SlideShare a Scribd company logo
1 of 73
การจัดการพาณิชย์
นาวี
บรรยายโดย ขวัญชัย ช้างเกิด
MBA Logistics Ramkhamhaeng
เอกสารอ้างอิง
• เอกสารอ้างอิง กรมการขนส่งทางนำ้า และพานิชยนาวี กระทรวง
คมนาคม
• หนังสือการจัดการกิจการพานิชยนาวี ผศ.น.ท.สำาราญ ทองเล็ก
2551
• กรมศุลกากร
รมศุลกากร
ารภาษี หรือการศุลกากร มีมาตั้งแต่ก่อนสมัยสุโขทัยจากห
กของพ่อขุนรามคำาแหง เรียกว่า "จกอบ" ในสมัยสุโขทัยมีก
ป็นปัจจัย ในการสร้างความมั่งคั่งของรัฐ การเก็บภาษีนี้ในช
าหนึ่งกรุงสุโขทัย ได้มี ประกาศยกเว้นแก่ผู้มาค้าขายดัง หล
ในศิลาจารึกว่า "เมืองสุโขทัยนี้ดีในนำ้ามีปลาในนามีข้าวพ่อ
บในไพร่ลู่ทางเพื่อนจูงวัวไปค้าขี่ม้าไปขายใครจักใคร่ค้าช
คร่ค้าม้าค้า"ต่อมาในสมัยกรุงศรีอยุธยา หน่วยงานที่ทำาหน้า
ภาษีขาเข้าขาออกเฉพาะเรียกว่า พระคลังสินค้า
หรับการภาษี เรียกว่า ขนอน เก็บภาษีจากระวางบรรทุกสิน
ในสมัยกรุงธนบุรีบ้านเมืองอยู่ในยุคสงครามการค้าขายระห
ปรากฏหลักฐาน ในทางประวัติศาสตร์เมื่อเข้าสู่ยุครัตนโกสิน
มเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวมีการประมูลผูกขาดการเรียกเก
ะบบเจ้าภาษีนายอากร" ส่วนสถานที่เก็บภาษีเรียกว่า "โรงภ
ยรัชกาลที่ 4 การติดต่อ ค้าขายกับต่างประเทศมากขึ้น มีก
งที่เกี่ยวกับ ศุลกากร คือ ยกเลิกการเก็บค่าธรรมเนียมปาก
ภาษี สินค้าขาเข้า ที่เรียกว่า "ภาษีร้อยชักสาม" ส่วนสินค้า
ะบุในท้ายสัญญา เป็นชนิดไป มีการตั้งโรงภาษี เรียกว่า ศุล
House) ขึ้นเป็นที่ทำาการศุลกากร ยุคใหม่ของศุลกากรไท
417 เมื่อรัชกาลที่ 5 ทรง จัดตั้ง หอรัษฎากรพิพัฒน์ เป็นสำา
วมรายได้ของแผ่นดิน งานศุลกากร ซึ่งทำาหน้าที่จัดเก็บภา
ายได้ของรัฐ อยู่ในความควบคุมดูแลของหอรัษฎากรพิพัฒ
กากร งานศุลกากรได้เจริญเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็วความเป
นเมืองและสถานการณ์ของโลก ได้มีการ สร้างอาคารที่ทำาก
ะสม ขึ้นแทนที่ทำาการศุลกากร ที่เรียกว่าศุลกสถาน เดิมในป
ที่ตั้งกรมศุลกากร คลองเตย ในปัจจุบันในช่วงเวลาที่ผ่านม
ทางเศรษฐกิจของไทยมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วโดยเ
ะหว่างประเทศซึ่งเดิม กรมศุลกากรมีภารกิจหลักคือจัดเก็บภ
เข้ามาในและส่งออกไปนอกราชอาณาจักรเพื่อนำาไปพัฒน
ของประเทศและดูแลป้องกัน ปราบปรามการลักลอบ
หนีศุลกากรเพื่อให้การ
จัดเก็บภาษีอากรเป็นไปตามเป้าหมายและเกิดความ
เป็นธรรมแก่ผู้ประกอบการ
ที่สุจริต ในปัจจุบันกรมศุลกากร ได้รับบทบาทและ
หน้าที่จากเดิมที่เน้นการจัด
เก็บภาษีอากรจากของที่นำาเข้ามาในและส่งออกไป
นอกราชอาณาจักรมาเป็นการ
มุ่งเน้นที่จะพัฒนาส่งเสริมด้านการค้าระหว่างประเทศ
และการส่งออกของไทย
ที่มีศักยภาพ ในการแข่งขันกับตลาดการค้าของโลก
ได้ ควบคู่กันนั้นกรมศุลกากร
ได้พัฒนาระบบงานการจัดองค์กรการ นำาระบบ
กรได้ปรับปรุงขยายหน่วยงานต่างๆ รองรับกับ ปริมาณงาน
กรได้จัดสร้างอาคารที่ทำาการอีกหนึ่งหลัง เป็นอาคารสำานัก
ยกว่า อาคาร 120 ปี กรมศุลกากร ทำาพิธีเปิดอาคารเมื่อ
มษายน 2539
วิสัยทัศน์กรมศุลกากร
ศุลกากรมาตรฐานโลก เพื่อเพิ่มความสามารถในการ
แข่งขันของประเทศและปกป้องสังคม
พันธกิจกรมศุลกากร
1. ให้บริการทางศุลกากรที่ทันสมัย สะดวก รวดเร็ว ได้
มาตรฐานโลก
2. ส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจและการแข่งขันของประเทศ
ด้วยมาตรการทางศุลกากร
3. เพิ่มประสิทธิภาพในการควบคุมทางศุลกากรเพื่อปกป้อง
สังคม
สตร์กรมศุลกากร
าระบบงานศุลกากรให้เป็นมาตรฐานโลก
ามาตรการทางศุลกากรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขันขอ
าศักยภาพการควบคุมทางศุลกากรด้วยมาตรฐานสากล
รจัดการระบบจัดเก็บภาษีอากรโดยยึดหลักการบริหารกิจการบ้านเม
สำานักงานด่านศุลกากร
นำาเข้าสินค้า ผู้นำาเข้าจะต้องปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ แ
กรและหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องในการนำาเข้าอาทิ กระท
ณะกรรมการอาหารและยา กรมปศุสัตว์ ฯลฯ ที่กำาหนดไว้ให
ะนำาในการจัดเตรียมเอกสารและปฏิบัติตามขั้นตอนพิธีการศ
าสินค้า ดังนี้
บขนสินค้าขาเข้า เป็นแบบพิมพ์ที่กรมศุลกากรกำาหนดให้ผ
รมศุลกากรในการนำาเข้าสินค้า ซึ่งจำาแนกออกเป็น 9 ประเ
นำาเข้า ดังนี้
พิธีการศุลกากร
พิธีการนำาเข้าสินค้า
(1) แบบ กศก. 99/1 ใบขนสินค้าขาเข้าพร้อมแบบแสดงรายการภาษีสรรพ
สามิตและภาษีมูลค่าเพิ่ม ใช้สำาหรับการนำาเข้าสินค้าทั่วไป
ทุกประเภทที่กรมศุลกากรมิได้กำาหนดให้ใช้ใบขนสินค้าประเภทอื่น
(2) แบบ กศก. 102 ใบขนสินค้าขาเข้าพิเศษพร้อมแบบแสดงรายการภาษีสรรพ
สามิตและภาษีมูลค่าเพิ่ม ใช้สำาหรับการนำาเข้าสินค้า
ทางอากาศยานหรือพิธีการอื่นที่กรมศุลกากรกำาหนดสำาหรับของที่นำาเข้าใน
ลักษณะเฉพาะ เช่น การนำาเข้าสัตว์เลี้ยงมีชีวิต
(3) แบบ กศก. 103 คำาร้องขอผ่อนผันรับของ/ส่งของออกไปก่อน ใช้สำาหรับ
การนำาเข้าหรือส่งออกสินค้าก่อนปฏิบัติพิธีการครบถ้วน
ตามที่กรมศุลกากรกำาหนด
(4) แบบ A.T.A. Carnet ใบขนสินค้าสำาหรับนำาของเข้าหรือส่งของออกชั่วคราว
ใช้สำาหรับการนำาเข้าหรือส่งออกสินค้าชั่วคราว
ประเภทต่าง ๆ ตามที่ระบุในอนุสัญญา
(5) แบบ JDA (Joint Development Area) ใบขนสินค้าสำาหรับพื้นที่พัฒนาร่วม
ไทย- มาเลเซีย ใช้สำาหรับการนำาเข้าสินค้าในเขตพื้น
ที่พัฒนาร่วมไทย-มาเลเซีย
(6) แบบใบแนบ 9 ใบขนสินค้าถ่ายลำา ใช้สำาหรับพิธีการสินค้าถ่ายลำา
(7) แบบที่ 448 ใบขนสินค้าผ่านแดน ใช้สำาหรับพิธีการสินค้าผ่านแดน
(8) ใบขนสินค้าพิเศษสำาหรับรถยนต์และจักรยานยนต์นำาเข้าหรือส่งออก
ชั่วคราว ใช้สำาหรับการนำารถยนต์และจักรยานยนต์เข้ามา
ในประเทศหรือส่งออกชั่วคราว
ที่ควรจัดเตรียมในการนำาเข้าสินค้า
รับพิธีการชำาระอากร พิธีการวางประกัน พิธีการขนถ่ายข้า
ทัณฑ์บนประเภทร้านค้าปลอดอากร ต้องมีเอกสารประกอบ
ต้นฉบับใบขนสินค้าขาเข้า (กศก. 99/1) พร้อมสำาเนา
เว้นแต่กรณีที่กรมศุลกากรกำาหนดให้มีการจัดทำาคู่ฉบับ
สำาหรับ การนำาเข้าอาวุธปืน เครื่องกระสุนปืน วัตถุระเบ
นำ้ามันเชื้อเพลิง ที่ต้องส่งเงินเข้ากองทุนนำ้ามัน กรณีดังก
สำาเนาใบขนสินค้าขาเข้า 2 ฉบับ
ใบตราส่งสินค้า (Bill of Lading or Air Waybill)
บัญชีราคาสินค้า (Invoice)
4) แบบธุรกิจต่างประเทศ (ธ.ต.2)(Foreign Transactio
กรณีมูลค่าของนำาเข้าเกินกว่า 500,000 บาท
5) แบบแสดงรายละเอียดราคาศุลกากร (กศก. 170)
6) ใบสั่งปล่อยสินค้า (กศก.100/1)
7) บัญชีรายละเอียดบรรจุหีบห่อ (Packing List)
8) ใบแจ้งยอดเบี้ยประกัน (Insurance Premium Invoi
9) ใบอนุญาตหรือหนังสืออนุญาตสำาหรับสินค้าควบคุมกา
10) ใบรับรองแหล่งกำาเนิดสินค้า (Certificate of Origin
กรณีขอลดอัตราอากร
11) เอกสารอื่น ๆ เช่น เอกสารแสดงส่วนผสม คุณลักษณะแ
ใช้งานของสินค้า แค็ดตาล็อก เป็นต้น
การหลายเที่ยวเรือ ต้องเพิ่มพิมพ์เขียว (BLUE PRINT) แบบ
บพิมพ์ หรือเอกสารประกอบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพิจารณ
ขนสินค้าหลายเที่ยวเรือ
การขอคืนอากรตามมาตรา 19 ทวิต้องเพิ่มสำาเนาใบขนสิน
ศก.99/1) อีก 1 ฉบับ
การส่งเสริมการลงทุนต้องเพิ่มหนังสืออนุมัติให้ยกเว้นหรือ
ากรจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน
การคลังสินค้าทัณฑ์บนทั่วไป ต้องเพิ่มเอกสารดังนี้ คือ
1) คำาขออนุญาตนำาของเข้าคลังสินค้าทัณฑ์บนทั่วไป (แบ
2) คำาขออนุญาตนำาของเข้าคลังสินค้าทัณฑ์บนทั่วไป ตาม
กรมศุลกากรกำาหนด
การคลังสินค้าทัณฑ์บนประเภทโรงผลิตสินค้า กรณีนำาเข้า
ใช่ผู้รับอนุญาตจัดตั้งคลังสินค้าทัณฑ์บนประเภทโรงผลิตส
ขออนุญาตนำาของเข้าคลังสินค้าทัณฑ์บนประเภทโรงผลิตส
การสินค้าส่งกลับ (RE-EXPORT)
ณีอยู่ในอารักขาของศุลกากร ต้องเพิ่มเอกสารดังนี้ คือ
(1) คำาร้องขอผ่อนผันทำาใบขนสินค้าส่งกลับ (RE-EXPOR
ชำาระอากร 1 ใน 10
(2) ใบขนสินค้าขาออก (กศก.101/1) พร้อมเอกสารประ
การนำาของออกจากเขตอุตสาหกรรมส่งออก (EPZ)
งเพิ่มเอกสารดังนี้ คือ
แบบ กนอ.02-1 กรณีสินค้านำาเข้าเป็นวัตถุดิบ
แบบ กนอ.02-1 และ กนอ.101 กรณีสินค้านำาเข้าเป็นเค
อุปกรณ์เครื่องมือและ เครื่องใช้ รวมทั้งส่วนประกอบขอ
ดังกล่าวที่จำาเป็นต้องใช้ในการผลิตสินค้าหรือการค้าเพื่อ
ารปฏิบัติพิธีการนำาเข้าสินค้า
นำาเข้าหรือตัวแทนบันทึกข้อมูลบัญชีราคาสินค้า (Invoice
ข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ของตนเองหรือผ่าน Service Coun
ปรแกรมคอมพิวเตอร์จะแปลงข้อมูลบัญชีราคาสินค้าให้เป็น
บขนสินค้าโดยอัตโนมัติ และให้ผู้นำาเข้าหรือตัวแทนส่งเฉพ
บขนสินค้ามายังเครื่องคอมพิวเตอร์ของกรมศุลกากร
ครื่องคอมพิวเตอร์ของกรมศุลกากรจะตรวจสอบข้อมูลเบื้อง
บขนสินค้าที่ส่งเข้ามา เช่น ชื่อและที่อยู่ผู้นำาของเข้า เลขปร
าษี พิกัดอัตราศุลกากร ราคา เป็นต้น ถ้าพบว่าข้อมูลใบขน
ส่งมาไม่ถูกต้อง เครื่องคอมพิวเตอร์ของกรมศุลกากรจะแจ
งผู้นำาเข้าหรือตัวแทนเพื่อให้แก้ไขให้ถูกต้อง
อมพิวเตอร์ของกรมศุลกากรตรวจสอบข้อมูลในใบขนสินค้า
ต้องครบถ้วนแล้ว จะออกเลขที่ใบขนสินค้าขาเข้า พร้อมกับ
นไขต่างๆ ที่กรมศุลกากรกำาหนดไว้ เพื่อจัดกลุ่มใบขนสินค้า
นการตรวจสอบพิธีการเป็น 2 ประเภท ดังต่อไปนี้ แล้วแจ้ง
นำาเข้าหรือตัวแทน เพื่อจัดพิมพ์ใบขนสินค้า
สินค้าขาเข้าประเภทที่ไม่ต้องตรวจสอบพิธีการ (Green L
ะเภทนี้ เครื่องคอมพิวเตอร์จะสั่งการตรวจ หลังจากนั้น ผู้นำา
มารถนำาใบขนสินค้าขาเข้าไปชำาระค่าภาษีอากรและรับการ
นค้าขาเข้าประเภทที่ต้องตรวจสอบพิธีการ (Red Line) สำา
ทนี้ ผู้นำาเข้าหรือตัวแทนต้องนำาใบขนสินค้าไปติดต่อกับหน
กรของท่าที่นำาของเข้า
รือตัวแทนต้องจัดเก็บข้อมูลบัญชีราคาสินค้าตามวรรคแรกใ
คอมพิวเตอร์เป็นเวลา ไม่น้อยกว่า 6 เดือน เพื่อใช้สำาหรับก
ขนสินค้าหลังการตรวจปล่อย โดยให้สามารถจัดพิมพ์เป็นร
มศุลกากรร้องขอ ดังนี้
MPORT/EXPORT INVOICE LIST BY DECLARATION
MPORT/EXPORT INVOICE LIST BY INVOICE ITEM
MPORT/EXPORT INVOICE LIST
4. แผนผังแสดงขั้นตอนการนำาเข้าสินค้า
อกสินค้า ผู้ส่งออกก็จะต้องปฏิบัติตามกฎหมาย ระเ
ศุลกากรและหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องในการส่งอ
เช่นเดียวกับการนำาเข้า โดยมีคำาแนะนำาในการจัดเ
ขั้นตอนพิธีการศุลกากรในการส่งออกสินค้า ดังนี้
พิธีการส่งออกสินค้า
สินค้าขาออก เป็นแบบพิมพ์ที่กรมศุลกากรกำาหนดใ
กากรในการส่งออกสินค้า ซึ่งจำาแนกออกเป็น 4 ปร
งออก ดังนี้
1/1 ใบขนสินค้าขาออก ใช้สำาหรับการส่งออกในกร
สินค้าทั่วไป
ของส่วนบุคคลและเอกสิทธิ์
สินค้าประเภทส่งเสริมการลงทุน (BOI)
สินค้าจากคลังสินค้าทัณฑ์บน
สินค้าที่ขอชดเชยค่าภาษีอากร
สินค้าที่ขอคืนอากรตามมาตรา 19 ทวิ
สินค้าที่ต้องการใบสุทธินำากลับ
ากลับออกไป (RE-EXPORT)
(2) แบบ กศก.103 คำาร้องขอผ่อนผันรับ
ของ/ส่งของออกไปก่อน ใช้สำาหรับการ
ขอส่งสินค้าออกไปก่อนปฏิบัติพิธีการใบขน
สินค้าขาออกในลักษณะที่
กรมศุลกากรกำาหนดไว้ ในประมวลระเบียบ
ปฏิบัติศุลกากร พ.ศ. 2544
 
(3) แบบ A.T.A. Carnet ใบขนสินค้าสำาหรับนำา
ของเข้าหรือส่งของออกชั่วคราว
ใช้สำาหรับพิธีการส่งของออกชั่วคราวใน
ลักษณะที่กำาหนดในอนุสัญญา
 (4) ใบขนสินค้าพิเศษสำาหรับรถยนต์และ
ส่งออกควรจัดเตรียมในการส่งออกสินค้า
ค้าขาออก ประกอบด้วยต้นฉบับและสำาเนา 1 ฉบับ
าสินค้า (Invoice) 2 ฉบับ
ต่างประเทศ (Foreign Transaction Form) : ธต. 1
ออกมีราคา FOB เกิน 500,000 บาท
ตส่งออกหรือเอกสารอื่นใดสำาหรับสินค้าควบคุมการ
น ๆ (ถ้ามี)
รปฏิบัติพิธีการส่งออกสินค้า
กหรือตัวแทนส่งข้อมูลใบขนสินค้าขาออกและบัญชีร
รายการจากเครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ส่งออกหรือตัว
เตอร์ของกรมศุลกากร โดยผ่านบริษัทผู้ให้บริการร
อนิกส์
คอมพิวเตอร์ของกรมศุลกากรตรวจสอบข้อมูลในใบ
ูกต้องครบถ้วนแล้ว จะออกเลขที่ใบขนสินค้าขาออก
ที่กรมศุลกากรกำาหนดไว้ เพื่อจัดกลุ่มใบขนสินค้าขา
ท ดังต่อไปนี้และแจ้งกลับไปยังผู้ส่งออกหรือตัวแทน
ใบขนสินค้าขาออกที่ต้องตรวจสอบพิธีการ
(Red Line) สำาหรับใบขนสินค้า
ประเภทนี้ ผู้ส่งออกหรือตัวแทนต้องนำาใบขน
สินค้าไปติดต่อกับหน่วยงาน
ประเมินอากรของท่าที่ผ่านพิธีการ ใบขน
สินค้าขาออกที่ไม่ต้องตรวจสอบพิธีการ
(Green Line) สำาหรับใบขนสินค้าขาออก
ประเภทนี้ ผู้ส่งออกสามารถชำาระ
ค่าอากร (ถ้ามี) และดำาเนินการนำาสินค้าไป
ตรวจปล่อยเพื่อส่งออกได้เลยโดย
ไม่ต้องไปพบเจ้าหน้าที่ประเมินอากร
บเพิ่มเติมในการส่งออกสินค้า
าที่ส่งออกเป็นสินค้าที่ผู้ส่งออกประสงค์จะนำากลับเข
กภายในหนึ่งปีโดยขอยกเว้นอากรขาเข้า ให้เพิ่มคู่ฉ
อีกหนึ่งฉบับเพื่อใช้เป็นหลักฐานที่เรียกว่า “ใบสุทธิน
านในการนำาสินค้ากลับเข้ามา
นหรือผลิตภัณฑ์นำ้ามันที่ผลิตในราชอาณาจักรไปจ
ส่งออกต้องการขอคืนภาษีนำ้ามันของกรมสรรพสามิต
าออกอีกหนึ่งฉบับและเขียนหรือประทับตรายางมีข้อ
ามันหรือผลิตภัณฑ์นำ้ามัน” ไว้ตอนบนใบขนสินค้าขา
(3)สำาหรับท่ากรุงเทพ การส่งสินค้า Re-
Export ไปยังประเทศ สปป.ลาว
และประสงค์จะขอคืนอากรขาเข้า ให้เพิ่มคู่
ฉบับใบขนสินค้าขาออกอีกหนึ่งฉบับแนบ
ติดกับต้นฉบับใบขนสินค้าขาออกด้วย
(4) การส่งออกที่ผู้ส่งออกประสงค์จะได้
เอกสารส่งออกจากกรมศุลกากรเพื่อขอรับ
เงินชดเชยอากร จะต้องยื่นคู่ฉบับใบขน
สินค้าขาออกอีกหนึ่ง
ฉบับ ซึ่งมีลักษณะพิเศษคือมีสีนำ้าเงินที่มุมทั้ง 4
มุม
(5) สินค้าส่งออกที่ขอคืนอากรตามมาตรา 19
ทวิ จะต้องยื่นใบแนบใบขนสินค้าขาออก
าหรับตรวจสินค้าขาออก มีดังนี้
น (ท่ากองตรวจสินค้าขาออกเดิม) หรือ ณ ทำาเนียบท
การนำาเข้า - ส่งออก
อนเทนเนอร์และสถานีตรวจสอบขาออก (Main Gat
ในบริเวณท่าเรือกรุงเทพ
และบรรจุสินค้าเข้าคอนเทนเนอร์ เพื่อการส่ง ออก
ร่ ยาง ณ โรงเก็บข้าว โรงสีข้าว โรงเก็บแร่ โรงเก็บ
รา 7(4) แห่ง พ.ร.บ.ศุลกากร พ.ศ. 2469
้าสำาหรับตรวจของขาเข้า และบรรจุของขาออกที่ ข
นอกเขตท่าทำาเนียบท่าเรือ (รพท. หรือ I.C.D./INL
DEPOT)
อเอกชน
รมส่งออกต่าง ๆ
ถานประกอบการของผู้ส่งออก
ูมิภาคต่าง ๆ
แผนผังแสดงขั้นตอนการส่งออกสินค้า
การชำาระภาษีอากร
ผู้ประกอบการสามารถชำาระค่าภาษีอากร
ได้ 2 ทาง คือ
1. การชำาระค่าภาษีอากร ณ กรม
ศุลกากร
2. การชำาระเงินผ่านธนาคารทาง
อิเล็กทรอนิกส์
(Electronic Funds Transfer:EFT)
1. การชำาระค่าภาษีอากร ณ กรม
ศุลกากร
เมื่อระบบคอมพิวเตอร์ของศุลกากร
ได้ออกเลขที่ใบขนสินค้าให้แล้ว สามารถ
ไปชำาระค่าภาษีอากร ณ หน่วยการเงิน
ของท่า หรือที่ หรือสนามบินที่นำาของเข้า/
ส่งของออก โดยแจ้งเลขที่ใบขนสินค้าและ
จำานวน ค่าภาษีอากร เพื่อยื่นขอชำาระค่า
ภาษีอากรเป็นเงินสด หรือแคชเชียร์เช็ค
หรือบัตรภาษีเมื่อเจ้าหน้าที่หน่วย การเงิน
2. ชำาระเงินผ่านธนาคารทาง
อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Funds
Transfer: EFT)
กรมศุลกากรให้บริการรับชำาระค่า
ภาษีอากรในการผ่านพิธีการทาง
ศุลกากรทางอิเล็กทรอนิกส์แบบ ไร้
เอกสารแก่ผู้นำาของเข้า/ผู้ส่งของออก
โดยวิธีหักบัญชีเงินฝากของผู้ชำาระเงิน
จากธนาคารศุลกากร
(Customs Banks)ที่ให้บริการและโอนเงิน
1. ให้แจ้งความประสงค์ขอชำาระค่าภาษี
อากรโดยระบุหักบัญชีเงินฝากธนาคาร
พาณิชย์ ของผู้ชำาระค่า ภาษีและโอนเงิน
ผ่านระบบของธนาคารศุลกากร เพื่อนำาเข้า
บัญชีเงินฝากของกรมศุลกากรในขณะส่ง
ข้อมูล ใบขนสินค้าเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์
ของศุลกากร
2. เมื่อระบบคอมพิวเตอร์ของศุลกากรออก
เลขที่ใบขนสินค้าให้ ระบบคอมพิวเตอร์ของ
ศุลกากรจะส่ง ข้อมูลขอหักบัญชีเงินฝาก
จากธนาคารพาณิชย์ที่ผู้ผ่านพิธีการ
ศุลกากรทางอิเล็กทรอนิกส์แบบไร้เอกสาร
แจ้ง ไว้ไปยังธนาคารศุลกากร
3. ธนาคารศุลกากรดำาเนินการขอหักบัญชี
เงินฝากธนาคารพาณิชย์ดังกล่าว และโอน
เงินผ่านระบบ ของธนาคารศุลกากร เพื่อนำา
เข้าบัญชีเงินฝากของกรมศุลกากรที่เปิดไว้กับ
ธนาคารศุลกากร นั้น
4. เมื่อธนาคารศุลกากรสามารถหักบัญชีรับ
ชำาระค่าภาษีอากรได้และทำาการตอบกลับ
การนำาเงินเข้า บัญชีเงินฝากของกรมศุลกากร
แล้ว ระบบคอมพิวเตอร์ของศุลกากรจะออก
เลขรับชำาระค่าภาษีอากรและ ส่งกลับข้อมูล
ให้ผู้ผ่านพิธีการทางศุลกากรทาง
5. ผู้นำาของเข้า/ผู้ส่งของออก หรือตัวแทนออก
ของผู้รับมอบอำานาจที่ได้แจ้งชื่อ ลงทะเบียนต่อ
กรมศุลกากรขอรับใบเสร็จรับเงินได้ ณ หน่วย
บริการศุลกากรที่ตรวจปล่อยสินค้า โดยเจ้า
หน้าที่หน่วย การเงินจะเรียกข้อมูลตามวันที่รับ
ชำาระและเลขที่ชำาระอากรแล้วสั่งพิมพ์พร้อมลง
นามในใบเสร็จรับเงิน ของใบขนสินค้าแต่ละ
ฉบับ
6. กรณีไม่สามารถหักบัญชีเงินฝากจาก
ธนาคารพาณิชย์ที่ผู้ผ่านพิธีการศุลกากรทาง
อิเล็กทรอนิกส์ แบบไร้เอกสารแจ้งไว้ได้ ให้
7. ธนาคารศุลกากร (Customs Banks) ที่ให้
บริการได้แก่ บมจ.ธนาคารกรุงเทพ
บมจ.ธนาคารกรุงไทย บมจ.ธนาคารกรุง
ศรีอยุธยา บมจ.ธนาคารกสิกรไทย
บมจ.ธนาคารไทยธนาคาร บมจ.ธนาคารไทย
พาณิชย์ ธนาคารซิตี้แบงก์ ธนาคารดอยซ์
แบงก์ ธนาคารซูมิโตโม มิตซุย แบงกิ้ง
คอร์ปอเรชั่น และธนาคารมิซูโฮ คอร์ปอเรต
ระบบ e-Customs (Paperless)
ระบบนี้เป็นระบบใหม่ ที่กรมศุลกากรนำามาใช้
แทนระบบ EDIเดิม ซึ่งเริ่มใช้ที่ท่าเรือแหลม
ฉบังเป็นแห่งแรก โดยเริ่มในปี 2550 และจะ
กระจายต่อไปยังหน่วยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องซึ่ง
พร้อมที่จะรองรับระบบนี้
ขั้นตอนการเข้าสู่ระบบ e-Customs
(Paperless)
1. ผู้ประกอบการ (:-ผู้ผ่านพิธีการศุลกากร
หรือดำาเนินการในกระบวนการทางศุลกากร)
1.1 ผู้ประกอบการ หมายถึง
(1) ผู้ผ่านพิธีการศุลกากร (ผู้นำาเข้า -
(4) ตัวแทนผู้รายงานยานพาหนะเขา -
ออก
(5) ธนาคารศุลกากร (Customs Bank)
(6) เคานเตอร์บริการ
1.2 สถานที่ยื่นแบบคำาขอลงทะเบียน
(1) ฝ่ายทะเบียนและสิทธิพิเศษ กลุ่มงาน
มาตรฐานพิธีการและราคา หรือ
(2) ฝ่ายบริหารงานทั่วไป สำานักหรือ
สำานักงานศุลกากร หรือ
(3) ด่านศุลกากร
2. ขั้นตอนการเข้าสู่ระบบ e-Customs
ผู้ประกอบการ (ลำาดับที่ 1 - 5) ที่จะเข้าสู่ระบบ
e-Customs สามารถเลือกวิธีการรับ - ส่ง ข้อมูล
เข้าสู่ระบบได้ ดังนี้
2.1 ผู้ประกอบการประสงค์จะรับ - ส่ง ข้อมูล
และลงลายมือชื่อทางอิเล็กทรอนิกส์เอง (ดูราย
ละเอียดข้อ 3)
2.2 ผู้ประกอบการไม่ประสงค์จะรับ - ส่ง
ข้อมูลเอง
2.2.1 เลือกใช้บริการของตัวแทนออก
ของ ซึ่งเลือกปฏิบัติได้ 2 ทาง
2.2.1.1 ผู้ประกอบการลงลายมือชื่อ
ทางอิเล็กทรอนิกส์เอง (ดูรายละเอียด ข้อ 4)
2.2.2 เลือกใช้เคาน์เตอร์บริการ ผู้ประกอบ
การต้องนำาข้อมูลใบขน, Invoice มาให้
เคาน์เตอร์ บริการบันทึกข้อมูลเข้าสู่ระบบ
คอมพิวเตอร์ของกรมศุลกากรโดยเคาน์เตอร์
บริการ จะทำาการพิมพ์ใบขนสินค้า ให้ผู้
ประกอบการลงลายมือชื่อ
3. กรณีประสงค์จะรับ - ส่งข้อมูลและลงลายมือ
ชื่อทางอิเล็กทรอนิกส์เอง ผู้ประกอบการต้อง
ดำาเนินการดังนี้
3.1 จัดหา Software, VANS และใบรับรอง
ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์
3.2 ลงทะเบียนตามประกาศกรมศุลกากรที่
20/2550 ณ หน่วยรับลงทะเบียนตามข้0อ 1.2
“โดยต้อง กรอกแบบ ค่าขอลงทะเบียนผู้ผ่าน
พิธีการศุลกากรทางอิเล็กทรอนิกส์แบบไร้
”เอกสาร
3.3 ทดสอบการรับ - ส่ง ข้อมูลพร้อมจัดส่ง
รายงานตามแบบที่สำานักเทคโนโลยี
4. กรณีไม่ประสงค์จะรับ - ส่ง ข้อมูล แต่จะลง
ลายมือชื่อทางอิเล็กทรอนิกส์เองผู้ประกอบ
การต้องดำาเนินการ ดังนี้
4.1 จดหาใบรับรองลายมือชื่อ
อิเล็กทรอนิกส์
4.2 ลงทะเบียนตามประกาศกรมศุลกากรที่
20/2550 ณ หน่วยรับลงทะเบียนตามข้อ 1.2
“โดยต้อง กรอกแบบ คำาขอลงทะเบียนผู้ผ่าน
พิธีการศุลกากรทางอิเล็กทรอนิกส์แบบไร้
”เอกสาร
5. ผู้ประกอบการที่ต้องลงทะเบียนตาม
ประกาศกรมศุลกากรที่ 20/2550 แต่ไม่ต้อง
จดหาใบรับรองลายมือชื่อ อิเล็กทรอนิกส์
ได้แก่
5.1 กรณีมอบอานาจให้ตัวแทนออกของ
เป็นผู้รับ - ส่ง ข้อมูล และลง ลายมือชื่อ
อิเล็กทรอนิกส์แทน
5.2 กรณีใช้เคาน์เตอร์บริการ
5.3 กรณีเป็นผู้รับโอนบัตรภาษี
ประกาศกรมศุลกากรและประกาศสำานักที่
เกี่ยวข้องกับระบบ e-Customs
1. การผ่านพิธีการศุลกากรทางอิเล็กทรอนิกส์
2. การลงทะเบียนเป็นผู้ผ่านพิธีการศุลกากร
หรือดำาเนินการใน กระบวนการทางศุลกากร
3. ยกเลิกการผ่านพิธีการศุลกากรในระบบ
แลกเปลี่ยนข้อมูลทาง อิเล็กทรอนิกส์
(Electronic Data Interchange : EDI) สำาหรับ
การ ส่งของออก
4. การยื่นคำาขอคืนอากรตามมาตรา 19 ทวิ
การขอรับเงินชดเชยค่าภาษี อากร และการจัด
ทำาตารางโอนสิทธิ สำาหรับใบขนสินค้าที่ผ่าน
พิธีการ ศุลกากรทางอิเล็กทรอนิกส์แบบไร้
เอกสาร
4.1 ประกาศกรมศุลกากรที่ 116/2549
4.2 ประกาศกรมศุลกากรที่ 20/2550
4.3 ประกาศกรมศุลกากรที่ 32/2550
4.4 ประกาศสำานักสิทธิประโยชน์ ทางภาษี
อากร ท 3/2550
การศุลกากรส่งออกทางอิเล็กทรอนิกส์ (e
การผ่านพิธีศุลกากร สามารถกระทำาได้
โดยวิธีการการทางอิเล็กทรอนิกส์แบบไร้
เอกสาร (Paperless) โดยส่งข้อมูล
อิเล็กทรอนิกส์ พร้อมลงลายมือชื่อ
อิเล็กทรอนิกส์ (Digital Signature)ของ
เจ้าของลายมือชื่อผ่านบุคคลที่เป็นสื่อกลางผู้
ให้บริการรับส่งข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์
(Value Added Network Service :
VANS) เข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ของศุลกากร
ทางอิเล็กทรอนิกส์ ตามมาตรฐานที่ศุลกากร
กำาหนด (ebXML/xml format) แทนการจัด
เมื่อระบบคอมพิวเตอร์ของศุลกากร ผู้รับ
ข้อมูลได้ทำาการตอบรับข้อมูลทาง
อิเล็กทรอนิกส์ นั้นแล้ว ในการผ่าพิธีศุลกากร
ถือเป็นการยื่นเอกสารนั้น ๆ ตามกฎหมายว่า
ด้วยศุลกากร และกฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
กับการศุลกากรแล้ว
การส่งของออกไปราชอาณาจักร หมาย
ถึง การนำาสิ่งของใด ๆ จากภายในราช
อาณาจักร ขนหรือย้าย ขนโดยทางเรือ ทาง
อากาศยาน ทางรถไฟ ทางบก ทางท่อส่ง ทาง
สายส่ง ทางไปรษณีย์ เป็นต้น เพื่อส่งออกไป
นอกราชอาณาจักร และให้ดำาเนินผ่านพิธีการ
พ.ร.บ ศุลกากร พ.ศ 2469 มาตรา 46
“ถ้ามีความจำาเป็นด้วยประการใด ๆ เกี่ยว
ด้วยการศุลกากรที่จะกำาหนด เวลา เป็นที่
แน่นอนกว่าการขนส่งของใด ๆ ออก จะพึง
ถือว่าเป็นอันสำาเร็จ เมื่อไรไซร้ ท่านให้ถือว่า
การส่งของออกเป็นอันสำาเร็จ แต่ขณะที่เรือ
ส่งของออก ได้ออกจากเขตท่า ซึ่งได้ออกเรือ
เป็นชั้นที่สุด เพื่อไปจากพระราชอาณาจักร
นั้น”
ระบบพิธีการศุลกากรส่งออกทาง
อิเล็กทรอนิกส์ (e-Export)
แบ่งออกเป็น 5 ขั้นตอน คือ
1. การจัดทำาใบขนสินค้าขาออกทาง
อิเล็กทรอนิกส์
2. การบรรจุสินค้า และการจัดทำาใบกำากับ
การขนย้ายสินค้า
3. การขนย้ายสินค้าผ่านสถานี
4. การตัดบัญชีใบกำากับการขนย้ายสินค้า
5. การรับบรรทุกของส่งออก
- ผู้ส่งออก หรือตัวแทนออกของ จักทำา
ข้อมูลใบขนส่งสินค้าขาออกตามมาตรฐานที่
ศุลกากรกำาหนด และส่งข้อมูลทาง
อิเล็กทรอนิกส์ เข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ทาง
อิเล็กทรอนิกส์ของศุลกากร ผ่าน VANS
- ระบบคอมพิวเตอร์ของศุลกากร จะ
ตรวจสอบความถูกต้องเบื้องต้นกับแฟ้มข้อมูล
อ้างอิง และกับข้อมูลการอนุมัติ/ อนุญาต ตาม
กฎหมาที่เกี่ยวข้อง
- ตรวจสอบพบความผิดพลาด ระบบ
คอมพิวเตอร์ของศุลกากรจะตอบรหัสข้อผิด
พลาดทุกข้อกลับไปให้ผู้ส่งข้อมูล ทำาการแกไข
และส่งข้อมูลใหม่
- หากไม่พบข้อมูลผิดพลาด ระบบ
คอมพิวเตอร์ของศุลกากร จะกำาหนดเลขที่
ใบขนสินค้าขาออกทางอิเล็กทรอนิกส์ จำานวน
14 หลัก ในสถานะพร้อมชำาระค่าภาษีอากร
(status=0109) และตอบให้ผู้ส่งข้อมูลทราบ
เมื่อผู้ส่งออกชำาระภาษีอากรแล้ว ระบบ
คอมพิวเตอร์ของศุลกากรจะออกเลขชำาระ
ภาษีอากร และกรณียกเว้นภาษีอากร ระบบ
คอมพิวเตอร์ของศุลกากรจะออกวันที่ยกเว้น
อากร พร้อมเปลี่ยนสถานะใบขนส่งสินค้าขา
ออกเป็นสถานะพร้อมตรวจปล่อย
(status=0209)
- เครื่องคอมพิวเตอร์ของศุลกากร จะ
ตรวจสอบข้อมูลในใบขนส่งสินค้าขาออก
ตามเงื่อนไขขาออกตามที่กรมศุลกากร
กำาหนด แล้วจัดกลุ่มใบขนส่งสินค้าขาออก
เป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ต้องการตรวจสอบ
สินค้า (Red Line) และกลุ่มที่ไม่ต้องการ
ตรวจสอบสินค้า (Green Line) กรณีตรวจ
สอบสินค้าระบบคอมพิวเตอร์ของศุลกากร
จะแจ้งชื่อนายตรวจให้ทราบในคราว
เดียวกันกับแจ้งเลขที่ใบขนสินค้าขาออก
2.1 การบรรจุสินค้า
2.1.1 สถานที่บรรจุสินค้า
- ผู้ส่งออกรายเดียว (FCL) ไม่ว่าจะมีใบขนส่ง
สินค้าขาออกฉบับเดียวก็ตามหรือหลายฉบับ
ก็ตาม ให้ทำาการบรรจุสินค้านอกเขตอารักขา
ของศุลกากรได้
- ผู้ส่งออกหลายราย (LCL) บรรจุค่าภายใน
เขตอารักขาศุลกากร เว้นแต่ ผู้ส่งออกมีความ
จำาเป็นในการบรรจุของในตู้คอนเทนเนอร์
เดียวกัน เช่น ผู้ส่งออกในเครือบริษัทเดียวกัน
หรือผู้ส่งออกที่มีสายการผลิตต่อเนื่องกัน หรือผู้
ส่งออกที่มีเงื่อนไขจากลูกค้าให้ส่งออกโดย
บรรจุพร้อมกับผู้ส่งออกรายอื่น หรือกรณีสินค้า
ที่ต้องมีการควบคุมอุณหภูมิ (เน่า เสีย) เป็นต้น
2.1.2 การปิดตู้หรือยานพาหนะ
- บรรจุสินค้าในตู้คอนเทนเนอร์/พาหนะ
แบบปิด ให้ผู้รับผิดชอบบรรจุทำาการปิดผนึก
ประตูพาหนะที่ใช้ขนย้ายสินค้าด้วยวิธีที่ผู้รับ
ผิดชอบการบรรจุกำาหนด เมื่อบรรจุของขึ้น
บนพาหนะแล้วเสร็จ
- บรรจุสินค้ายานพาหนะแบบเปิด ให้ผู้รับ
ผิดชอบบรรจุทำาการคลุมผ้าใบ หรือคลุมตา
ข่ายที่พาหนะที่ใช้ในการขนย้ายสินค้า แล้ว
ใช้เชือกผูกประทับตรา ผนึกด้วยวิธีที่ผู้รับผิด
ชอบการบรรจุกำาหนด เมื่อบรรจุของขึ้นบน
พาหนะแล้วเสร็จ
2.1.3 ผู้รับผิดชอบการบรรจุ
หมายความถึง
1. ผู้ส่งของออกหรือตัวแทน
2. ผู้จัดการโรงงาน หรือผู้จัดการสถาน
ประกอบการของผู้ส่งออก ที่ทำาการบรรจุสินค้า
3. ผู้ประกอบการสถานที่ตรวจปล่อย และ
บรรจุสินค้าเข้าคอนเทนเนอร์เพื่อการส่งออก
(สตส.)
4. ผู้ประกอบการโรงพักสินค้าเพื่อการ
ตรวจปล่อยของขาเข้า และบรรจุของขาออกที่
ขนส่งโดยระบบคอนเทนเนอร์ นอกเขต
ทำาเนียบท่าเรือ (รพท.)
5. ผู้ประกอบการคลังสินค้าทัณฑ์บน หรือ
2.2 การจัดทำาใบกำากับการขนย้ายสินค้า
- ให้ผู้รับผิดชอบการบรรจุ จัดทำา
ข้อมูล ใบกำากับการขนย้ายสินค้า ตาม
มาตรฐานที่ศุลกากรกำาหนด แล้วส่งข้อมูล
ทางอิเล็กทรอนิกส์ เข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์
ของศุลกากร ก่อนการขนย้ายของมาถึง
สถานีรับบรรทุก หรือจุดรับบรรทุกที่กำาหนด
ของ ท่า ที่ หรือสนามบินเพื่อการส่งออกไป
นอกราชอาณาจักร
- ระบบคอมพิวเตอร์ของศุลกากร จะ
ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลเบื้องต้น
กับแฟ้มข้อมูลอ้างอิง/แฟ้มข้อมูลใบขนส่ง
สินค้าขาออก และ
- ตรวจสอบความผิดพลาด ระบบ
คอมพิวเตอร์ของศุลกากรจะตอบกลับให้ผู้ส่ง
ข้อมูลทำาการแก้ไข และส่งข้อมูลใหม่
- หากไม่พบข้อผิดพลาด ระบบคอมพิวเตอร์
ศุลกากรจะออกเลขที่ใบกำากับการขนย้าย
สินค้าอ้างอิงทางอิเล็กทรอนิกส์ จำานวน 12
หลัก แล้วส่งกลับไปให้ผู้ส่งข้อมูลทราบ
- ผู้รับผิดชอบการบรรจุ จัดพิมพ์ ใบกำากับ
การขนย้ายสินค้า จากระบบคอมพิวเตอร์ หรือ
ทำาสำาเนาภาพถ่ายใบกำากับการขนย้ายสินค้า
หรือแสดงเลขที่ใบกำากับการขนย้ายสินค้าที่
ระบบคอมพิวเตอร์ของศุลกากรได้กำาหนดให้
เอกสารอื่นใด เพื่อมอบหมายให้พนักงานขับ
3. ขั้นตอนการขนย้ายสินค้า ผ่าน
สถานีรับบรรทุก ณ ท่า ที่ หรือสนามบินที่
ส่งออก
- เมื่อขนส่งสินค้ามาถึงสถานีรับ
บรรทุก ให้ผู้ขนย้ายทำาการแสดง หรือ
แจ้งเลขที่ ใบกำากับการขนย้ายสินค้า
หากส่งออกทางเรือ ให้แสดง EIR ด้วย
และหากส่งออกทางเครื่องบิน ต้องแสดง
เอกสารใบตราส่งสินค้าทางอากาศยาน
(Airway Bill) ด้วย
- เมื่อสินค้ามาถึงสถานีรับบรรทุก และผู้
ขนย้ายได้แสดง หรือแจ้งเลขที่ใบกำากับการ
ขนย้ายสินค้าพร้อมเอกสารอื่น ๆ ตามที่
กำาหนดแล้ว เจ้าหน้าที่ศุลกากรตรวจสอบใน
ใบขนส่งสินค้าขาออกที่ระบุเลขที่ไว้ในใบ
กำากับการขนย้ายสินค้าว่าอยู่ เงื่อนไข ความ
เสี่ยงที่ระบบคอมพิวเตอร์ของระบบ
คอมพิวเตอร์ของศุลกากรกำาหนด ให้อยู่ใน
กลุ่มใด ตามข้อ 1
- หากจัดเข้ากลุ่มที่ไม่ต้องตรวจสอบ
สินค้า (Green line)จะทำาการจัดบัญชีใบ
กำากับการขนย้ายสินค้า (Matching) และ
อนุญาตให้นำาสินค้าผ่านสถานีรับบรรทุก หรือ
จุดรับบรรทุกสินค้าที่กำาหนด
-หากจัดเข้ากลุ่มที่ต้องตรวจสอบสินค้า (Red
ling) ระบบคอมพิวเตอร์ของศุลกากรจะตอบ
กลับข้อมูลการตัดบัญชีใบกำากับการขนย้าย
สินค้า ไปให้ผู้ส่งข้อมูลใบขนสินค้าขาออก
ด้วยข้อความ “Goods Transition Control
Already Checked ให้ไปดำาเนินการตรวจ
ปล่อยที่ท่าส่งออก” ผู้ขนย้ายต้องนำาสินค้าไป
ที่จุดตรวจสินค้าเพื่อให้เจ้าหน้าที่ศุลกากร
ทำาการตรวจสินค้า ทั้งนี้ ระบบคอมพิวเตอร์
ของศุลกากรได้แจ้งชื่อนายตรวจให้ทราบ
แล้วใน
ขั้นตอนที่ 1 ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการ
ตรวจสอบสินค้าอยู่ในความรับผิดชอบของผู้
-ในวันทำาการเดียวกันที่ทำาการตัดบัญชีใบ
กำากับการขนย้ายสินค้า
(Matching) ระบบคอมพิวเตอร์ของศุลกากร
จะตอบกลับข้อมูลการตัดบัญชีใบกำากับการ
ขนย้ายสินค้าไปให้ผู้ส่งข้อมูลใบส่งสินค้าขา
ออกที่ปรากฏเลขที่ใบขนสินค้าออกในใบ
กำากับการขนย้ายสินค้านั้นทราบถึงการตัด
บัญชีในใบกำากับการขนย้ายสินค้าด้วย
ข้อความ “Goods Transition Control
Already Checked” ใบขนสินค้าขาออก
ฉบับดังกล่าว เปลี่ยนสถานะเป็นผ่านการ
ตรวจปล่อย (Status 0309)
- กรณีส่งออก ต้องมีการอนุมัติ/อนุญาต
ในรูปแบบเอกสารตามเงื่อนไขของกฎหมาย
ที่เกี่ยวข้อง ผู้ส่งออกต้องเขียน หรือพิมพ์เลข
ที่ใบขนสินค้าขาออกในเอกสารใบ
อนุมัติ/อนุญาต นั้น แล้วยื่นต่อหน่วยควบคุม
ศุลกากร ณ ท่า หรือที่ หรือสนามบิน สุดท้าย
ที่ส่งออกไปนอกราชอาณาจักร หรือส่ง
เอกสารดังกล่าวทางไปรษณีย์และลงทะเบียน
ตอบรับ โดยถือว่าที่ประทับตราส่งไปรษณีย์
เป็นวันยื่นเอกสาร ทั้งนี้ ต้องยื่นเอกสาร
ภายใน 15 วันนับแต่วันตัดบัญชีใบกำากับการ
ขนย้ายสินค้า
5. ขั้นตอนการรับบรรทุกของส่งออก
- การรับบรรทุกของส่งออกไปนอกราชอาณาจักร
ระบบคอมพิวเตอร์ของศุลกากรจะทำาการประมวล
ผลการรับบรรทุกโดยอัตโนมัติ ตามเวลาที่กำาหนด
- ในวันที่ทำาการเดียวกัน ระบบคอมพิวเตอร์ของ
ศุลกากรจะตอบกลับข้อมูลที่ทำาการประมวลผลการ
รับบรรทุกไปให้ผู้ส่งข้อมูลใบขนสินค้าขาออกทราบ
ด้วยข้อความ “Goods Loaded” ใบขนสินค้าขา
ออกฉบับดังกล่าวเปลี่ยนสถานะเป็น “สถานะรับ
บรรทุกส่งออกไปนอกราชอาณาจักร (Status
0409)”
- การขนย้ายของโดยเรือ จะบันทึกข้อมูล
ชื่อเรือ วันออกเรือ เมื่อมีการรายงานออกไป
นอกราชอาณาจักรแล้ว
- การขนย้ายโดยอากาศยาน จะบันทึก
ข้อมูลเที่ยวบิน และวันที่อากาศยานออก
เมื่อมีการรายงานอากาศยานออกไปนอก
ราชอาณาจักรแล้ว
- การขนย้ายโดยยานพาหนะทางบก
จะบันทึกข้อมูลยานพาหนะออกไปนอกราช
อาณาจักร เมื่อผู้ควบคุมยานพาหนะยื่นใบ
กำากับการขนย้ายสินค้า โดยให้ใช้บัญชี
สินค้า (แบบ ศ.บ.3) ต่อด่านพรมแดนใน
การนำายานพาหนะผ่านเขตแดนทางบก
THANK YOU

More Related Content

Featured

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by HubspotMarius Sescu
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTExpeed Software
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsPixeldarts
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthThinkNow
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfmarketingartwork
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 

Featured (20)

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 

วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 5