ
ปกครองโดยการปกครอง นั้นหมายถึงการปกครองคือการครองเรือนที่จะต้องบริหาร
การเกษตรทุกขั้นตอนตั้งแต่การหว่านไถจนไปถึงการเก็บรวงข้าวเข้ายุ้งฉางในวรรณะกษัตริย์นี้
จึงไม่ใช่เรื่องแปลกที่พระนามของพระเจ้าสุทโธทนะ จะมีความหมายว่าข้าวสวย อีกทั้งแต่ก่อน
นั้นความเป็นกษัตริย์อาจไม่ได้ชัดเจนตามความเข้าใจในปัจจุบัน อาจจะมีลักษณะเป็นแค่
หัวหน้าชนเผ่าเท่านั้นหากมองในมิติเชิงพัฒนา
 ภาษาที่พระพุทธศาสนาเลือกใช้ในการเผยแผ่
ในประเด็นเรื่องภาษา อาจารย์วรศักดิ์มหัทธโนบล ให้ความเห็นว่าพุทธโคดมเลือกใช้
ภาษา มคธ ซึ่งก็คือภาษาบาลี เป็นภาษาที่ชาวชมพูทวีปโดยส่วนใหญ่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร
กันในเวลานั้น อาจวิเคราะห์ได้ว่าเป็นเพราะอิทธิพลของแคว้นมคธที่เจริญรุ่งเรือง และภาษา
บาลีนั้นเป็นภาษาพื้นฐานที่คนธรรมดาสามัญใช้กัน โดยในสมัยนั้นคนธรรมดาสามัญจะไม่มี
สิทธิในการเข้าถึงหลักคาสอนของศาสนาพราหมณ์ยกเว้น ผู้เป็นพราหมณ์ ดังนั้นพราหมณ์จึง
ดูถูกภาษาที่พุทธโคดมใช้ว่าเป็นภาษาปีศาจ เพราะพราหมณ์ใช้ภาษาสันสกฤตในการเผยแผ่
ซึ่งพระพุทธโคดมเคยตรัสกับภิกษุที่มาเสนอให้ใช้ภาษาสันสกฤตในการศึกษาพุทธศาสนานั้น
4
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ว่าพระองค์ท่านไม่โปรดให้ใช้ภาษาสันสกฤต ดังนั้นจึงมีความเป็นไปได้ว่า พระพุทธเจ้าน่าจะ
ไม่เห็นด้วยกับระบอบที่แบ่งเป็นชนชั้นวรรณะอย่างเช่นศาสนาพราหมณ์
ในขณะเดียวกัน ดร.นพ. มโน เลาหวนิช ได้เสนอความเห็นในอีกทางหนึ่งไว้ว่า
แท้จริงแล้วพระพุทธเจ้าไม่ได้ไม่เห็นด้วยเรื่องการแบ่งชั้นวรรณะอย่างที่อาจารย์วรศักดิ์เข้าใจ
แต่พระพุทธเจ้าแค่จัดแบ่งชั้นวรรณะใหม่ ด้วยการเอากษัตริย์ขึ้นก่อน ตามมาด้วย พราหมณ์
แพศย์ ศูทร นอกเหนือจากนี้ ดร.นพ.มโน ยังเสนอข้อโต้แย้งเกี่ยวกับเรื่องที่ภิกษุรูปหนึ่งมา
ถามพระพุทธเจ้าว่าให้ใช้ภาษาสันสกฤตในการท่องจานั้นไม่จริง เนื่องจากภิกษุรูปนั้นขอให้ยก
พุทธวจนขึ้นฉันทโส ซึ่งฉันทโสนี้ไม่ใช่สันสกฤตอย่างที่หลายคนเข้าใจ ต่อมารู้ว่าฉันทโสนี้อยู่
ในคัมภีร์พระเวท ในส่วนของอาถรรพ์เวท
 สาเหตุการประชวรก่อนปรินิพพานของพุทธโคดม
อาจารย์วรศักดิ์มหัทธโนบล ให้ความเห็นว่าเหตุแห่งการปรินิพพานของพระพุทธเจ้า
คือ สูกรมัททวะ ซึ่งทามาจากหัวต้นบุกชนิดหนึ่ง โดยต้นบุกชนิดนี้เป็นพืชที่ขึ้นเป็นหัว
ชายทะเลและชอบถูกเอามาทาให้คนป่วยกินเพื่อให้มีกาลัง ในบันทึกของท่านพุทธทาสบอกไว้
ว่า ชาวปักษ์ใต้ก็มีการกินแบบนี้เหมือนกัน และกลุ่มคนที่ใช้ต้นบุกเป็นพวกคนจีน เป็น
สมุนไพรและเป็นอาหารที่เป็นตัวยาในการบารุง ดังนั้นจึงมีความเป็นได้ว่า สูกรมัททวะน่าจะ
ไม่ถูกกับโรคที่พระองค์ประชวรอยู่ จึงทาให้เกิดการอาพาธที่หนักขึ้น
ในอีกทางหนึ่ง ดร.นพ. มโน เลาหวนิช เสนอว่า โรคที่พระพุทธเจ้าประชวร คือ
Midcentury Induction สาเหตุของโรคนี้ เกิดจากการอุดตันของเส้นโลหิตที่ไปเลี้ยงลาไส้
ลักษณะจะมีอาการปวดท้องมาก ซึ่งสาเหตุไม่ได้เกี่ยวข้องกับอาหารแต่อย่างใด
 ความหมายของคาว่า “ทุกข์”
ดร.นพ. มโน เลาหวนิช ได้ให้คาอธิบายความหมายของคาว่า “ทุกข์” ในทาง
พระพุทธศาสนาไว้ ว่าคนไทยส่วนมากมักจะตีความความหมายของคาว่า ทุกข์(ทุกขะ) เป็นไป
ในแนวทางของความทุกข์ หรือสาเหตุของการเกิดทุกข์ แต่แท้จริงแล้วหมายถึงพื้นที่ที่มี
ช่องว่างต่อกันไม่สนิท(Bad Space) เช่นนั้นมันจึงไม่ได้มีความหมายไปในทางความเจ็บปวด
(Pain) ความทรมาน(Suffering) อย่างที่เราเข้าใจกันแต่อย่างใด แต่มันหมายถึงความท้าทาย
(Challenge) ที่จะต้องพยายามเอาชนะมัน และจะต้องต่อมันให้สนิทจนได้ ดังนั้น ศาสนาพุทธ
จึงมิได้สอนให้คนมองโลกในแง่ร้าย แต่ศาสนาพุทธสอนให้คนเรามองเพื่อเอาชนะอุปสรรคทุก
อย่างที่อยู่ข้างหน้า
********************************************
5
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
6
เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com
ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาฯ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
บรรณาธิการ : น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล
ถอดความและเรียบเรียง : น.ส.อนันญลักษณ์ อุทัยพิพัฒนากุล
บันทึกเทปการประชุม : นาย ฮากีม ผูหาดา
ผู้ประสานงาน : อ.อารณีย์ วิวัฒนาภรณ์ นางพัชร์พิชา เคียงธนสมบัติ
ปีที่พิมพ์ : พฤศจิกายน 2557
สานักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ
ที่อยู่ติดต่อ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4/2 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900
โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064
ผู้เข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยน:
ศาสตราจารย์ ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์ อาจารย์ วรศักดิ์มหัทธโนบล รอง
ศาสตราจารย์ ดร.จานง สรพิพัฒน์ พระมหาจรูญศักดิ์ พระเอกพจน์ ดร.นพ.
มโน เลาหวณิช นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล นาวาตรี สงคราม สมณวัฒนา นาวา
เอก สมชาติ ไกรลาศสุวรรณ ศาสตราจารย์ ดร. สมบูรณ์ สุขสาราญ รอง
ศาสตราจารย์ สายฝน สุเอียนทรเมธี ดร.เสาวลักษณ์ กิตติประภัส อาจารย์ อัคร
เดช สุภัคกุล
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต

More Related Content

What's hot

นิราศภูเขาทองม.๑
นิราศภูเขาทองม.๑นิราศภูเขาทองม.๑
นิราศภูเขาทองม.๑Kornnicha Wonglai
 
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55Decode Ac
 
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุลแบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุลWichai Likitponrak
 
บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2Wichai Likitponrak
 
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยหัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยchakaew4524
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์sw110
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยอรุณศรี
 
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณคำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณRock Rockie
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1Sokoy_jj
 
ไวรัสกับไวรอยด์แตกต่างกันอย่างไร
ไวรัสกับไวรอยด์แตกต่างกันอย่างไรไวรัสกับไวรอยด์แตกต่างกันอย่างไร
ไวรัสกับไวรอยด์แตกต่างกันอย่างไรnative
 
บทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความบทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความAj.Mallika Phongphaew
 
เรื่องที่11คลื่นกล
เรื่องที่11คลื่นกลเรื่องที่11คลื่นกล
เรื่องที่11คลื่นกลApinya Phuadsing
 
รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์
รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์
รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์kulrisa777_999
 
สมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไกสมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไก593non
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐานPadvee Academy
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงWann Rattiya
 

What's hot (20)

นิราศภูเขาทองม.๑
นิราศภูเขาทองม.๑นิราศภูเขาทองม.๑
นิราศภูเขาทองม.๑
 
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55
 
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุลแบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
 
บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2
 
heat
heatheat
heat
 
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยหัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
 
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณคำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
 
ไวรัสกับไวรอยด์แตกต่างกันอย่างไร
ไวรัสกับไวรอยด์แตกต่างกันอย่างไรไวรัสกับไวรอยด์แตกต่างกันอย่างไร
ไวรัสกับไวรอยด์แตกต่างกันอย่างไร
 
บทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความบทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความ
 
เรื่องที่11คลื่นกล
เรื่องที่11คลื่นกลเรื่องที่11คลื่นกล
เรื่องที่11คลื่นกล
 
รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์
รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์
รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์
 
สมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไกสมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไก
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
สนามแม่เหล็กไฟฟ้า
สนามแม่เหล็กไฟฟ้าสนามแม่เหล็กไฟฟ้า
สนามแม่เหล็กไฟฟ้า
 

Viewers also liked

วิจัยทางการแพทย์และนาฬิกาชีวิต
วิจัยทางการแพทย์และนาฬิกาชีวิตวิจัยทางการแพทย์และนาฬิกาชีวิต
วิจัยทางการแพทย์และนาฬิกาชีวิตKlangpanya
 
แนวคิดของลัทธิขงจื๊อกับระบอบประชาธิปไตย
แนวคิดของลัทธิขงจื๊อกับระบอบประชาธิปไตย แนวคิดของลัทธิขงจื๊อกับระบอบประชาธิปไตย
แนวคิดของลัทธิขงจื๊อกับระบอบประชาธิปไตย Klangpanya
 
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี Klangpanya
 
ยาปฏิชีวนะ : วันนี้โลกต้องทบทวนและยกเครื่องระบบสุขภาพใหม่
ยาปฏิชีวนะ : วันนี้โลกต้องทบทวนและยกเครื่องระบบสุขภาพใหม่ยาปฏิชีวนะ : วันนี้โลกต้องทบทวนและยกเครื่องระบบสุขภาพใหม่
ยาปฏิชีวนะ : วันนี้โลกต้องทบทวนและยกเครื่องระบบสุขภาพใหม่Klangpanya
 
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทย
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทยแนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทย
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทยKlangpanya
 
ภาคใต้ของไทยกับมุมหนึ่งในประวัติศาสตร์โลก
ภาคใต้ของไทยกับมุมหนึ่งในประวัติศาสตร์โลกภาคใต้ของไทยกับมุมหนึ่งในประวัติศาสตร์โลก
ภาคใต้ของไทยกับมุมหนึ่งในประวัติศาสตร์โลกKlangpanya
 
ความคิดสร้างสรรค์จากการรวมกลุ่ม : บทเรียนเพื่อการพัฒนาสังคมไทย
ความคิดสร้างสรรค์จากการรวมกลุ่ม : บทเรียนเพื่อการพัฒนาสังคมไทยความคิดสร้างสรรค์จากการรวมกลุ่ม : บทเรียนเพื่อการพัฒนาสังคมไทย
ความคิดสร้างสรรค์จากการรวมกลุ่ม : บทเรียนเพื่อการพัฒนาสังคมไทยKlangpanya
 
ข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีน
ข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีนข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีน
ข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีนKlangpanya
 

Viewers also liked (8)

วิจัยทางการแพทย์และนาฬิกาชีวิต
วิจัยทางการแพทย์และนาฬิกาชีวิตวิจัยทางการแพทย์และนาฬิกาชีวิต
วิจัยทางการแพทย์และนาฬิกาชีวิต
 
แนวคิดของลัทธิขงจื๊อกับระบอบประชาธิปไตย
แนวคิดของลัทธิขงจื๊อกับระบอบประชาธิปไตย แนวคิดของลัทธิขงจื๊อกับระบอบประชาธิปไตย
แนวคิดของลัทธิขงจื๊อกับระบอบประชาธิปไตย
 
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี
 
ยาปฏิชีวนะ : วันนี้โลกต้องทบทวนและยกเครื่องระบบสุขภาพใหม่
ยาปฏิชีวนะ : วันนี้โลกต้องทบทวนและยกเครื่องระบบสุขภาพใหม่ยาปฏิชีวนะ : วันนี้โลกต้องทบทวนและยกเครื่องระบบสุขภาพใหม่
ยาปฏิชีวนะ : วันนี้โลกต้องทบทวนและยกเครื่องระบบสุขภาพใหม่
 
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทย
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทยแนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทย
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทย
 
ภาคใต้ของไทยกับมุมหนึ่งในประวัติศาสตร์โลก
ภาคใต้ของไทยกับมุมหนึ่งในประวัติศาสตร์โลกภาคใต้ของไทยกับมุมหนึ่งในประวัติศาสตร์โลก
ภาคใต้ของไทยกับมุมหนึ่งในประวัติศาสตร์โลก
 
ความคิดสร้างสรรค์จากการรวมกลุ่ม : บทเรียนเพื่อการพัฒนาสังคมไทย
ความคิดสร้างสรรค์จากการรวมกลุ่ม : บทเรียนเพื่อการพัฒนาสังคมไทยความคิดสร้างสรรค์จากการรวมกลุ่ม : บทเรียนเพื่อการพัฒนาสังคมไทย
ความคิดสร้างสรรค์จากการรวมกลุ่ม : บทเรียนเพื่อการพัฒนาสังคมไทย
 
ข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีน
ข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีนข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีน
ข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีน
 

More from Klangpanya

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยKlangpanya
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคKlangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยKlangpanya
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนKlangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsKlangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 

More from Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

พุทธโคดม : บทวิเคราะห์ทางการเมือง สังคม และเศรษฐกิจ

  • 1. 1. การศึกษาพุทธประวัติในสังคมไทยกับแนวทางแบบธรรมประวัติและชีวประวัติ การศึกษาพุทธประวัติในสังคมไทยที่ผ่านมา ส่วนมากมักจะศึกษาในแนวทางของธรรมะประวัติ โดย จะมีการสอนธรรมะและมีเรื่องของอภินิหารสอดแทรกเข้าไปในการดาเนินเรื่อง แต่ในอีกทางหนึ่งยังมี การศึกษาพุทธประวัติในแนวทางแบบชีวประวัติอีกด้วย อาทิ งานเขียนของสมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรม- พระยาวชิรญาณวโรรส อันเนื่องมาจากเป็นช่วงที่อิทธิพลของตะวันตกได้เข้ามาในสังคมไทยพร้อมกับการ เปลี่ยนแปลงของโลกทัศน์ใหม่ๆที่เกิดขึ้นภายหลังจากการปฏิวัติอุตสาหกรรม เช่น ความก้าวหน้าทาง วิทยาการและวิทยาศาสตร์ ดังนั้นจึงมีความจาเป็นที่จะต้องพยายามอธิบายศาสนาพุทธให้ดูเป็นในแนวทาง ของวิทยาศาสตร์และมีความน่าเชื่อถือมากขึ้น ซึ่งพระองค์ท่านได้พยายามอธิบายเรื่องอภินิหารในพุทธ ประวัติไว้ว่า เป็นเรื่องของความไพเราะในเชิงกาพย์ จุดประสงค์เพื่อการสรรเสริญพระพุทธองค์ เมื่อทาการศึกษาพุทธประวัติในแนวทางของชีวประวัติแล้ว จะเห็นได้ถึงบริบทที่แวดล้อมพระพุทธ องค์ อาทิ สภาพการณ์ของการเมืองการปกครอง สังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมในอินเดียสมัยก่อน พุทธกาลและสมัยพุทธกาล ซึ่งนับว่าเป็นประโยชน์ต่องานวิชาการเป็นอย่างมาก 2. สภาพการณ์ในสมัยก่อนพุทธกาลและสมัยพุทธกาล 2.1 สภาพการณ์ทางการเมืองการปกครอง จากการศึกษาพบว่าในสมัยอินเดียก่อนพุทธกาล เมืองโดยส่วนมากจะปกครองโดยใช้ ระบอบ “สามัคคีธรรม” ซึ่งเป็นระบอบสภาหรือสมิติกับฐานะของราชา โดยราชาในที่นี้ไม่ใช่หมายถึง อาจารย์ วรศักดิ์มหัทธโนบล ผู้อานวยการศูนย์จีนศึกษาสถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถอดความจากการนาเสนอในที่ประชุมเวทีวิชาการเรื่อง "พุทธโคดม" จัดโดยโครงการคลังปัญญาเพื่ออภิวัฒน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิ วัตน์ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เมื่อวันอังคารที่ 9 กันยายน 2557 เวลา 13.00-16.30 น. ณ ห้องประชุม 8-802 อาคารสาทรธานี 1 ศูนย์ ศึกษาสาทรธานี มหาวิทยาลัยรังสิต ภายใต้การสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และมูลนิธิสถาบันสร้างสรรค์ ปัญญาสาธารณะ (สปส.) 1 : บทวิเคราะห์ทางการเมือง สังคม และเศรษฐกิจพุทธโคดม โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ฉบับที่ 2 / 2557 เอกสารวิชาการฉบับย่อ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 2. กษัตริย์ แต่เป็นคนที่เป็นชนชั้นสูงและเกิดมาในชนชั้นปกครอง เมื่อเกิดปัญหาก็จะมาประชุม ตกลงร่วมกันในประเด็นดังกล่าวว่ามีมติอย่างไร โดยมีประธานสภาเป็นผู้นาประชุม เนื่องจาก ระบอบสภาแบบสามัคคีธรรมในข้างต้น จะต้องยึดถือความสามัคคีในกลุ่มเป็นอย่างมาก เพื่อให้การบริหารจัดการนั้นเป็นไปอย่างราบรื่น ซึ่งต่อมาระบอบสามัคคีธรรมในรูปแบบนี้ได้ ถูกท้าทายและถูกตั้งคาถามว่าเป็นระบอบการบริหารราชการที่ขาดความคล่องตัว ไม่มี ประสิทธิภาพ ฉะนั้นความคิดหนึ่งที่เกิดขึ้นเพื่อนาพาไปสู่การเปลี่ยนแปลง ก็คือความคิดแบบ ”ราชาธิปไตย” คือระบอบที่มอบอานาจในการตัดสินใจสูงสุดให้กับคนที่เป็นประธาน ต่อมา ระบอบนี้ถูกเรียกว่าระบอบกษัตริย์ โดยราชาทั้งหมดต่างมอบอานาจให้กับกษัตริย์ในการ ตัดสินใจ ทั้งนี้ก็อาจยังคงมีสภาอยู่เพื่อฟังเสียงขุนนางอื่นๆที่อยู่ในสภาด้วย สุดท้ายพอเวลาผ่านไปสังคมมีความก้าวหน้าและซับซ้อนมากขึ้น ก็เกิดความต้องการ ในการยึดครองรัฐอื่นๆ ด้วยเหตุผลหนึ่งคือทรัพยากรและประสิทธิภาพในการบริหารที่ไม่ เท่ากัน จึงเกิดความคิดที่เรียกว่า ”จักรวรรดิ” เป็นระบอบการปกครองที่ไปผนวกเอารัฐอื่นๆมา อยู่ภายใต้อานาจรัฐของตนเอง โดยรัฐเล็กๆ จะถูกเรียกว่า “ชนบท” แต่ภายหลังเมื่อเกิด ความคิดทางจักรวรรดิ ขอบขัณฑสีมาจึงขยายตัวและถูกเรียกว่า ”มหาชนบท” โดยการ ปกครองในสมัยนั้นจะแบ่งเป็นหน่วยการปกครองย่อย อาทิ คาม นิคม เขตต์ และปัจจันตะ ซึ่ง ทั้งหมดนี้จะถูกแบ่งตามหน้าที่ที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับขนาดหรือความอุดมสมบูรณ์ของแต่ละ พื้นที่ 2.2 สภาพการณ์ทางสังคม สภาพสังคมในอินเดียสมัยก่อน ตามหลักศาสนาพราหมณ์ จะมีการแบ่งเป็นชนชั้น 4 วรรณะ ได้แก่ พราหมณ์ กษัตริย์ แพศย์ ศูทร โดยในสมัยนั้นจะมีวรรณะศูทรที่ทาหน้าที่ใน การใช้แรงงานด้านการเกษตร เปรียบได้กับแรงงานรับจ้างในสมัยปัจจุบัน โดยมีทาสหรือทาสี เป็นผู้รับจ้าง ซึ่งวรรณะศูทรจะเป็นผู้ดูแลอีกชั้นหนึ่ง และอีกสิ่งหนึ่งที่น่าสนใจคือ ได้มีอาชีพ ทางช่างฝีมือต่างๆเกิดขึ้น ได้แก่ ช่างโลหะ(กัมมาระ) ช่างไม้(วัฒกี) สถาปนิก(ถบติ) ช่างกลึง (ภมการ) ช่างหิน(ปาสาณโกฏฏกะ) โดยรวมแล้วมีช่าง 18 หมู่ นอกเหนือจากนี้ยังพบว่ามีงาน เทศกาล มีแหล่งเริงรมย์อย่างภัตาคาร มีโรงเหล้า และมีซ่องโสเภณีอีกด้วย 2.3 สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจ  การจัดเก็บภาษีในระบบเศรษฐกิจ จากการศึกษาพบว่าในสมัยนั้น ได้มีการจัดเก็บระบบภาษี โดยในที่นี้จะขอ ยกตัวอย่าง แคว้นมคธ ในสมัยพระเจ้าพิมพิสาร ซึ่งรัฐนี้ถือว่าเป็นรัฐที่มีความ เจริญก้าวหน้ามากในหลากหลายด้าน โดยเฉพาะระบบการบริหารจัดการทางด้าน เศรษฐกิจที่เรียกว่า การเก็บภาษี โดยจะมีนายภาษีที่ถูกเรียกว่า คามโภชกะ และมีระบบ ภาษีที่แน่นอนเรียกว่า ษัฏภาคินหรือระบบ 6 ชัก 1 หมายความว่าผลผลิตที่ได้มาของรัฐ 2 โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 3. ไม่ว่าพื้นที่ผลผลิตจะมีขนาดใหญ่ขนาดไหนก็ตาม ได้มาเท่าไหร่ก็ตาม ก็จะถูกแบ่ง ออกเป็น 6 ส่วน และรัฐจะเอาไปเป็นภาษี 1 ส่วน ภายหลังพระเจ้าพิมพิสารสิ้นพระชนม์ พระเจ้าอชาตศัตรูก็ได้ขึ้นครองราชย์ต่อ และก็ยังสืบทอดระบบจัดการภาษีที่เรียกว่า ระบบษัฏภาคิน อยู่แต่ทั้งนี้มีการพัฒนาขึ้น โดยแบ่งเป็นสัดส่วนตั้งแต่เศรษฐกิจขนาดเล็กจนถึงขนาดกลางขึ้นไป คล้ายๆกับ SME ในปัจจุบัน เรียกว่า “พลี” โดยพลีในสมัยนั้นคือการจัดเก็บภาษีโดยการคานวณจากพื้นที่ที่ มีการเพาะปลูกหรือ 6 ชัก 1 ตามที่ได้กล่าวไป ต่อมาก็คือ “ภาค” เป็นการจัดเก็บภาษีที่มีความก้าวหน้ามาก โดยการแยก ประเภทของผลิตผล เนื่องจากพืชแต่ละชนิดใช้ระยะเวลาในการเจริญเติบโตก่อนที่จะ สามารถเก็บเกี่ยวได้ต่างกัน นอกเหนือจากจากการจัดเก็บภาษีสินค้าการเกษตรแล้ว ยังมี การจัดเก็บภาษีจากลักษณะงานของแต่ละบุคคลที่เรียกว่า “การหรือกร” เช่น การจัดเก็บ ภาษีจากช่างโลหะ(กัมมาละ) ช่างไม้(วัฒกี)เป็นต้น สุดท้าย “ศุลกะ” เป็นการเก็บภาษีตามวาระตามสัญญาในรูปของส่วย โดยเป็น การเหมาจ่ายว่าในหนึ่งปีจะต้องจ่ายทั้งสิ้นกี่ครั้งหรือกี่ปีจ่ายกี่ครั้ง จานวนเท่าไหร่  เมืองการค้าและการค้าแดนไกล ด้วยปัจจัยต่างๆ ทางด้านการเมือง สังคมและเศรษฐกิจ ที่มีการพัฒนาก้าวหน้าเป็น อย่างมาก อีกทั้งการเกิดงานด้านอุตสาหกรรมเล็กๆ โดยเฉพาะงานหัตถกรรม เช่น ช่างฝีมือต่างๆ สังคมจึงมีการพัฒนาและหาปฏิสัมพันธ์ใหม่ๆ โดยสิ่งที่น่าสนใจเป็นอย่าง มากในช่วงสมัยก่อนพุทธกาลก็คือ การค้าทางไกลและทาให้เกิด “ปุฏเภทนะ” ซึ่งในคัมภีร์ ได้ให้คาอธิบายไว้ว่าเป็นศูนย์กลางทางการค้า โดยในที่นี้จะขอยกตัวอย่าง เมืองสาเกต ซึ่งเป็นเมืองที่โดดเด่นมากทางด้านการค้า โดยเมืองสาเกตนี้จะเป็นศูนย์กลางในการ กระจายของสินค้าไปยังเมืองต่างๆ 3. ประเด็นแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในที่ประชุม  สาเหตุการออกบวชของเจ้าชายสิทธัตถะ สังคมไทยโดยส่วนมากมักจะเข้าใจว่าเจ้าชายสิทธัตถะพบกับปัญหาชีวิตที่ไม่สามารถ หาคาตอบให้กับการเกิด การแก่ การเจ็บ การตายได้ หรือที่เรียกกันว่าปรากฏการณ์ของเทว ทูตทั้ง 4 จึงตัดสินใจออกบวช แต่ในอีกทางหนึ่งในนิกายมหายานกลับไม่เข้าใจเช่นนั้น โดย ทางฝั่งมหายานจะเข้าใจว่าสาเหตุของการออกบวชของเจ้าชายสิทธัตถะมีความสัมพันธ์กับ ความขัดแย้งทางการเมืองภายใน ในเรื่องของการแย่งน้าในแม่น้าโรหินีระหว่างสักกะกับญาติ ของตนคือฝ่ายเทวทหะ ย้อนกลับไปในข้างต้น ที่ได้กล่าวถึงความเจริญรุ่งเรืองของแคว้นมคธที่มีความ 3 โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 4. เจริญก้าวหน้าจนไปไกลถึงการค้าในต่างแดนแล้ว แต่แคว้นสักกะของเจ้าชายสิทธัตถะยังคงอยู่ กับการเกษตรกรรม ด้วยเหตุนี้การเกษตรกรรมจึงเป็นเรื่องที่สาคัญยิ่ง นอกเหนือจากนี้ สักกะ ยังคงใช้ระบอบสามัคคีธรรมในการบริหารจัดการ โดยภายหลังจากการแย่งชิงน้า ฝ่ายสักกะได้ นาปัญหานี้เข้าสู่ที่ประชุมสภา และมีมติออกมาว่าให้ทาสงครามกับฝ่ายเทวทหะ ซึ่งมีอยู่เพียงผู้ เดียวที่คัดค้านมตินี้คือ เจ้าชายสิทธัตถะ ทั้งๆที่เจ้าชายทรงรู้ว่าถ้าแพ้มติแล้ว ผลที่ตามมาของ คนที่แพ้มติจะต้องถูกลงโทษ ซึ่งบทลงโทษที่รุนแรงที่สุดคือ ประหารชีวิตหรือไม่ก็เนรเทศ โดย ในกรณีของเจ้าชายคือ เนรเทศ และการเนรเทศนี้มีรูปแบบปฏิบัติ คือการโกนผม เพื่อให้ผู้อื่นรู้ ว่าบุคคลผู้นี้ได้กระทาความผิดมา ซึ่งเจ้าชายสิทธัตถะก็ต้องปลงผม นอกเหนือจากนี้เจ้าชาย สิทธัตถะยังเลือกที่จะแต่งชุดแบบนักบวชและออกเดินทางธุดงค์อีกด้วย  กษัตริย์กับการเกษตร ดร.นพ. มโน เลาหวนิช ให้ความเห็นไว้ว่า พระเจ้าสุทโธทนะ พระราชบิดาของเจ้าชาย สิทธัตถะตามที่คนส่วนมากเข้าใจ แท้จริงแล้วอาจจะไม่ใช่พระราชบิดาของเจ้าชายและกษัตริย์ อย่างที่เราเข้าใจกัน นอกจากนี้บุตรชายของพระพุทธเจ้าที่มีพระนามว่า ราหุล ก็ไม่ใช่พระราช บุตรของพระองค์เช่นกัน เพราะชื่อในวัฒนธรรมของอินเดียจะต้องสอดคล้องกับวรรณะ แต่ใน ที่นี้ความหมายของพระนามสุทโธทนะ แปลว่าข้าวสวย และความหมายของพระนามราหุล แปลว่า ห่วงที่พันธนาการนักโทษ จึงมีความไปได้น้อยมาก ที่จะเป็นพระนามของกษัตริย์อย่าง ที่เราเข้าใจ แต่ทั้งนี้ในความเห็นของอาจารย์ วรศักดิ์มหัทธโนบล กลับเห็นไปในทางตรงกันข้าม โดย อ.วรศักดิ์ได้อ้างอิงถึงศิลปศาสตร์ 18 ประการ ซึ่งในประการสุดท้ายได้บอกไว้ว่า การ ปกครองโดยการปกครอง นั้นหมายถึงการปกครองคือการครองเรือนที่จะต้องบริหาร การเกษตรทุกขั้นตอนตั้งแต่การหว่านไถจนไปถึงการเก็บรวงข้าวเข้ายุ้งฉางในวรรณะกษัตริย์นี้ จึงไม่ใช่เรื่องแปลกที่พระนามของพระเจ้าสุทโธทนะ จะมีความหมายว่าข้าวสวย อีกทั้งแต่ก่อน นั้นความเป็นกษัตริย์อาจไม่ได้ชัดเจนตามความเข้าใจในปัจจุบัน อาจจะมีลักษณะเป็นแค่ หัวหน้าชนเผ่าเท่านั้นหากมองในมิติเชิงพัฒนา  ภาษาที่พระพุทธศาสนาเลือกใช้ในการเผยแผ่ ในประเด็นเรื่องภาษา อาจารย์วรศักดิ์มหัทธโนบล ให้ความเห็นว่าพุทธโคดมเลือกใช้ ภาษา มคธ ซึ่งก็คือภาษาบาลี เป็นภาษาที่ชาวชมพูทวีปโดยส่วนใหญ่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร กันในเวลานั้น อาจวิเคราะห์ได้ว่าเป็นเพราะอิทธิพลของแคว้นมคธที่เจริญรุ่งเรือง และภาษา บาลีนั้นเป็นภาษาพื้นฐานที่คนธรรมดาสามัญใช้กัน โดยในสมัยนั้นคนธรรมดาสามัญจะไม่มี สิทธิในการเข้าถึงหลักคาสอนของศาสนาพราหมณ์ยกเว้น ผู้เป็นพราหมณ์ ดังนั้นพราหมณ์จึง ดูถูกภาษาที่พุทธโคดมใช้ว่าเป็นภาษาปีศาจ เพราะพราหมณ์ใช้ภาษาสันสกฤตในการเผยแผ่ ซึ่งพระพุทธโคดมเคยตรัสกับภิกษุที่มาเสนอให้ใช้ภาษาสันสกฤตในการศึกษาพุทธศาสนานั้น 4 โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 5. ว่าพระองค์ท่านไม่โปรดให้ใช้ภาษาสันสกฤต ดังนั้นจึงมีความเป็นไปได้ว่า พระพุทธเจ้าน่าจะ ไม่เห็นด้วยกับระบอบที่แบ่งเป็นชนชั้นวรรณะอย่างเช่นศาสนาพราหมณ์ ในขณะเดียวกัน ดร.นพ. มโน เลาหวนิช ได้เสนอความเห็นในอีกทางหนึ่งไว้ว่า แท้จริงแล้วพระพุทธเจ้าไม่ได้ไม่เห็นด้วยเรื่องการแบ่งชั้นวรรณะอย่างที่อาจารย์วรศักดิ์เข้าใจ แต่พระพุทธเจ้าแค่จัดแบ่งชั้นวรรณะใหม่ ด้วยการเอากษัตริย์ขึ้นก่อน ตามมาด้วย พราหมณ์ แพศย์ ศูทร นอกเหนือจากนี้ ดร.นพ.มโน ยังเสนอข้อโต้แย้งเกี่ยวกับเรื่องที่ภิกษุรูปหนึ่งมา ถามพระพุทธเจ้าว่าให้ใช้ภาษาสันสกฤตในการท่องจานั้นไม่จริง เนื่องจากภิกษุรูปนั้นขอให้ยก พุทธวจนขึ้นฉันทโส ซึ่งฉันทโสนี้ไม่ใช่สันสกฤตอย่างที่หลายคนเข้าใจ ต่อมารู้ว่าฉันทโสนี้อยู่ ในคัมภีร์พระเวท ในส่วนของอาถรรพ์เวท  สาเหตุการประชวรก่อนปรินิพพานของพุทธโคดม อาจารย์วรศักดิ์มหัทธโนบล ให้ความเห็นว่าเหตุแห่งการปรินิพพานของพระพุทธเจ้า คือ สูกรมัททวะ ซึ่งทามาจากหัวต้นบุกชนิดหนึ่ง โดยต้นบุกชนิดนี้เป็นพืชที่ขึ้นเป็นหัว ชายทะเลและชอบถูกเอามาทาให้คนป่วยกินเพื่อให้มีกาลัง ในบันทึกของท่านพุทธทาสบอกไว้ ว่า ชาวปักษ์ใต้ก็มีการกินแบบนี้เหมือนกัน และกลุ่มคนที่ใช้ต้นบุกเป็นพวกคนจีน เป็น สมุนไพรและเป็นอาหารที่เป็นตัวยาในการบารุง ดังนั้นจึงมีความเป็นได้ว่า สูกรมัททวะน่าจะ ไม่ถูกกับโรคที่พระองค์ประชวรอยู่ จึงทาให้เกิดการอาพาธที่หนักขึ้น ในอีกทางหนึ่ง ดร.นพ. มโน เลาหวนิช เสนอว่า โรคที่พระพุทธเจ้าประชวร คือ Midcentury Induction สาเหตุของโรคนี้ เกิดจากการอุดตันของเส้นโลหิตที่ไปเลี้ยงลาไส้ ลักษณะจะมีอาการปวดท้องมาก ซึ่งสาเหตุไม่ได้เกี่ยวข้องกับอาหารแต่อย่างใด  ความหมายของคาว่า “ทุกข์” ดร.นพ. มโน เลาหวนิช ได้ให้คาอธิบายความหมายของคาว่า “ทุกข์” ในทาง พระพุทธศาสนาไว้ ว่าคนไทยส่วนมากมักจะตีความความหมายของคาว่า ทุกข์(ทุกขะ) เป็นไป ในแนวทางของความทุกข์ หรือสาเหตุของการเกิดทุกข์ แต่แท้จริงแล้วหมายถึงพื้นที่ที่มี ช่องว่างต่อกันไม่สนิท(Bad Space) เช่นนั้นมันจึงไม่ได้มีความหมายไปในทางความเจ็บปวด (Pain) ความทรมาน(Suffering) อย่างที่เราเข้าใจกันแต่อย่างใด แต่มันหมายถึงความท้าทาย (Challenge) ที่จะต้องพยายามเอาชนะมัน และจะต้องต่อมันให้สนิทจนได้ ดังนั้น ศาสนาพุทธ จึงมิได้สอนให้คนมองโลกในแง่ร้าย แต่ศาสนาพุทธสอนให้คนเรามองเพื่อเอาชนะอุปสรรคทุก อย่างที่อยู่ข้างหน้า ******************************************** 5 โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 6. 6 เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาฯ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ บรรณาธิการ : น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล ถอดความและเรียบเรียง : น.ส.อนันญลักษณ์ อุทัยพิพัฒนากุล บันทึกเทปการประชุม : นาย ฮากีม ผูหาดา ผู้ประสานงาน : อ.อารณีย์ วิวัฒนาภรณ์ นางพัชร์พิชา เคียงธนสมบัติ ปีที่พิมพ์ : พฤศจิกายน 2557 สานักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ ที่อยู่ติดต่อ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4/2 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064 ผู้เข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยน: ศาสตราจารย์ ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์ อาจารย์ วรศักดิ์มหัทธโนบล รอง ศาสตราจารย์ ดร.จานง สรพิพัฒน์ พระมหาจรูญศักดิ์ พระเอกพจน์ ดร.นพ. มโน เลาหวณิช นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล นาวาตรี สงคราม สมณวัฒนา นาวา เอก สมชาติ ไกรลาศสุวรรณ ศาสตราจารย์ ดร. สมบูรณ์ สุขสาราญ รอง ศาสตราจารย์ สายฝน สุเอียนทรเมธี ดร.เสาวลักษณ์ กิตติประภัส อาจารย์ อัคร เดช สุภัคกุล โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต