SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
Download to read offline
1

                                         บทที่ 1
                           หลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

เศรษฐกิจพอเพียง คืออะไร?

              “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดารัส
ชี้แนะแนวทาง การดาเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า 25 ปี ตั้งแต่ก่อนเกิด
วิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังได้ทรงเน้นย้าแนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้น และ
สามารถดารงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน ภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
              พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้นาปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงไปเผยแพร่ เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติของทุกฝุายและประชาชนโดยทั่วไป ดังนี้
              เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวทางการดารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนใน
ทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้
ดาเนินไป ในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัฒน์
              ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็นที่
จะต้องมี ระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี พอสมควรต่อการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้ง
ภายนอกและภายใน ทั้งนี้จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่ง ใน
การนาวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผนและการดาเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้อง
เสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติโดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับ
ให้มีสานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสมดาเนินชีวิตด้วยความอดทน
ความเพียร มีสติปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลง
อย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็น
อย่างดี
2

หลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง

           การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสาย
กลางและความไม่ประมาท โดยคานึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดี
ในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ความรอบคอบ และคุณธรรมประกอบการวางแผน การตัดสินใจและ
การกระทา

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

           มีหลักพิจารณาอยู่ 5 ส่วน ดังนี้
              1. กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดารงอยู่และปฏิบัติตนในทางที่ควร
จะเป็น โดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลาและ
เป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัยวิกฤติเพื่อ
ความมั่นคงและความยั่งยืนของการพัฒนา
              2. คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนามาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติได้ในทุก
ระดับ โดยเน้นการปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน
              3. คานิยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย 3 คุณลักษณะพร้อม ๆ กัน
คือ ความพอประมาณ (Moderation) ความมีเหตุผล (Reasonableness) และการมีภูมิคุ้มกันในตัว
ที่ดี (Self-immunity) ถ้าขาด คุณลักษณะใดคุณลักษณะหนึ่งไปก็จะไม่สามารถเรียกได้ว่าเป็นความ
พอเพียง ได้แก่
3

                 1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ไม่มากหรือน้อยเกินไปในมิติต่าง ๆ
ของการกระทา 5 ประการ คือ
                      1.1 ด้านจิตใจ คือ เริ่มต้นจากตนเองต้องตั้งสติ มีปัญญา มีจิตสานึกที่ดี มี
เมตตา เอื้ออาทร มีความเข้าใจและประนีประนอม คานึงถึงผลประโยชน์ส่วนรวม เข้มแข็งและ
พึ่งตนเองได้
                      1.2 ด้านสังคม คือ การสร้างความพอดีในทุกระดับของสังคม โดยเริ่มจาก
ครอบครัว ชุมชนและสังคม ซึ่งต้องช่วยเหลือเกื้อกูลกัน สร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชน รู้จักผนึกกาลัง
และที่สาคัญมีกระบวนการเรียนรู้ที่เกิดจากฐานรากที่มั่นคงและแข็งแรง
                      1.3 ด้านเศรษฐกิจ คือ ต้องอยู่อย่างพอดี พอมีพอกิน ไม่หรูหรา ฟุุมเฟือย
                      1.4 ด้านเทคโนโลยี คือ ควรเหมาะสมสอดคล้องกับสภาวะและความต้องการ
ของประเทศ และควรพัฒนาเทคโนโลยีจากภูมิปัญญาท้องถิ่นให้สอดคล้องเป็นประโยชน์ต่อ
สภาพแวดล้อมของเรา
                      1.5 ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คือ ใช้อย่างประหยัดและมี
ประสิทธิภาพ ตลอดจนรณรงค์รักษาทรัพยากรธรรมชาติให้เกิดความยั่งยืนสูงสุด
    2.               ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้นจะต้อง
เป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้น
จากการกระทานั้น ๆ อย่างรอบคอบ ซื่อตรงและไม่โลภอย่างมาก
    3.                การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการ
เปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้น โดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะ
เกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล
                 4. เงื่อนไข การตัดสินใจและการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้น
ต้องอาศัยทั้งความรู้ และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน กล่าวคือ
                     4.1 เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่
เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อม เพื่อประกอบการ
วางแผนและการใช้ความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ
                     4.2 เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักใน
คุณธรรมมีความซื่อสัตย์สุจริตและมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดารงชีวิต
    5.                แนวทางปฏิบัติ/ผลที่คาดว่าจะได้รับ จากการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
มาประยุกต์ใช้ คือ การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้าน
เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ความรู้และเทคโนโลยี การปฏิบัติในระดับตนเองและในระดับองค์กร
4

                 “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชดารัส
ชี้แนะแนวทางการดาเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า 25 ปี ตั้งแต่ก่อนเกิด
วิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังได้ทรงเน้นย้าแนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้น และ
สามารถดารงอยู่ได้อย่างมั่นคง และยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ
                 เศรษฐกิจพอเพียงจึงเป็นปรัชญาแห่งวิถีชีวิตที่มีความหลากหลาย และสามารถยืดหยุ่น
ความเป็นอยู่ของชีวิตของตนได้ด้วยเหตุนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงได้พระราชทานความหมาย
ของความพอเพียงไว้ ตามพระราชดารัส ที่พระราชทานในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา
เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2541 ดังนี้
             “...คาว่าพอเพียงมีความหมายกว้างออกไปอีก ไม่ได้หมายถึงการมีพอสาหรับใช้เองเท่านั้น
แต่มีความหมายว่าพอมีพอกิน...พอมีพอกินนี้ก็แปลว่าเศรษฐกิจพอเพียงนั่นเอง...”
             “...ให้พอเพียงนี้ก็หมายความว่า มีกินมีอยู่ ไม่ฟุมเฟือย ไม่หรูหราก็ได้ แต่ว่าพอแม้บางอย่าง
อาจจะดูฟุมเฟือย แต่ถ้าทาให้มีความสุข ถ้าทาได้ก็สมควรที่จะทา สมควรที่จะปฏิบัติ...”
             “Self-sufficiency (พึ่งพาตนเอง) นั่นหมายความว่า ผลิตอะไร มีพอที่จะใช้ไม่ต้องไปขอซื้อ
คนอื่น อยู่ได้ด้วยตนเอง...”
             “...แต่พอเพียงนี้ มีความหมายกว้างขวางยิ่งกว่านี้อีก คือคาว่า พอก็พอเพียง เพียงนี้ก็พอ
ดังนั้นเอง คนเราถ้าพอในความต้องการก็มีความโลภน้อย เมื่อมีความโลภน้อย ก็เบียดเบียนคนอื่น
น้อย ถ้าทุกประเทศมีความคิด-อันนี้ไม่ใช่เศรษฐกิจ มีความคิดว่าทาอะไรต้องพอเพียง หมายความว่า
พอประมาณ ไม่สุดโต่ง ไม่โลภอย่างมาก คนเราก็อยู่เป็นสุข...”
 แนวความคิดหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือ เข็มทิศเพื่อการดารงอยู่และปฏิบัติตน
หรือการขับเคลื่อนการพัฒนาให้ประเทศเจริญอย่างมั่นคงและยั่งยืนในมิติต่าง ๆ เป็นการดาเนินตาม
ทาง สายกลางก้าวทันต่อโลก โดยใช้ได้ทั้งระดับบุคคล ครอบครัว ชุมชน ประเทศ เป็นการมองโลก
ในลักษณะที่เป็นพลวัต มีการเปลี่ยนแปลง มีความไม่แน่นอน เป็นการปฏิบัติมุ่งผลทั้งระยะสั้นและ
ระยะยาว
             ความพอเพียง เป็นทั้งผลและวิธีการ (End and mean) จากการกระทา โดยผล คือ
การพัฒนาที่สมดุลใน ทุก ๆ ด้าน และพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม
สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม ในขณะเดียวกัน วิธีการนาความรู้ไปใช้ต้องมองทั้งในด้านเหตุและผล
ควบคู่กันไป ภายใต้พลวัตทั้งภายใน และภายนอกประเทศ
5

                                            บทที่ 2
                                 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับจิ้งหรีด

            แมลง (Insect) ถือกาเนิดมาในโลกก่อนสัตว์อื่น ๆ นับเป็นเวลาล้านล้านปี สามารถปรับตัว
ตามสภาพแวดล้อม และขยายพันธุ์ได้รวดเร็วมาก แมลงเป็นสัตว์ที่มีลักษณะเป็นข้อปล้อง ที่มีปริมาณ
มากที่สุดในโลก มีประมาณ 850,000 ชนิด ในจานวนนี้เป็นแมลงกว่า 300,000 ชนิด ที่มนุษย์รู้จัก
นามาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันมานานแล้ว เช่น การบริโภค การใช้แมลงเป็นตัวเบียฬ (Parasite)
และตัวห้า (Predators) เพื่อกาจัดศัตรูพืช เป็นต้น
             ประเทศไทยตั้งอยู่ในทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Southeast Asia) อยู่ในเขตร้อนชื้น
มีอุณหภูมิและสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม จึงมีความหลากหลายทางชีวภาพทั้งพืชและสัตว์ สาหรับสัตว์
โดยเฉพาะแมลง มีจานวนมากกว่า 40 ชนิด ที่ประชาชนได้นามาบริโภค และเป็นที่นิยมอย่าง
แพร่หลาย นับเป็นภูมิปัญญาชาญฉลาดของบรรพบุรุษไทย ที่สามารถดารงชีวิตอยู่ได้อย่างกลมกลืน
กับธรรมชาติ ไม่ทาลายธรรมชาติ แต่พิจารณาสิ่งต่าง ๆ ตามธรรมชาติ ในเชิงของการใช้ประโยชน์
ทดแทน และได้ก่อให้เกิดประโยชน์หลากหลายนานับประการ ดังเช่น การใช้ประโยชน์จากผึ้ง
ครั่ง และจิ้งหรีด เป็นต้น
            จิ้งหรีด เป็นแมลงที่สามารถนามาบริโภคได้ และมีความปลอดภัย จิ้งหรีดออกหากินเวลา
กลางคืน พบเห็นตาม ธรรมชาติทั่วไป จิ้งหรีดสามารถนามาเลี้ยงขยายพันธุ์ได้ทุกพันธุ์ แต่พันธุ์ที่รู้จัก
กันแพร่หลายมีอยู่ 2 ชนิด ได้แก่ จิ้งหรีดพันธุ์ทองดา และพันธุ์ทองแดง
            จิ้งหรีดมีปากเป็นแบบปากกัด ขาคู่หลังใหญ่และแข็งแรง กระโดดเก่ง สามารถทาเสียงร้อง
โดยใช้ขอบของปีกคู่หน้าสีกัน ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในคันนา ทุ่งหญ้า สนามหญ้า และตามรอยแตกของ
ดิน รูใต้ดิน หรือใต้กองเศษหญ้า โดยเฉพาะพันธุ์ทองดานิยมเลี้ยงกันมาก เนื่องจากสามารถขยายพันธุ์
ได้เร็วและเลี้ยงง่าย

ลักษณะทั่วไปของจิ้งหรีด
          1. รูปร่างลักษณะ
             จิ้งหรีดเป็นแมลงที่มีลักษณะปากเป็นแบบปากกัด มีตารวม หนวดยาว ขาคู่หลังมีขนาด
ใหญ่และแข็งแรง กระโดดเก่ง เพศเมียปีกเรียบและมีอวัยวะวางไข่ยาวแหลมคล้ายเข็มยื่นออกมาจาก
ส่วนท้อง เพศผู้มีปีกคู่หน้าย่น สามารถทาเสียงได้
             จิ้งหรีด (Cricket) จัดเป็นแมลงชนิดหนึ่ง พบได้ในทุกภูมิภาคของโลก โดยเฉพาะในเขต
ร้อนชื้น ชอบกัดกิน ต้นกล้าพืช ใบพืชส่วนที่อ่อน ๆ เป็นอาหาร จิ้งหรีดมีหลายชนิดและมีขนาด
6

แตกต่างกันไปตามชนิดของจิ้งหรีด พฤติกรรม ลักษณะพิเศษของจิ้งหรีดที่แตกต่างจากแมลงชนิดอื่น
อย่างโดดเด่น และสังเกตได้ง่าย คือ การส่งเสียงร้องและการผสมพันธุ์ ที่เพศเมียจะคร่อมบนเพศผู้
เสมอ จิ้งหรีดเป็นชื่อพื้นบ้านอีสาน มีชื่อวิทยาศาสตร์ (Acheta testacea Walker) แหล่งที่พบ
ส่วนใหญ่ขุดรูอยู่ตามคันนาและทุ่งหญ้า ออกหากินในเวลากลางคืน โดยกินรากต้นไม้ และกล้าไม้ ส่วน
ในเวลากลางวันจะหลับอาศัยอยู่แต่ในรู มักทาเสียงในเวลากลางคืน




                                    ลักษณะทั่วไปของจิ้งหรีด
 2. ชนิดของจิ้งหรีด
              จิ้งหรีดที่พบในประเทศไทย ซึ่งเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย มี 4 ชนิด ดังนี้
                   1) จิ้งหรีดทองดา ลาตัวกว้างประมาณ 0.7 ซม. ยาวประมาณ 3 ซม. มี 3 สี
ที่พบตามธรรมชาติคือ สีดา สีทอง และสีอาพัน โดยลักษณะที่เด่นชัด คือ จะมีจุดเหลือง
ที่โคนปีก 2 จุด




                                           จิ้งหรีดทองดา
               2) จิ้งหรีดทองแดง มีลาตัวสีน้าตาล เพศผู้มีสีเข้มกว่าเพศเมีย ส่วนหัวเหนือขอบตา
รวมด้านบน แต่ละด้านมีแถบสีเหลือง มองดูคล้ายหมวกแก๊ป มีความว่องไวมากภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือเรียกจิ้งหรีด ชนิดนี้เป็นภาษาท้องถิ่นว่า จินาย อิเจ็ก จิ้งหรีดม้า เป็นต้น
7




                                            จิ้งหรีดทองแดง

                  3) จิ้งหรีดเล็ก มีขนาดเล็กที่สุด มีสีน้าตาล บางท้องที่เรียกว่า จิลอ จิ้งหรีดผี หรือ
บางที่เรียกว่าแอ้ด ลักษณะคล้าย จิ้งหรีดพันธุ์ทองแดง เพียงแต่มีขนาดเล็กกว่าเท่านั้น




                                               จิ้งหรีดเล็ก
                   4) จิ้งโกร่ง เป็นจิ้งหรีดขนาดใหญ่ สีน้าตาล ลาตัวกว้างประมาณ 1 ซม. ยาว
ประมาณ 3.5 ซม. ชอบอยู่ในรูลึก โดยจะขุดดินสร้างรังอาศัยได้เอง และมีพฤติกรรมชอบอพยพย้ายที่
อยู่เสมอ มีชื่อเรียกแตกต่างกันไป เช่น จิโปม จิลอ เป็นต้น




                                                จิ้งโกร่ง
8

3.          วงจรชีวิตจิ้งหรีด
             จิ้งหรีดมีระยะการเจริญเติบโต แบ่งออกได้เป็น 3 ระยะ คือ
                  1) ระยะไข่ ไข่จิ้งหรีดจะมีสีเหลืองรวมกันเป็นกลุ่มในดิน ลักษณะยาวเรียวคล้าย
เมล็ดข้าวสาร ความยาวประมาณ 1.5 มิลลิเมตร ระยะไข่ใช้เวลาประมาณ 7 วัน จึงฟักออกมาเป็นตัว
อ่อน




                                       แสดงการวางไข่ของจิ้งหรีด

                  2) ระยะตัวอ่อน ไข่จิ้งหรีดเมื่อฟักออกเป็นตัวอ่อน จิ้งหรีดวัยอ่อนที่ฟักออกจากไข่
ใหม่ ๆ จะมีลักษณะคล้ายมด และมีการเจริญเติบโตโดยการลอกคราบ จะลอกคราบประมาณ 8 ครั้ง
จึงจะเป็นตัวเต็มวัย ตัวอ่อนเมื่อโตขึ้นเริ่มมีปีก เรียกว่า ระยะใส่เสื้อกั๊ก มีระยะกั๊กเล็ก มีติ่งปีก และกั๊ก
ใหญ่ มีติ่งปีกยาว ระยะตัวอ่อนพันธุ์จิ้งหรีดทองดาใช้เวลาประมาณ 36 - 40 วัน แต่ถ้าพันธุ์ทองแดง
ใช้เวลาประมาณ 46 - 50 วัน จึงจะลอกคราบเป็นตัวเต็มวัย




                                          จิ้งหรีดเติบโตตามวัย

                  3) ระยะตัวเต็มวัย เป็นระยะที่สามารถแยกเพศได้ชัดเจน โดยการสังเกตความ
แตกต่างของเพศผู้ เพศเมีย เพศผู้จะมีปีกคู่หน้าย่น สามารถทาให้เกิดเสียงขึ้นได้ โดยใช้ปีกคู่หน้าถูกัน
จะทาให้เกิดเสียง เสียงที่จิ้งหรีดทาขึ้นเป็นการ สื่อสารที่มีความหมายของจิ้งหรีด สาหรับเพศเมียจะมี
9

ปีกคู่หน้าเรียบ และมีอวัยวะวางไข่ยาวแหลมคล้ายเข็มยื่นออกมา จากส่วนท้อง โดยทั่วไปจิ้งหรีดตัว
เต็มวัยจะมีอายุเฉลี่ยประมาณ 45-60 วัน




    จิ้งหรีด                   เพศเมีย                       จิ้งหรีดเพศผู้

การผสมพันธุ์ของจิ้งหรีด

         จิ้งหรีดจะผสมพันธุ์เมื่อเป็นตัวเต็มวัย การผสมพันธุ์และวางไข่แต่ละรุ่นจะใช้เวลาประมาณ
15 วัน/ครั้ง/รุ่น เมื่อหมดการวางไข่รุ่นสุดท้ายแล้วตัวเมียก็จะตาย

วิธีผสมพันธุ์

          ตัวผู้จะทาเสียงโดยยกปีกคู่หน้าถูกันให้เกิดเสียง เพื่อเรียกตัวเมีย จังหวะเสียงจะดังเมื่อตัว
เมียเข้ามาหา บริเวณที่ตัวผู้อยู่ ตัวผู้จะเดินไปรอบ ๆ ตัวเมียประมาณ 2-3 รอบ ช่วงนี้จังหวะเสียงจะ
เบาลง แล้วตัวเมียจะขึ้นคร่อมตัวผู้ จากนั้นตัวผู้จะยื่นอวัยวะเพศแทงไปที่อวัยวะเพศเมีย หลังจากนั้น
ประมาณ 14 นาที ถุงน้าเชื้อก็จะฝุอลง แล้วตัวเมียจะใช้ ขาเขี่ยถุงน้าเชื้อทิ้งไป




                                   แสดงการผสมพันธุ์ของจิ้งหรีด
10

ระบบสืบพันธุ์เพศผู้

 เพศผู้มีอัณฑะ              1 คู่ สีขาวขุ่น แต่ละข้างมีท่อน้าอสุจิมาเก็บไว้ที่พักน้าเชื้ออสุจิ และมีต่อม
สร้างน้าเลี้ยงอสุจิสีขาวขุ่น เมื่อมีการผสมพันธุ์เชื้ออสุจิจะออกไปทางท่อน้าเชื้ออสุจิ

ระบบสืบพันธุ์เพศเมีย

          เพศเมียมีรังไข่ 1 คู่ สีเหลืองเป็นช่อ รังไข่แต่ละข้างมีท่อนาไข่และนาออกมารวมกันที่ท่อ
กลาง นอกจากนี้จะพบถุงเก็บอสุจิเป็นก้อนกลมสีขาวขุ่นสาหรับเก็บอสุจิของเพศผู้เมื่อได้รับการผสม
พันธุ์ ขณะที่จะวางไข่ โดยไข่แก่เคลื่อนตัวลงมาจากท่อนาไข่ก็จะมีการฉีดเชื้ออสุจิเข้าไปในไข่ก่อนที่
จิ้งหรีดจะวางไข่ออกมา

การวางไข่

           เพศเมียใช้อวัยวะวางไข่ที่ยาวแหลมคล้ายเข็มแทงลงในดินที่มีลักษณะเรียวยาวคล้ายเมล็ด
ข้าวสาร ใช้เวลาประมาณ 7 วัน ก็จะฟักออกเป็นตัวอ่อน ตลอดอายุไข่จิ้งหรีดตัวเมียสามารถวางไข่ได้
ตั้งแต่ 600 - 1,000 ฟอง ซึ่งจะวางไข่เป็นรุ่น ๆ ได้ประมาณ 4 รุ่น




                                               จิ้งหรีดวางไข่

ขั้นตอนการวางไข่

จิ้งหรีดตัวเมียจะเริ่มวางไข่ภายใน           7 วัน หลังผสมพันธุ์ มีขั้นตอนดังนี้
                1. จิ้งหรีดจะวางไข่ในดินที่มีความชื้นพอเหมาะสาหรับวางไข่
                2. ใช้เข็มแทงลงดินเพื่อวางไข่
11

                3.   การวางไข่จะวางเป็นกลุ่ม ๆ ละ 3 - 4 ฟอง ประมาณ 2 - 3 กลุ่ม
                4.   แทงเข็ม 1 ครั้ง จะวางไข่ประมาณ 2 - 3 กลุ่ม
                5.   ยกเข็มขึ้นมาเพื่อหาที่เหมาะสมเพื่อแทงเข็งวางไข่ใหม่
                6.   จะมีการวางไข่ตลอดอายุ 4 ครั้ง ๆ ละ ประมาณ 200 - 300 ฟอง
                7.   การวางไข่แต่ละรุ่นจะใช้เวลาห่างกันประมาณ 15 วัน

ลักษณะของจิ้งหรีดวัยต่าง ๆ

 ลักษณะไข่จิ้งหรีด
  - ไข่จิ้งหรีดมีสีขาว ยาวประมาณ 1.5 ม.ม.
  - ไข่อยู่ใต้ดิน ใช้เวลาฟักตัวประมาณ 7 วัน แล้วออกเป็นตัวอ่อน
 ลักษณะตัวอ่อน
  - มีขนาดเล็กคล้ายมด ความยาวประมาณ 1.5 ม.ม.
  - ลาตัวมีสีดา มีอวัยวะครบทุกอย่าง แต่ยังไม่มีปีก
  - ระยะกลางตัวอ่อน จะเริ่มมีตุ้มปีก
  - มีการลอกคราบ 8 ครั้ง ก่อนเป็นตัวเต็มวัย
 ระยะตัวเต็มวัย
  ระยะตัวเต็มวัยมีอวัยวะครบทุกส่วนเห็นได้ชัดเจน แบ่งเป็น 3 ส่วนคือ
   1. ส่วนหัว ประกอบด้วยส่วนที่สาคัญ คือ
    - ตารวม 1 คู่
    - หนวด 1 คู่
    - ส่วนของปาก
    ส่วนหัวจะเชื่อมต่อกับส่วนอกด้วยเนื้อเยื่อบาง ๆ เคลื่อนไหวได้รอบทิศ โดยมี
หนวดเป็นอวัยวะที่สาคัญสาหรับสัมผัสและรับกลิ่น
   2. ส่วนอก ประกอบด้วยอวัยวะสาคัญ คือ
    - ปีก 2 คู่
    - ขา 3 คู่
   3. ส่วนท้อง จะเป็นส่วนประกอบที่สาคัญของอวัยวะสืบพันธุ์
12

การทาเสียงจิ้งหรีด

 การทาเสียงของจิ้งหรีด             ทาได้เฉพาะจิ้งหรีดเพศผู้ โดยการใช้ปีกคู่หน้าถูหรือสีกัน ปกติ
จิ้งหรีดปีกจะซ้อนกันเหนือลาตัว ในเพศผู้ปีกคู่หน้าปีกขวาจะทับปีกซ้าย เพศเมียปีกซ้ายทับปีกขวา
การทาเสียง โดยยกปีกคู่หน้าขึ้น ใช้ขอบของโคนปีกซ้ายถูหรือสีกับฟันซี่เล็ก ๆ ที่เรียงกันเป็นแถวที่
โคนด้านในของปีกขวา มีจังหวะเสียงจากการโยกตัว ลักษณะเสียงจะบ่งบอกถึงพฤติกรรมในการ
สื่อสารขณะนั้น เช่น
              1. เสียง กริก...กริก...กริก... นาน ๆ แสดงว่าอยู่โดดเดี่ยวหรือต้องการหาคู่
              2. เสียง กริก...กริก...กริก... มีลากเสียงยาว แสดงว่าเป็นการบ่งบอกถึงอาณาเขตที่อยู่
อาศัย
              3. เสียง กริก...กริก...กริก... เบา ๆ และถี่ ๆ ติดต่อกัน แสดงว่าต้องการผสมพันธุ์
พฤติกรรมนี้เพศผู้จะทาเสียง กริก...กริก...ๆ โดยการถอยหลังเข้าหาเพศเมีย ถ้าเพศเมียเต็มใจ เพศเมีย
ก็จะขึ้นคร่อมเพศผู้ เพื่อทาการผสมพันธุ์
              4. เสียง กริก...กริก...กริก... ยาวดัง ๆ 2 - 3 ครั้ง แสดงว่าโกรธหรือส่งเสียงระหว่างกัด
กัน ระหว่างเพศผู้กับเพศผู้เพื่อแย่งความเป็นเจ้าของ หรือระหว่างเพศผู้กับเพศเมียก็ได้ เมื่อเพศเมียไม่
ยอมเป็นใจขึ้นคร่อมผสมพันธุ์

อาหารที่ใช้เลี้ยงจิ้งหรีด

อาหารยาบ ได้แก่ หญ้า ถั่ว พืชผักอื่น ๆ เช่น ผักบุ้ง มันสาปะหลัง ฟักทอง ตะไคร้
อาหารละเอียด ได้แก่ ราอ่อน หัวอาหาร อาหารไก่ไข่
อาหารเหลว ได้แก่ น้าผึ้ง น้าอ้อย น้าธรรมดา
13

                                           บทที่ 3
                                    การเพาะพันธุ์จิ้งหรีด

การเตรียมสถานที่

        การเลือกที่ตั้งโรงเรือน
           1. บริเวณก่อสร้างโรงเรือนควรเป็นที่ดอน น้าไม่ท่วมขัง
           2. บริเวณที่จะเลี้ยงควรมีพื้นที่กว้างพอสมควร
           3. บริเวณที่จะเลี้ยงต้องปูองกันฝนและแสงแดดจัดได้ โดยมีแสงแดดส่องผ่านประมาณ
30-40% ในช่วงเช้าและสาย มีอากาศถ่ายเทสะดวก
           4. พื้นที่จะใช้เลี้ยงไม่ควรเป็นสถานที่มีโรคและการระบาดของแมลงศัตรูพวกมด ไร
           5. พื้นที่ควรมีแหล่งอาหารธรรมชาติ หาได้ง่าย เช่น หญ้าจากธรรมชาติ ผักตบชวา
เป็นต้น

แบบโรงเรือน

           โรงเรือน สามารถเลี้ยงได้ในสภาพทั่วไปที่มีอยู่ หรืออาจจะจัดทาโรงเรือนไว้เลี้ยงโดย
เฉพาะที่ก็ได้ ถ้ามีทุนดาเนินการเพียงพอ หรือจะเลี้ยงใต้ชายคาบ้าน ใต้ถุนบ้านก็ได้ แล้วแต่ความ
เหมาะสม แต่ต้องมีการปูองกันการถูกฝนสาดถึง และปูองกันแดดจัดได้
14

อุปกรณ์ในการเลี้ยงจิ้งหรีด

           1. บ่อจิ้งหรีด
              วัสดุที่จะนามาเป็นสถานที่เพาะเลี้ยง มีอยู่มากมายหลายชนิด เช่น ถัง กะละมัง ปี๊บ เป็น
ต้น แต่ถ้าใช้วงปูน จะคงทนและสามารถใช้เลี้ยงจิ้งหรีดได้ตลอดไปและมีราคาไม่สูงนัก ง่ายต่อการ
เลี้ยงและปูองกันศัตรู วงปูนมีหลายขนาด แต่ขนาดที่เหมาะสมในการเลี้ยงและการจัดการควรเป็นวง
ขนาด 80 x 50 ซม. ซึ่งสามารถปล่อยแม่พันธุ์ 3 ตัว ต่อพ่อพันธุ์ 1 ตัว




          2. แผ่นพลาสติกและเทปกาว
            แผ่นพลาสติกและเทปกาวจะใช้ติดรอบวงในด้านบนเพื่อปูองกันจิ้งหรีดไม่ให้ออกนอกวง
จะใช้พลาสติกตัดกว้างประมาณ 2-3 นิ้ว ให้ยาวเท่าเส้นรอบวง ในการใช้กระดาษกาวติดทับพลาสติก
วงปูน (ติดพลาสติกครึ่งหนึ่ง ติดขอบบ่อครึ่งหนึ่ง)
          3. ยางรัดปากวง
              ยางในรถจักรยานหรือรถจักยานยนต์ ตัดให้มีขนาดกว้างน้อยกว่าขอบวงด้านนอก ตัด
อย่าให้มีความกว้างของยางมาก เพื่อความสะดวกเมื่อเวลายืดรัดตาข่ายกับขอบวง
          4. กาบมะพร้าว / กระบอกไม้ไผ่ / กระดาษรังไข่อย่างใดอย่างหนึ่ง เป็นวัสดุเพื่อใช้วางใน
วงท่อปูนสาหรับเป็นที่หลบซ่อนของจิ้งหรีด จะใช้กาบมะพร้าวแห้งประมาณ 2-4 ชิ้น
          5. เศษหญ้าแห้ง
              เศษหญ้าแห้งเป็นวัสดุที่ใช้วางทับกาบมะพร้าว ใช้ทับหนาประมาณ 2 ซม. เพื่อปูองกัน
แสงสว่างและ ให้ความอบอุ่นแก่จิ้งหรีด
          6. ถาดน้าและถาดอาหาร
            ถาดน้าและถาดอาหาร ควรเป็นถาดที่ไม่ลึกมาก เพื่อให้จิ้งหรีดได้ขึ้นกินอาหารและน้าได้
สะดวก 1 วง จะมีถาดอาหารและน้าอย่างละ 2 ที่
15

          7. พลาสติกไนล่อนสีเขียว
            เป็นตาข่ายสาหรับปิดปากวงบ่อปูน เพื่อปูองกันการบินหนีของจิ้งหรีดตัวเต็มวัยและ
ปูองกันศัตรูเข้าทาลายจิ้งหรีด ตัดให้มีความกว้างกว่าปากวงบ่อปูนรอบนอกเล็กน้อย เช่น วงขนาด 80
ซม. จะติดตาข่ายไนล่อนสีเขียวขนาด 100 x 100 ซม.
 8. ถุงพลาสติกขนาด 12                x 20 ใส่ดินร่วนปนทรายหนา 2 ซม. สาหรับให้จิ้งหรีดวางไข่

การเตรียมพ่อพันธุ์ แม่พันธุ์

 เลือกขนาดตัวโตและมีความแข็งแรงที่เลี้ยงมาแล้วประมาณ 1 ปี โดยเลือกตัวเมีย 20 ตัว
และตัวผู้ 10 ตัว นามาขุนเลี้ยงในบ่อบารุงทั้งพ่อพันธุ์ แม่พันธุ์ให้ผสมกันจนตัวเมียทั้งตั้งท้องและ
ท้องแก่ จึงคัดตัวเมียท้องแก่พร้อมวางไข่ลงในบ่อที่มีภาชนะปรุงแต่งด้วยดินดาเกษตรที่ชื้นร่วนซุย
หรือแกลบเผาที่เตรียมไว้แล้วเป็นที่วางไข่ใส่หน้าแห้งเป็นที่หลบซ่อนตัวอาหารที่ให้เป็นหญ้าสด อาหาร
ไก่ไข่และน้า ฉีดพ่นน้าเพื่อให้ความชื้น

การจัดการและวิธีการเลี้ยงจิ้งหรีด

 การเลี้ยงจิ้งหรีดวัยอ่อน
   หลังจากให้พ่อแม่พันธุ์ผสม และวางไข่ในภาชนะแล้ว ตัวเมียจะวางไข่ประมาณ 3                             –4
รุ่น เลี้ยงได้ในภาชนะประมาณ 14 วัน เพื่อรอให้ไข่รุ่นที่ 2 และ 3 ฟักเป็นตัว แล้วจึงย้ายลงบ่อเลี้ยงให้
อาหารละเอียด เช่น ราอ่อน หัวอาหารไก่ไข่บดใช้การฉีดพ่อน้าแทนการพรมน้า
 การเลี้ยงจิ้งหรีดหลังวัยอ่อน ถึงระยะเก็บออกจาหน่าย
   ย้ายจิ้งหรีดอ่อนลงเลี้ยงในบ่อ ลูกจิ้งหรีดจะกระโดดเข้าไปในบ่อเทดินที่เหลือใส่ภาชนะ
วางไว้ในบ่อ เพื่อให้ไข่ที่เหลือฟักเป็นตัวในบ่อ เมื่อตัวอ่อนจิ้งหรีด เริ่มมีติ่งปีก เรียกว่าระยะใส่เสื้อกั๊ก
ซึ่งจะมี 2 ระยะ คือ เสื้อกั๊กเล็ก (มีปีกติ่งสั้น) และเสื้อกั๊กใหญ่ (มีติ่งปีกยาว) จากระยะเสื้อกั๊กใหญ่จะ
ลอกคราบเป็นตัวเต็มวัย รวมระยะเวลาที่เลี้ยงในบ่อประมาณ 1 – 2 เดือน ก็จะเป็นตัวเต็มวัย
             ระยะที่เก็บออกจาหน่าย
                ระยะที่เก็บออกจาหน่ายได้เป็นระยะเสื้อกั๊กใหญ่และตัวเต็มวัย การรอดชีวิตจากตัวอ่อน
ถึงตัวเต็มวัยประมาณ 90 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งจิ้งหรีดชอบเข้าไปหลบซ่อนตัวอยู่ภายในถาดไข่ลูกฟูก การ
เก็บก็จะยกถาดไข่เคาะใส่ถุงตาข่ายสีฟูา
16

การดูแลรักษา ป้องกันโรคและศัตรูของจิ้งหรีด

 การดูแลรักษา
  สิ่งที่ต้องให้ความสาคัญกับอาชีพการเลี้ยงจิ้งหรีด คือ ความสะอาด และการจัดการอย่าง
เป็นระบบ จึงจะประสบความสาเร็จ สามารถทาได้ดังนี้
                   1. สถานที ควรเป็นที่ดอน น้าไม่ท่วมขัง และบริเวณที่เลี้ยงต้องไม่ตากแดด
   2. การวางคอนโด เลี้ยง ควรวางเป็นระเบียบมีความห่างพอเหมาะแก่การดูแล
คอนโดควรตั้งขายกสูงประมาณครึ่งเมตร มีถาดน้ารองพื้น หรือทาน้ามันที่ขาคอนโดเพื่อปูองกันมด
   3. วัสดุที่วางในคอนโดเลี้ยง
     3.1                  ภายในบ่อใส่ถุงดินหรือกระบะดินร่วนปนทราย หรือดินทรายที่มีความชื้น
พอประมาณ น้าหนักดินประมาณ 1 - 2 ก.ก. วางไว้ข้าง ๆ ขอบบ่อภายในสาหรับให้จิ้งหรีดวางไข่
                      3.2 ใส่หญ้าแห้ง 1 กามือ ไว้ตรงกลางบ่อ เพื่อเป็นที่หลบซ่อนหรือเป็นที่อยู่อาศัย
ของตัวจิ้งหรีด
                      3.3 ใส่หญ้าสดอ่อน 1 กามือข้างหญ้าแห้ง สาหรับเป็นอาหารของจิ้งหรีด
(อาหารหลัก)




                    3.4 ใส่ถาดอาหารแบน ๆ (อาหารเสริม) เช่น ราอ่อน ปลายข้าว อาหารไก่
อาหารปลา 1 อัน
                      3.5 วางถาดน้าแบน ๆ ภายในถาดน้าให้ใช้ก้อนหินหรือก้อนอิฐแดงทุบเป็นชิ้น
เล็ก ๆ ให้เกือบเต็มแล้วเติมน้าลงให้เต็ม วางไว้ใกล้ ๆ กับถาดอาหาร 1 อัน
                 4. การถ่ายมูลจิ้งหรีด เอาถาดที่รองรับมูลใต้ถาดไข่ลูกฟูกเทมูลทิ้งและทาความ
สะอาดสัปดาห์ละครั้ง
   5. เปลี่ยนดินที่ใส่ในจานให้จิ้งหรีดวางไข่หลังจากเก็บจิ้งหรีดออกจาหน่าย
17

  6. การตากคอนโดเลี้ยง ควรตากปีละครั้ง ประมาณเดือนมีนาคม                        – เมษายน ก่อน
จะเลียงรุ่นใหม่ต่อไป

การป้องกันโรคและศัตรู

            โรคและศัตรูของจิ้งหรีด
                จิ้งหรีดเป็นแมลงที่ไม่ค่อยมีโรคและศัตรูรบกวนมากนัก โรคที่พบจะเป็นโรคระบบ
ทางเดินอาหาร สาหรับศัตรูส่วนใหญ่จะเป็นพวกมด แมงมุม และไร เป็นต้น โรคและศัตรูที่พบควร
ปูองกันไว้ก่อนดีกว่าจะมาจากัด ซึ่งเป็นอันตรายต่อจิ้งหรีด และผู้บริโภค
            วิธีการป้องกันศัตรูจิ้งหรีด
                จิ้งหรีดจะกินพืชเป็นอาหารหลัก ศัตรูจะติดมากับพืชอาหาร เช่น ไร แมงมุม ก่อนนามา
ให้จิ้งหรีดกินต้องนามาล้างน้า แล้วผึ่งให้สะเด็ดน้าก่อนเพื่อล้างเอาศัตรูออกสาหรับมดก่อนนาจิ้งหรีด
มาปล่อยลงวงบ่อปูนจะต้องปูองกันด้วยการโรยยากาจัดมด รอบวงบ่อปูน หรือจะใช้ผ้าชุบ
น้ามันเครื่องแล้วนามาพันรอบวงปูนด้านล่าง
            วิธีป้องกันโรคทางเดินอาหาร
                การเกิดโรคทางเดินอาหารของจิ้งหรีด เกิดจากจิ้งหรีดได้รับอาหารที่ไม่สะอาดเกิดเชื้อรา
วิธีปูองกันคือ ต้องให้อาหารที่มีจานวนพอเหมาะกับจานวนของจิ้งหรีด หมั่นทาความสะอาดอย่าให้
อาหาร เกิดเชื้อรา อาหารเสริมควร เปลี่ยนทุกครั้งเมื่อให้อาหาร เมื่อเก็บผลผลิตจนหมดแล้ว ควรทา
ความสะอาดวงบ่อให้สะอาด ก่อนนาจิ้งหรีดรุ่นใหม่มาเลี้ยงต่อไป

เทคนิคการเพาะเลี้ยงพ่อพันธุ์ แม่พันธุ์จิ้งหรีด

             จิ้งหรีดสามารถเพาะเลี้ยงพ่อแม่พันธุ์ไว้ในกล่องพลาสติก แก้วใส หรือภาชนะทุกชนิดที่
ปูองกันจิ้งหรีดออกได้ ซึ่งต้องมีดินร่วนปนทรายน้าหนัก 5 กิโลกรัมต่อกล่อง กว้างประมาณ 50
เซนติเมตร ยาว 80 เซนติเมตร สูง 35 เซนติเมตร ด้านบนปิดด้วยมุ้งเขียวระบายอากาศ โดยอบดิน
ก่อนเพื่อฆ่าเชื้อที่อุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส 5 ชั่วโมง หรือตากแดดไว้ 5 วัน นาพ่อแม่พันธุ์
อายุ 2 เดือน ในอัตราส่วนเพศผู้ 1 ตัวต่อเพศเมีย 3 ตัวต่อกล่อง โดยให้อาหาร (อาหารไก่เล็ก
สาเร็จรูปโปรตีนประมาณ 20 %) 1 กรัม และหญ้าสด ซึ่งจะต้องเปลี่ยนทุก 3 วัน
 เมื่อจิ้งหรีดลอกคราบเข้าสู่ตัวเต็มวัย (อายุ           2 เดือน) พร้อมผสมพันธุ์ เพศผู้จะส่งเสียง
เรียกร้องเพศเมีย โดยยกปีกคู่หน้าขึ้นโดยใช้ขอบของโคนปีกด้านซ้ายถูหรือสีกับฟันซี่เล็ก ๆ ที่เรียงกัน
18

เป็นแถวที่โคนด้านในของปีกขวา ซึ่งจะทาเสียงไปพร้อมกับโยกตัว เพศเมียจะกระโดดขึ้นคร่อมบนตัว
ของเพศผู้และทาการผสมพันธุ์บางครั้งหากเพศผู้เรียกแล้วเพศเมียไม่สนใจ ตัวผู้ก็จะไล่กัด
 หลังจากผสมพันธุ์               10 วัน นาพ่อแม่พันธุ์ออกจากล่อง ซึ่งจะวางไข่เรียบร้อยแล้ว สังเกตได้
จากบริเวณผิวดินเป็นรู หรือรอยหลุมเล็ก ๆ คล้ายเข็มแทง ประมาณ 500 - 600 ฟองต่อตัว หรือ 400
- 1,000 ฟองต่อพ่อแม่พันธุ์ 1 ชุด ลักษณะไข่ยาวเรียวประมาณ 2 มิลลิเมตร คล้ายเมล็ดข้าวสาร
หลังจากวางไข่ 3 - 5 วัน เริ่มฟักเป็นตัวซึ่งมีขนาดเล็กมาก ลักษณะปีกจะคล้ายกับใส่เสื้อกั๊ก จะต้องงด
อาหารและต้องให้น้าฉีดฝอย 2 เวลา เช้า - เย็น พร้อมกับหญ้าสดเล็กน้อย ซึ่งจิ้งหรีดจะลอกคราบ 5
ระยะ ช่วงลอกคราบอ่อนแอมาก และจะกินกันเอง แก้ไขโดยใส่หญ้าแห้งเพื่อเป็นที่หลบภัย
มี 2 แบบได้แก่หญ้าแห้งที่ตากแดดเพื่อปูองกันเชื้อรา และหญ้าสดเป็นอาหาร
 เมื่อจิ้งหรีดฟัก           1 - 7 วัน จะเริ่มให้อาหารข้น ซึ่งเป็นหัวอาหารไก่เล็กสาเร็จรูป 2 กรัมต่อ
กล่องทุก 3 วัน พร้อมกับหญ้าสดทุก 7 วัน ขณะให้น้าโดยใช้หัวฉีดพ่นตามหญ้าสด จะต้องนาภาชนะ
ใส่อาหารออกก่อน เพราะอาจทาให้ชื้นและเกิดเชื้อราได้
 อายุ             8 - 15 วัน ทาการเปลี่ยนหญ้าสดและให้น้าทุก 3 วัน พยายามไม่ให้ชื้นเกินไป เพราะ
อาจจะเป็นแหล่งของตัวไรและเชื้อรา สร้างความราคาญ มีผลกระทบกับการเจริญเติบโต โดยให้
อาหาร 4 กรัมต่อกล่องทุก 3 วัน และเมื่ออายุครบ 16 - 30 วัน ให้อาหารเพิ่มเป็น 8 กรัม
 อายุ             30 วันขึ้นไป นาจิ้งหรีด ทั้ง 3 กล่องรวมกัน ย้ายลงขุนในกรงตาข่ายกว้าง 1.20 เมตร
ยาว 1.20 เมตร สูง 1.40 เมตร แบ่งเป็น 4 ช่อง ในโรงเรือนอุณหภูมิปกติ อากาศถ่ายเทสะดวก
เพราะจิ้งหรีดเป็นสัตว์เลือดเย็นหากเลี้ยงในอุณหภูมิต่า อาจกระทบต่อการดารงชีวิต กินอาหารลดลง
มีผลต่อการเติบโต
 การเลี้ยงในกรงตาข่ายไม่ต้องใส่ดิน               จะให้หญ้าสดและหัวอาหารไก่ 10 กรัมต่อกรงต่อวัน
พร้อมด้วยหญ้าแห้งเพื่อให้เป็นที่อยู่อาศัยและหลบภัยขณะเดียวกันจะต้องให้น้าทุก 3 วัน จนได้ขนาด
หรืออายุพร้อมแปรรูปต้องงดอาหาร 3 วัน โดยให้เพียงหญ้าสด เพื่อลดกลิ่นสารอาหารในตัวจิ้งหรีด
เพราะอาจจะมีผลกระทบต่อผู้บริโภค
 เทคนิคการเลี้ยงให้ได้ผลดี             จะต้องเน้นอาหารและการจัดการความสะอาด อาหารมีเพียงพอ
กับความต้องการตลอดวัน และเปลี่ยนตามโปรแกรมกาหนด ทั้งหญ้าสดและหัวอาหารไก่ ขั้นตอน
ต่อไปจะศึกษาการเปลี่ยนแปลงชนิดหญ้าสดเป็นอาหาร มีผลต่อการเจริญเติบโตอย่างไร เนื่องจาก
หญ้าสดแต่ละชนิดโปรตีนต่างกัน ปัจจุบันใช้หญ้าขนอย่างเดียว
 เมื่อลอกคราบระยะที่               5 หรือตัวเต็มวัยอายุ 2 เดือน ปีกยาวคลุมถึงแพนหาง อีกประมาณ
15 - 20 วัน จิ้งหรีดจะเริ่มตาย ซึ่งเป็นวงจรชีวิตตามธรรมชาติ เพราะฉะนั้นผลผลิตบางส่วนจะต้องรีบ
คัดไว้เป็นพ่อแม่พันธุ์ ก่อนถึงอายุขัยจะต้องผสมพันธุ์วางไข่ให้เร็วที่สุด
19

 ปัญหาที่พบประจาในการเลี้ยงจิ้งหรีด              หากการจัดการไม่ดี เช่น พื้นที่เลี้ยงมีความชื้นสูง มี
สาเหตุมาจากให้น้ามาก จะทาให้เกิดไรและเชื้อรา จะต้องนาดินทิ้งให้หมด และช่วงระยะลอกคราบ
หากจัดการด้านวัสดุหลบซ่อนไม่ดี จิ้งหรีดตัวที่อ่อนแอก็จะถูกจิ้งหรีดตัวอื่น ๆ จับกิน สร้างความ
เสียหายให้กับการเลี้ยงมาก ตลอดจนการเลี้ยงในบ่อกลม (บ่อปูน) ต้องใช้พลาสติกหุ้มขอบด้านในเพื่อ
ปูองกันจิ้งหรีดออกให้ดีด้วย ต่างกับการเลี้ยงในกรงตาข่าย จะสะดวกในการปฏิบัติงาน ทาความ
สะอาดง่าย ต้นทุนวัสดุอุปกรณ์พร้อมแรงงานต่าประมาณ 3,000 บาท ปูองกันศัตรูสาคัญได้ดี เช่น หนู
จิ้งเหลน มด และ การเลี้ยงในกล่องพลาสติก ช่วยลดปัญหาการขนย้าย ใช้พื้นที่น้อย เหมาะสาหรับ
การเลี้ยงที่มีพื้นที่จากัดหากเลี้ยงในบ่อกลมจะตั้งซ้อนกันไม่ได้ ทาให้ต้องใช้พื้นที่มาก
20

                                                   บทที่ 4
                                 ประโยชน์ของจิ้งหรีดและการเลี้ยงจิ้งหรีด

               ประโยชน์ของจิ้งหรีด และประโยชน์ของการเลี้ยงจิ้งหรีด แบ่งออกเป็น 3 ด้าน คือ ด้าน
             โภชนาการ ด้านเศรษฐกิจ และด้านอื่น ๆ ทั่วไป ดังนี้
             ด้านโภชนาการ
                     พลังงาน โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต เหล็ก แคลเซียม ฟอสฟอรัส โปแตสเซียม
      ชื่อแมลง
                      (Kcal)       (g)     (g)         (g)          (mg)       (mg)         (mg)  (mg)
1. ตั๊กแตนใหญ่
                       95.7       14.3    3.3          2.2           3.0       27.5        150.2  217.4
Grass hoppers
2. ตั๊กแตนเล็ก
                      152.9 20.6          6.1          3.9           5.0       35..2       238.4  237.4
Locust small
3. แมลงตับเต่า
True Water            149.1 211.0 7.1                  0.3           6.4       36.7        204.8  197.9
beetle
4. กระชอน
                      125.1 15.4          6.3          1.7          41.7       75.7        254.1  267.8
Mole Cricket
5. จิ้งหรีด
                      121.5 12.9          5.5          5.1           9.5       75.8        185.3  305.5
Cricket
6. ไข่มดแดง
                       82.8       7..0    3.2          6.5           4.1        8.4        113.4  96.3
Red Ant eggs
7. ดักแด้ไหม
Silk worm              98.0        9.6    5.6         2..3           1.8       41.7        155.4  138.7
pupae
8. แมลงดานา
Giant water           162.3 19.8          8.3          5.5          13.6       43.5          22.5 191.7
bug

          ที่มา : นิภา เบญจพงศ์ และอุรุญากร จันทร์แสง 2540 แมลงก็เป็นอาหารได้ เลือกกินอย่างไรจึงจะ
          ปลอดภัย วารสารอาหารสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
21

ด้านเศรษฐกิจ

 1. เป็นอาชีพเสริม มีรายได้ที่ดี
 2. ทาเป็นธุรกิจระดับอุตสาหกรรมโดยการแปรรูป เช่น จิ้งหรีดกระป๋อง น้าพริกจิ้งหรีด
จิ้งหรีดทอด เป็นต้น
 3. ชุมชนมีรายได้จากการจาหน่ายจิ้งหรีดเพื่อนาไปสู่การพึ่งพาตนเองแบบยั่งยืน

ด้านอื่น ๆ

1. การเรียนการสอนเพื่อทักษะการเรียนรู้
2. เพื่อฝึกความรับผิดชอบ
3. เพื่อนันทนาการ สนุกสนาน เพลิดเพลิน
4. ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
5. ช่วยให้จิตใจอ่อนโยนรักสัตว์
6. มีความคิดริเริ่ม รู้จักการแก้ปัญหา
7. ฝึกให้เป็นคนช่างสังเกตดูการเจริญเติบโตของจิ้งหรีด การทาเสียง การลอกคราบ
8. สามารถนาเสนอผลงานให้ผู้อื่นฟัง โดยการใช้ภาพวาดลายเส้น หรือสื่ออื่น ๆ
9. เป็นพื้นฐานในการเลี้ยงแมลงชนิดอื่น ๆ
10. สามารถนาวัชพืชมาใช้เป็นประโยชน์
11. ฝึกการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง
12. การใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้านเป็นการนาไปสู่ การพึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืน
13. เป็นแนวทางในการประกอบอาชีพ

การสร้างรายได้และการนาไปประกอบอาชีพ

 การเลี้ยงจิ้งหรีดเพื่อขายสามารถสร้างรายได้ให้กับผู้เลี้ยงได้มากโดยอาจขายเป็นพ่อพันธุ์
แม่พันธุ์ ขายจิ้งหรีดสด หรือเป็นผลิตภัณฑ์แปรรูปต่าง ๆ
 ตลาดของจิ้งหรีดที่ซื้อ ขายกันส่วนใหญ่ มีตั้งแต่ซื้อ ขายกันเองในหมู่บ้าน ตลาดท้องถิ่น
ตลาดสดประจาตาบล อาเภอ จังหวัด ราคามีรายละเอียดโดยประมาณ ดังนี้
  1. ขายเป็นพ่อแม่พันธุ์ ชุดละ 10               – 20 บาท แต่ละชุดมีตัวผู้ 1 ตัว และตัวเมีย 2 ตัว
สาหรับไปเลี้ยงได้ 1 คอนโด
22

  2. ขายจิ้งหรีดสด ระยะตัวอ่อนซึ่งเป็นวัยสุดท้าย (กั๊กใหญ่) หรือตัวเต็มวัย ราคาร้อยละ
30 – 50 บาท โดยผู้ซื้อจะนาไปประกอบอาหาร สาหรับการขายเป็นกิโลกรัม ราคารับซื้อจิ้งหรีดสด
กิโลกรัมละ 150 – 200 บาท
  3. ขายไข่จิ้งหรีด ใน 1 คอนโด จิ้งหรีดจะวางไข่ใส่ในถาดที่เตรียมไว้ ประมาณ 10 ถาด
ราคาถาดละ 50 บาท
  4. คั่วหรือทอดขาย ราคาประมาณกิโลกรัมละ 300 บาท
  5. แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ ราคาแล้วแต่ชนิดของผลิตภัณฑ์




                                    จิ้งหรีดคั่วสมุนไพร




                                      น้าพริกจิ้งหรีด
23

                                              บทที่ 5
                                 ภูมิปัญญาในการเลี้ยงจิ้งหรีด

 ภูมิปัญญาท้องถิ่นในเรื่องการเลี้ยงจิ้งหรีด ในพื้นที่ตาบลผักไหม จังหวัดสุรินทร์ มีเทคนิคใน
การเลี้ยงจิ้งหรีดที่สาคัญ ดังนี้

                1. การเลี้ยงจิ้งหรีดในกล่องพลาสติกลูกฟูก
   1.1 อุปกรณ์
                       1. การเตรียมพื้นที่ ซึ่งพื้นที่ที่เหมาะจะต้องมีหลังคามุง ปูองกันแดดและฝนได้ดี
หรือใช้พื้นที่ใต้ถุนบ้าน ไม่จาเป็น ต้องเทพื้นซีเมนต์ แต่ต้องระวังมดให้ดี
                       2. อุปกรณ์ในการเลี้ยงจิ้งหรีดกล่องพลาสติกลูกฟูก (ต่อหนึ่งรัง)
                          2.1 พลาสติกลูกฟูก (ฟิวเจอร์บอร์ด) แผ่นใหญ่
                          2.2 ตาข่ายไนล่อน 100 x 100 ซม. จานวน 1 ผืน
                          2.3 ถาดอาหาร-น้า กว้าง x ยาว = 5 x 10 ซ.ม. ลึก 1 ซ.ม. หรือ
กะลามะพร้าวใส่ก้อนหิน
                          2.4 กระดาษรังไข่ จานวน 8 แผง
                          2.5 ถาดใส่ดินร่วนปนทรายหนา 2 ซ.ม.
                          2.6 หัวอาหารอาหารไก่
                          2.7 ไม้หนีบผ้า
                          2.8 เทปกาวใส
                          2.9 ชอล์กฆ่ามด
                          2.10 เชือกฟาง
                          2.11 เข็ม
                          2.12 ลวด
                       1.2 ขั้นตอนการเลี้ยงจิ้งหรีด
                          1. พลาสติกลูกฟูก (ฟิวเจอร์บอร์ด) แผ่นใหญ่มาตัดด้านข้างทั้ง 2 ด้าน ยาว
ด้านละ 30 เซนติเมตร พับขึ้นทั้ง 2 ด้านให้เป็นกล่อง
                          2. ในกล่องพลาสติกมีกระดาษลังไข่ ประมาณ 8 ลัง เพื่อใช้เป็นที่อยู่อาศัย
ของจิ้งหรีด มีถาดอาหาร-น้า มีถาดใส่ดินร่วนปนทราย เพื่อเป็นที่สาหรับฟักไข่
24

                        3. นาถาดไข่จิ้งหรีดที่เพาะพันธ์ไว้แล้วมาวางไว้ในกล่องพลาสติกลูกฟูก (ฟิว
เจอร์บอร์ด) แผ่นใหญ่ และจะฟักออกจากไข่กลายเป็นตัวอ่อน ประมาณ 35-40 วัน และเป็นตัวเต็ม
วัยประมาณ 45-60 วัน
                        4. การให้น้าควรเปลี่ยนน้าทุก 2 วัน
                        5. คลุมด้วยตาข่ายไนล่อนเพื่อปูองกันการบินและปูองกันศตรูเข้าทาลาย
                    1.3 วิธีการจัดการกล่องพลาสติกลูกฟูก (ฟิวเจอร์บอร์ด) มีดังนี้
                        1. เมื่อวางกล่องพลาสติกลูกฟูกและหาที่วางเลี้ยงได้อย่างเหมาะสมแล้ว ควร
ทาความสะอาดให้เรียบร้อยและให้มิดชิด เพื่อปูองกันมดที่เป็นศัตรูสาคัญเข้าทางด้านล่างและ
ด้านข้างของกล่อง
                        2. ภายในกล่องพลาสติกลูกฟูกใส่ถุงดินหรือกะบะดินร่วนปนทราย หรือดิน
ทรายที่มีความชื้นพอประมาณ น้าหนักดินประมาณ 1 - 2 ก.ก. วางไว้ข้าง ๆ ภายในกล่องสาหรับให้
จิ้งหรีดวางไข่
                        3. ใส่หญ้าแห้ง 1 กามือ หรือกะลามะพร้าว หรือเข่งปลาทูไว้ตรงกลางกล่อง
เพื่อเป็นที่หลบซ่อนหรือเป็นที่อยู่อาศัยของตัวจิ้งหรีด
                        4. ใส่หญ้าสดอ่อน 1 กามือข้างหญ้าแห้ง สาหรับเป็นอาหารของจิ้งหรีด
(อาหารหลัก)
                        5. ใส่ถาดอาหารแบน ๆ (อาหารเสริม) เช่น ราอ่อน ปลายข้าว อาหารไก่
อาหารปลา 1 อัน
                        6. วางถาดน้าแบน ๆ ภายในถาดน้าให้ใช้ก้อนหินหรือก้อนอิฐแดงทุบเป็นชิ้น
เล็ก ๆ ให้เกือบเต็มแล้วเติมน้าลงให้เต็ม วางไว้ใกล้ ๆ กับถาดอาหาร 1 อัน

                2. การคัดเลือกพ่อพันธุ์ แม่พันธุ์
    คัดเลือกพ่อพันธุ์ แม่พันธุ์ ที่มีตัวโต แข็งแรง มีอวัยวะครบทุกส่วน มีสีเข้ม สาหรับ
จิ้งหรีดพันธุ์เล็กควรเป็นสีน้าตาลอมเหลือง ปล่อยพ่อพันธุ์ แม่พันธุ์จิ้งหรีดใส่ในคอนโดในอัตรา 1 : 3
(พ่อพันธุ์ 1 ตัว : แม่พันธุ์ 3 ตัว) โดยเลือกผสมพันธ์ข้ามคอนโด หลังปล่อยพ่อพันธุ์ แม่พันธุ์แล้ว 3 ตัว
ควรตรวจเช็คดุ ถ้าตายต้องหามาทดแทน

  3. การผสมพันธุ์และการวางไข่
                เตรียมภาชนะวางไข่ของจิ้งหรีดโดยใช้ขี้เถ้าแกลบเผาผสมดินร่วนฉีดน้าให้ชุ่ม
พอประมาณ ใส่ในถาดแบน ๆ วางในคอนโด คอนโดละ 3 ถาด ฉีดสเปรย์พ่นน้า เพื่อให้จิ้งหรีดเข้าใจ
ว่าเป็นฤดูฝน หลังจากนั้นจิ้งหรีดตัวเมีย จะวางไข่ เพราะจิ้งหรีดจะไข่ในฤดูฝนเท่านั้น ซึ่งจะใช้
25

ระยะเวลาวางไข่ 2 – 3 วัน ตัวเมีย 1 ตัว จะวางไข่ได้ 1,000 ฟอง และการผสมพันธุ์ที่ทาให้จิ้งหรีดได้
พันธุ์ใหม่ที่แข็งแรง โตเร็ว ใช้วิธีการง่าย ๆ คือ การนาจิ้งหรีดผสมข้ามคอนโด เพราะถ้าผสมในคอนโด
เดียวกันจะทาให้ได้สายพันธุ์ใกล้กัน ลูกจิ้งหรีดที่ออกมาจะตายเป็นส่วนใหญ่

              4. การสังเกตพฤติกรรมของจิ้งหรีดโดยการฟังลักษณะของเสียง
                 การทาเสียงของจิ้งหรีด ทาได้เฉพาะจิ้งหรีดเพศผู้ โดยการใช้ปีกคู่หน้าถูหรือสีกัน
ปกติจิ้งหรีดปีกจะซ้อนกันเหนือลาตัว ในเพศผู้ปีกคู่หน้าปีกขวาจะทับปีกซ้าย เพศเมียปีกซ้ายทับปีก
ขวา การทาเสียง โดยยกปีกคู่หน้าขึ้น ใช้ขอบของโคนปีกซ้ายถูหรือสีกับฟันซี่เล็ก ๆ ที่เรียงกันเป็นแถว
ที่โคนด้านในของปีกขวา มีจังหวะเสียงจากการโยกตัว ลักษณะเสียงจะบ่งบอกถึงพฤติกรรมในการ
สื่อสารขณะนั้น เช่น
                    1. เสียง กริก...กริก...กริก... นาน ๆ แสดงว่าอยู่โดดเดี่ยวหรือต้องการหาคู่
                    2. เสียง กริก...กริก...กริก... มีลากเสียงยาว แสดงว่าเป็นการบ่งบอกถึงอาณา
เขตที่อยู่อาศัย
                    3. เสียง กริก...กริก...กริก... เบา ๆ และถี่ ๆ ติดต่อกัน แสดงว่าต้องการผสมพันธุ์
พฤติกรรมนี้เพศผู้จะทาเสียง กริก...กริก... ๆ โดยการถอยหลังเข้าหาเพศเมีย ถ้าเพศเมียเต็มใจ เพศ
เมียก็จะขึ้นคร่อมเพศผู้ เพื่อทาการผสมพันธุ์
                    4. เสียง กริก...กริก...กริก... ยาวดัง ๆ 2 - 3 ครั้ง แสดงว่าโกรธหรือส่งเสียง
ระหว่างกัดกัน ระหว่างเพศผู้กับเพศผู้เพื่อแย่งความเป็นเจ้าของ หรือระหว่างเพศผู้กับเพศเมียก็ได้
เมื่อเพศเมียไม่ยอมเป็นใจขึ้นคร่อมผสมพันธุ์

              5. การให้อาหารและน้า
   1. อาหารหลักสาหรับจิ้งหรีด เป็นพืชประเภทยอดอ่อนของหญ้าสดทุกชนิด เช่น
หญ้าขน หญ้าลูซี่ ผักตบชวา กาบกล้วย ผักบุ้ง มัมสาปะหลัง ฯลฯ
   2. อาหารเสริม (อาหารสาเร็จรูป) เช่น อาหารไก่ อาหารปลา ราอ่อน ฯลฯ
   3. อาหารเสริม (อาหารจากธรรมชาติ) เช่น น้าผึ้ง น้าอ้อย น้าส้มคั้น ฯลฯ
   4. การให้อาหารหลัก อาหารเสริม และน้า ควรให้ 2 วัน/ 1 ครั้ง อาหารจานหลัก
จะให้ครั้งละ 1 กามือ อาหารเสริมจะให้มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับปริมาณและขนาดของจิ้งหรีด แต่ต้อง
ไม่ให้จานวนมากเกินไป เพราะจะทาให้เกิดเชื้อรา
   5. การให้อาหารจิ้งหรีด
    ระยะตัวอ่อน จะให้อาหารเสริม คือ ราอ่อน ถ้าเป็นหัวอาหารให้ใช้หัวอาหารปลา
กินพืชบดละเอียดเท่านั้น
26

     ระยะตัวเต็มวัย ให้อาหารธรรมชาติ คือ หญ้าใบผักสีเขียวทุกชนิดที่มีตาม
ธรรมชาติ ระวังอย่าใช้ผักตามท้องตลาด เพราะอาจมีสารเคมีปนเปื้อน จิ้งหรีดกินแล้วจะตายการให้
อาหารควรสังเกตดูสีของจิ้งหรีด ถ้าจิ้งหรีดมีสีดาคล้าแสดงว่าได้โปรตีนมากเกินไป ควรจะเพิ่มฟักทอง
ให้กินจะได้มีสีอมเหลืองสวย
    6. หญ้าสดที่ให้จิ้งหรีดไม่ต้องเอาออกจากคอนโด ปล่อยให้แห้งภายในบ่อจะได้เป็น
ที่หลบซ่อนตัวของลูกจิ้งหรีด แต่ระวังอย่าให้หญ้าทับถมกันจนเน่าจะทาให้เกิดความร้อนลูกจิ้งหรีด
อาจตายได้ หากเกิดการเน่าให้นาออกทิ้งไป

           6. วิธีป้องกันโรคทางเดินอาหาร
               การเกิดโรคทางเดินอาหารของจิ้งหรีด เกิดจากจิ้งหรีดได้รับอาหารที่ไม่สะอาดเกิดเชื้อรา
วิธีปูองกันคือ ต้องให้อาหารที่มีจานวนพอเหมาะกับจานวนของจิ้งหรีด หมั่นทาความสะอาดอย่าให้
อาหาร เกิดเชื้อรา อาหารเสริมควร เปลี่ยนทุกครั้งเมื่อให้อาหาร เมื่อเก็บผลผลิตจนหมดแล้ว ควรทา
ความสะอาดวงบ่อให้สะอาด ก่อนนาจิ้งหรีดรุ่นใหม่มาเลี้ยงต่อไป

            7. การจับจิ้งหรีด
               เมื่อเลี้ยงลูกจิ้งหรีดจนอายุประมาณ 46 วัน ขึ้นไป ลูกจิ้งหรีดโตพร้อมที่จะจับจาหน่าย
ได้ โดยพฤติกรรม ของจิ้งหรีดแล้ว ตอนกลางวันจิ้งหรีดจะหาที่หลบซ่อน พอมืดค่าจิ้งหรีดจะออกหา
อาหาร อาศัยพฤติกรรมเหล่านี้ ให้ใช้ กระบอกไม้ไผ่ หรือท่อพลาสติกก็ได้ ตัดเป็นท่อนๆ วางไว้กับพื้น
บ่อ จิ้งหรีดจะเข้าไปหลบอาศัย เวลาจะเก็บก็ยกกระบอกไม้ไผ่ หรือท่อพลาสติก เคาะใส่ในถุงหรือ
ตะกร้าที่ จัดเตรียมไว้โดยไม่ต้องยุ่งยากใช้มือไล่จับทีละตัว ซึ่งเสียเวลามาก
Crumu
Crumu
Crumu
Crumu
Crumu

More Related Content

What's hot

ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพSupaluk Juntap
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศSupaluk Juntap
 
บท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยาบท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยาWichai Likitponrak
 
บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์Wichai Likitponrak
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน Oyl Wannapa
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์สำเร็จ นางสีคุณ
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)Pinutchaya Nakchumroon
 
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตบท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตWichai Likitponrak
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการsupreechafkk
 
การจัดจำแนก
การจัดจำแนกการจัดจำแนก
การจัดจำแนกNonglawan Saithong
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์Anissa Aromsawa
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอบทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอYaovaree Nornakhum
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)firstnarak
 
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาลดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาลGwang Mydear
 

What's hot (20)

ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
Gene
GeneGene
Gene
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการ
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
บท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยาบท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยา
 
บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
 
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตบท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
 
โรค
โรค โรค
โรค
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการ
 
การจัดจำแนก
การจัดจำแนกการจัดจำแนก
การจัดจำแนก
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอบทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
 
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
 
Lesson1 celldivision2561
Lesson1 celldivision2561Lesson1 celldivision2561
Lesson1 celldivision2561
 
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาลดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
 

Viewers also liked

เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น
เศรษฐกิจพอเพียง  ม.ต้นเศรษฐกิจพอเพียง  ม.ต้น
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้นpeter dontoom
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...Sawittri Phaisal
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานNoonnu Ka-noon
 
งานนำเสนอโครงการ
งานนำเสนอโครงการงานนำเสนอโครงการ
งานนำเสนอโครงการkeeree samerpark
 

Viewers also liked (8)

เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น
เศรษฐกิจพอเพียง  ม.ต้นเศรษฐกิจพอเพียง  ม.ต้น
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
งานนำเสนอโครงการ
งานนำเสนอโครงการงานนำเสนอโครงการ
งานนำเสนอโครงการ
 
krongkan
krongkankrongkan
krongkan
 
คค
 
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
 
การนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัยการนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัย
 

Similar to Crumu

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงChanon Mala
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงsudza
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงnarudon
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง sapay
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงjo
 
1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียง1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียงseri_101
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงSuriyakan Yunin
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงbanlangkhao
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงKruhy LoveOnly
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงJiraprapa Suwannajak
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงjo
 
Random 100809002816-phpapp02
Random 100809002816-phpapp02Random 100809002816-phpapp02
Random 100809002816-phpapp02sapay
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงnarudon
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงsapay
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงsudza
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทpentanino
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง  เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง jaebarae
 

Similar to Crumu (20)

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียง1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียง
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
 
Random 100809002816-phpapp02
Random 100809002816-phpapp02Random 100809002816-phpapp02
Random 100809002816-phpapp02
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง  เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
Pp
PpPp
Pp
 

More from Aon Narinchoti

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อAon Narinchoti
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์Aon Narinchoti
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธAon Narinchoti
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Aon Narinchoti
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติAon Narinchoti
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงAon Narinchoti
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาAon Narinchoti
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนAon Narinchoti
 

More from Aon Narinchoti (20)

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Prob
ProbProb
Prob
 
Event
EventEvent
Event
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
Random experiment
Random experimentRandom experiment
Random experiment
 
His brob
His brobHis brob
His brob
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธ
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936
 
Know5
Know5Know5
Know5
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
Know4
Know4Know4
Know4
 
Know3
Know3Know3
Know3
 
Know2
Know2Know2
Know2
 
Know1
Know1Know1
Know1
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Climometer
ClimometerClimometer
Climometer
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนน
 

Crumu

  • 1. 1 บทที่ 1 หลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง คืออะไร? “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดารัส ชี้แนะแนวทาง การดาเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า 25 ปี ตั้งแต่ก่อนเกิด วิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังได้ทรงเน้นย้าแนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้น และ สามารถดารงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน ภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้นาปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงไปเผยแพร่ เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติของทุกฝุายและประชาชนโดยทั่วไป ดังนี้ เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวทางการดารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนใน ทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ ดาเนินไป ในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัฒน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็นที่ จะต้องมี ระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี พอสมควรต่อการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้ง ภายนอกและภายใน ทั้งนี้จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่ง ใน การนาวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผนและการดาเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้อง เสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติโดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มีสานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสมดาเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็น อย่างดี
  • 2. 2 หลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสาย กลางและความไม่ประมาท โดยคานึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดี ในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ความรอบคอบ และคุณธรรมประกอบการวางแผน การตัดสินใจและ การกระทา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีหลักพิจารณาอยู่ 5 ส่วน ดังนี้ 1. กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดารงอยู่และปฏิบัติตนในทางที่ควร จะเป็น โดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลาและ เป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัยวิกฤติเพื่อ ความมั่นคงและความยั่งยืนของการพัฒนา 2. คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนามาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติได้ในทุก ระดับ โดยเน้นการปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน 3. คานิยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย 3 คุณลักษณะพร้อม ๆ กัน คือ ความพอประมาณ (Moderation) ความมีเหตุผล (Reasonableness) และการมีภูมิคุ้มกันในตัว ที่ดี (Self-immunity) ถ้าขาด คุณลักษณะใดคุณลักษณะหนึ่งไปก็จะไม่สามารถเรียกได้ว่าเป็นความ พอเพียง ได้แก่
  • 3. 3 1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ไม่มากหรือน้อยเกินไปในมิติต่าง ๆ ของการกระทา 5 ประการ คือ 1.1 ด้านจิตใจ คือ เริ่มต้นจากตนเองต้องตั้งสติ มีปัญญา มีจิตสานึกที่ดี มี เมตตา เอื้ออาทร มีความเข้าใจและประนีประนอม คานึงถึงผลประโยชน์ส่วนรวม เข้มแข็งและ พึ่งตนเองได้ 1.2 ด้านสังคม คือ การสร้างความพอดีในทุกระดับของสังคม โดยเริ่มจาก ครอบครัว ชุมชนและสังคม ซึ่งต้องช่วยเหลือเกื้อกูลกัน สร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชน รู้จักผนึกกาลัง และที่สาคัญมีกระบวนการเรียนรู้ที่เกิดจากฐานรากที่มั่นคงและแข็งแรง 1.3 ด้านเศรษฐกิจ คือ ต้องอยู่อย่างพอดี พอมีพอกิน ไม่หรูหรา ฟุุมเฟือย 1.4 ด้านเทคโนโลยี คือ ควรเหมาะสมสอดคล้องกับสภาวะและความต้องการ ของประเทศ และควรพัฒนาเทคโนโลยีจากภูมิปัญญาท้องถิ่นให้สอดคล้องเป็นประโยชน์ต่อ สภาพแวดล้อมของเรา 1.5 ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คือ ใช้อย่างประหยัดและมี ประสิทธิภาพ ตลอดจนรณรงค์รักษาทรัพยากรธรรมชาติให้เกิดความยั่งยืนสูงสุด 2. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้นจะต้อง เป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้น จากการกระทานั้น ๆ อย่างรอบคอบ ซื่อตรงและไม่โลภอย่างมาก 3. การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการ เปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้น โดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะ เกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล 4. เงื่อนไข การตัดสินใจและการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัยทั้งความรู้ และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน กล่าวคือ 4.1 เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อม เพื่อประกอบการ วางแผนและการใช้ความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ 4.2 เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักใน คุณธรรมมีความซื่อสัตย์สุจริตและมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดารงชีวิต 5. แนวทางปฏิบัติ/ผลที่คาดว่าจะได้รับ จากการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาประยุกต์ใช้ คือ การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้าน เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ความรู้และเทคโนโลยี การปฏิบัติในระดับตนเองและในระดับองค์กร
  • 4. 4 “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชดารัส ชี้แนะแนวทางการดาเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า 25 ปี ตั้งแต่ก่อนเกิด วิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังได้ทรงเน้นย้าแนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้น และ สามารถดารงอยู่ได้อย่างมั่นคง และยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ เศรษฐกิจพอเพียงจึงเป็นปรัชญาแห่งวิถีชีวิตที่มีความหลากหลาย และสามารถยืดหยุ่น ความเป็นอยู่ของชีวิตของตนได้ด้วยเหตุนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงได้พระราชทานความหมาย ของความพอเพียงไว้ ตามพระราชดารัส ที่พระราชทานในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2541 ดังนี้ “...คาว่าพอเพียงมีความหมายกว้างออกไปอีก ไม่ได้หมายถึงการมีพอสาหรับใช้เองเท่านั้น แต่มีความหมายว่าพอมีพอกิน...พอมีพอกินนี้ก็แปลว่าเศรษฐกิจพอเพียงนั่นเอง...” “...ให้พอเพียงนี้ก็หมายความว่า มีกินมีอยู่ ไม่ฟุมเฟือย ไม่หรูหราก็ได้ แต่ว่าพอแม้บางอย่าง อาจจะดูฟุมเฟือย แต่ถ้าทาให้มีความสุข ถ้าทาได้ก็สมควรที่จะทา สมควรที่จะปฏิบัติ...” “Self-sufficiency (พึ่งพาตนเอง) นั่นหมายความว่า ผลิตอะไร มีพอที่จะใช้ไม่ต้องไปขอซื้อ คนอื่น อยู่ได้ด้วยตนเอง...” “...แต่พอเพียงนี้ มีความหมายกว้างขวางยิ่งกว่านี้อีก คือคาว่า พอก็พอเพียง เพียงนี้ก็พอ ดังนั้นเอง คนเราถ้าพอในความต้องการก็มีความโลภน้อย เมื่อมีความโลภน้อย ก็เบียดเบียนคนอื่น น้อย ถ้าทุกประเทศมีความคิด-อันนี้ไม่ใช่เศรษฐกิจ มีความคิดว่าทาอะไรต้องพอเพียง หมายความว่า พอประมาณ ไม่สุดโต่ง ไม่โลภอย่างมาก คนเราก็อยู่เป็นสุข...” แนวความคิดหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือ เข็มทิศเพื่อการดารงอยู่และปฏิบัติตน หรือการขับเคลื่อนการพัฒนาให้ประเทศเจริญอย่างมั่นคงและยั่งยืนในมิติต่าง ๆ เป็นการดาเนินตาม ทาง สายกลางก้าวทันต่อโลก โดยใช้ได้ทั้งระดับบุคคล ครอบครัว ชุมชน ประเทศ เป็นการมองโลก ในลักษณะที่เป็นพลวัต มีการเปลี่ยนแปลง มีความไม่แน่นอน เป็นการปฏิบัติมุ่งผลทั้งระยะสั้นและ ระยะยาว ความพอเพียง เป็นทั้งผลและวิธีการ (End and mean) จากการกระทา โดยผล คือ การพัฒนาที่สมดุลใน ทุก ๆ ด้าน และพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม ในขณะเดียวกัน วิธีการนาความรู้ไปใช้ต้องมองทั้งในด้านเหตุและผล ควบคู่กันไป ภายใต้พลวัตทั้งภายใน และภายนอกประเทศ
  • 5. 5 บทที่ 2 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับจิ้งหรีด แมลง (Insect) ถือกาเนิดมาในโลกก่อนสัตว์อื่น ๆ นับเป็นเวลาล้านล้านปี สามารถปรับตัว ตามสภาพแวดล้อม และขยายพันธุ์ได้รวดเร็วมาก แมลงเป็นสัตว์ที่มีลักษณะเป็นข้อปล้อง ที่มีปริมาณ มากที่สุดในโลก มีประมาณ 850,000 ชนิด ในจานวนนี้เป็นแมลงกว่า 300,000 ชนิด ที่มนุษย์รู้จัก นามาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันมานานแล้ว เช่น การบริโภค การใช้แมลงเป็นตัวเบียฬ (Parasite) และตัวห้า (Predators) เพื่อกาจัดศัตรูพืช เป็นต้น ประเทศไทยตั้งอยู่ในทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Southeast Asia) อยู่ในเขตร้อนชื้น มีอุณหภูมิและสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม จึงมีความหลากหลายทางชีวภาพทั้งพืชและสัตว์ สาหรับสัตว์ โดยเฉพาะแมลง มีจานวนมากกว่า 40 ชนิด ที่ประชาชนได้นามาบริโภค และเป็นที่นิยมอย่าง แพร่หลาย นับเป็นภูมิปัญญาชาญฉลาดของบรรพบุรุษไทย ที่สามารถดารงชีวิตอยู่ได้อย่างกลมกลืน กับธรรมชาติ ไม่ทาลายธรรมชาติ แต่พิจารณาสิ่งต่าง ๆ ตามธรรมชาติ ในเชิงของการใช้ประโยชน์ ทดแทน และได้ก่อให้เกิดประโยชน์หลากหลายนานับประการ ดังเช่น การใช้ประโยชน์จากผึ้ง ครั่ง และจิ้งหรีด เป็นต้น จิ้งหรีด เป็นแมลงที่สามารถนามาบริโภคได้ และมีความปลอดภัย จิ้งหรีดออกหากินเวลา กลางคืน พบเห็นตาม ธรรมชาติทั่วไป จิ้งหรีดสามารถนามาเลี้ยงขยายพันธุ์ได้ทุกพันธุ์ แต่พันธุ์ที่รู้จัก กันแพร่หลายมีอยู่ 2 ชนิด ได้แก่ จิ้งหรีดพันธุ์ทองดา และพันธุ์ทองแดง จิ้งหรีดมีปากเป็นแบบปากกัด ขาคู่หลังใหญ่และแข็งแรง กระโดดเก่ง สามารถทาเสียงร้อง โดยใช้ขอบของปีกคู่หน้าสีกัน ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในคันนา ทุ่งหญ้า สนามหญ้า และตามรอยแตกของ ดิน รูใต้ดิน หรือใต้กองเศษหญ้า โดยเฉพาะพันธุ์ทองดานิยมเลี้ยงกันมาก เนื่องจากสามารถขยายพันธุ์ ได้เร็วและเลี้ยงง่าย ลักษณะทั่วไปของจิ้งหรีด 1. รูปร่างลักษณะ จิ้งหรีดเป็นแมลงที่มีลักษณะปากเป็นแบบปากกัด มีตารวม หนวดยาว ขาคู่หลังมีขนาด ใหญ่และแข็งแรง กระโดดเก่ง เพศเมียปีกเรียบและมีอวัยวะวางไข่ยาวแหลมคล้ายเข็มยื่นออกมาจาก ส่วนท้อง เพศผู้มีปีกคู่หน้าย่น สามารถทาเสียงได้ จิ้งหรีด (Cricket) จัดเป็นแมลงชนิดหนึ่ง พบได้ในทุกภูมิภาคของโลก โดยเฉพาะในเขต ร้อนชื้น ชอบกัดกิน ต้นกล้าพืช ใบพืชส่วนที่อ่อน ๆ เป็นอาหาร จิ้งหรีดมีหลายชนิดและมีขนาด
  • 6. 6 แตกต่างกันไปตามชนิดของจิ้งหรีด พฤติกรรม ลักษณะพิเศษของจิ้งหรีดที่แตกต่างจากแมลงชนิดอื่น อย่างโดดเด่น และสังเกตได้ง่าย คือ การส่งเสียงร้องและการผสมพันธุ์ ที่เพศเมียจะคร่อมบนเพศผู้ เสมอ จิ้งหรีดเป็นชื่อพื้นบ้านอีสาน มีชื่อวิทยาศาสตร์ (Acheta testacea Walker) แหล่งที่พบ ส่วนใหญ่ขุดรูอยู่ตามคันนาและทุ่งหญ้า ออกหากินในเวลากลางคืน โดยกินรากต้นไม้ และกล้าไม้ ส่วน ในเวลากลางวันจะหลับอาศัยอยู่แต่ในรู มักทาเสียงในเวลากลางคืน ลักษณะทั่วไปของจิ้งหรีด 2. ชนิดของจิ้งหรีด จิ้งหรีดที่พบในประเทศไทย ซึ่งเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย มี 4 ชนิด ดังนี้ 1) จิ้งหรีดทองดา ลาตัวกว้างประมาณ 0.7 ซม. ยาวประมาณ 3 ซม. มี 3 สี ที่พบตามธรรมชาติคือ สีดา สีทอง และสีอาพัน โดยลักษณะที่เด่นชัด คือ จะมีจุดเหลือง ที่โคนปีก 2 จุด จิ้งหรีดทองดา 2) จิ้งหรีดทองแดง มีลาตัวสีน้าตาล เพศผู้มีสีเข้มกว่าเพศเมีย ส่วนหัวเหนือขอบตา รวมด้านบน แต่ละด้านมีแถบสีเหลือง มองดูคล้ายหมวกแก๊ป มีความว่องไวมากภาค ตะวันออกเฉียงเหนือเรียกจิ้งหรีด ชนิดนี้เป็นภาษาท้องถิ่นว่า จินาย อิเจ็ก จิ้งหรีดม้า เป็นต้น
  • 7. 7 จิ้งหรีดทองแดง 3) จิ้งหรีดเล็ก มีขนาดเล็กที่สุด มีสีน้าตาล บางท้องที่เรียกว่า จิลอ จิ้งหรีดผี หรือ บางที่เรียกว่าแอ้ด ลักษณะคล้าย จิ้งหรีดพันธุ์ทองแดง เพียงแต่มีขนาดเล็กกว่าเท่านั้น จิ้งหรีดเล็ก 4) จิ้งโกร่ง เป็นจิ้งหรีดขนาดใหญ่ สีน้าตาล ลาตัวกว้างประมาณ 1 ซม. ยาว ประมาณ 3.5 ซม. ชอบอยู่ในรูลึก โดยจะขุดดินสร้างรังอาศัยได้เอง และมีพฤติกรรมชอบอพยพย้ายที่ อยู่เสมอ มีชื่อเรียกแตกต่างกันไป เช่น จิโปม จิลอ เป็นต้น จิ้งโกร่ง
  • 8. 8 3. วงจรชีวิตจิ้งหรีด จิ้งหรีดมีระยะการเจริญเติบโต แบ่งออกได้เป็น 3 ระยะ คือ 1) ระยะไข่ ไข่จิ้งหรีดจะมีสีเหลืองรวมกันเป็นกลุ่มในดิน ลักษณะยาวเรียวคล้าย เมล็ดข้าวสาร ความยาวประมาณ 1.5 มิลลิเมตร ระยะไข่ใช้เวลาประมาณ 7 วัน จึงฟักออกมาเป็นตัว อ่อน แสดงการวางไข่ของจิ้งหรีด 2) ระยะตัวอ่อน ไข่จิ้งหรีดเมื่อฟักออกเป็นตัวอ่อน จิ้งหรีดวัยอ่อนที่ฟักออกจากไข่ ใหม่ ๆ จะมีลักษณะคล้ายมด และมีการเจริญเติบโตโดยการลอกคราบ จะลอกคราบประมาณ 8 ครั้ง จึงจะเป็นตัวเต็มวัย ตัวอ่อนเมื่อโตขึ้นเริ่มมีปีก เรียกว่า ระยะใส่เสื้อกั๊ก มีระยะกั๊กเล็ก มีติ่งปีก และกั๊ก ใหญ่ มีติ่งปีกยาว ระยะตัวอ่อนพันธุ์จิ้งหรีดทองดาใช้เวลาประมาณ 36 - 40 วัน แต่ถ้าพันธุ์ทองแดง ใช้เวลาประมาณ 46 - 50 วัน จึงจะลอกคราบเป็นตัวเต็มวัย จิ้งหรีดเติบโตตามวัย 3) ระยะตัวเต็มวัย เป็นระยะที่สามารถแยกเพศได้ชัดเจน โดยการสังเกตความ แตกต่างของเพศผู้ เพศเมีย เพศผู้จะมีปีกคู่หน้าย่น สามารถทาให้เกิดเสียงขึ้นได้ โดยใช้ปีกคู่หน้าถูกัน จะทาให้เกิดเสียง เสียงที่จิ้งหรีดทาขึ้นเป็นการ สื่อสารที่มีความหมายของจิ้งหรีด สาหรับเพศเมียจะมี
  • 9. 9 ปีกคู่หน้าเรียบ และมีอวัยวะวางไข่ยาวแหลมคล้ายเข็มยื่นออกมา จากส่วนท้อง โดยทั่วไปจิ้งหรีดตัว เต็มวัยจะมีอายุเฉลี่ยประมาณ 45-60 วัน จิ้งหรีด เพศเมีย จิ้งหรีดเพศผู้ การผสมพันธุ์ของจิ้งหรีด จิ้งหรีดจะผสมพันธุ์เมื่อเป็นตัวเต็มวัย การผสมพันธุ์และวางไข่แต่ละรุ่นจะใช้เวลาประมาณ 15 วัน/ครั้ง/รุ่น เมื่อหมดการวางไข่รุ่นสุดท้ายแล้วตัวเมียก็จะตาย วิธีผสมพันธุ์ ตัวผู้จะทาเสียงโดยยกปีกคู่หน้าถูกันให้เกิดเสียง เพื่อเรียกตัวเมีย จังหวะเสียงจะดังเมื่อตัว เมียเข้ามาหา บริเวณที่ตัวผู้อยู่ ตัวผู้จะเดินไปรอบ ๆ ตัวเมียประมาณ 2-3 รอบ ช่วงนี้จังหวะเสียงจะ เบาลง แล้วตัวเมียจะขึ้นคร่อมตัวผู้ จากนั้นตัวผู้จะยื่นอวัยวะเพศแทงไปที่อวัยวะเพศเมีย หลังจากนั้น ประมาณ 14 นาที ถุงน้าเชื้อก็จะฝุอลง แล้วตัวเมียจะใช้ ขาเขี่ยถุงน้าเชื้อทิ้งไป แสดงการผสมพันธุ์ของจิ้งหรีด
  • 10. 10 ระบบสืบพันธุ์เพศผู้ เพศผู้มีอัณฑะ 1 คู่ สีขาวขุ่น แต่ละข้างมีท่อน้าอสุจิมาเก็บไว้ที่พักน้าเชื้ออสุจิ และมีต่อม สร้างน้าเลี้ยงอสุจิสีขาวขุ่น เมื่อมีการผสมพันธุ์เชื้ออสุจิจะออกไปทางท่อน้าเชื้ออสุจิ ระบบสืบพันธุ์เพศเมีย เพศเมียมีรังไข่ 1 คู่ สีเหลืองเป็นช่อ รังไข่แต่ละข้างมีท่อนาไข่และนาออกมารวมกันที่ท่อ กลาง นอกจากนี้จะพบถุงเก็บอสุจิเป็นก้อนกลมสีขาวขุ่นสาหรับเก็บอสุจิของเพศผู้เมื่อได้รับการผสม พันธุ์ ขณะที่จะวางไข่ โดยไข่แก่เคลื่อนตัวลงมาจากท่อนาไข่ก็จะมีการฉีดเชื้ออสุจิเข้าไปในไข่ก่อนที่ จิ้งหรีดจะวางไข่ออกมา การวางไข่ เพศเมียใช้อวัยวะวางไข่ที่ยาวแหลมคล้ายเข็มแทงลงในดินที่มีลักษณะเรียวยาวคล้ายเมล็ด ข้าวสาร ใช้เวลาประมาณ 7 วัน ก็จะฟักออกเป็นตัวอ่อน ตลอดอายุไข่จิ้งหรีดตัวเมียสามารถวางไข่ได้ ตั้งแต่ 600 - 1,000 ฟอง ซึ่งจะวางไข่เป็นรุ่น ๆ ได้ประมาณ 4 รุ่น จิ้งหรีดวางไข่ ขั้นตอนการวางไข่ จิ้งหรีดตัวเมียจะเริ่มวางไข่ภายใน 7 วัน หลังผสมพันธุ์ มีขั้นตอนดังนี้ 1. จิ้งหรีดจะวางไข่ในดินที่มีความชื้นพอเหมาะสาหรับวางไข่ 2. ใช้เข็มแทงลงดินเพื่อวางไข่
  • 11. 11 3. การวางไข่จะวางเป็นกลุ่ม ๆ ละ 3 - 4 ฟอง ประมาณ 2 - 3 กลุ่ม 4. แทงเข็ม 1 ครั้ง จะวางไข่ประมาณ 2 - 3 กลุ่ม 5. ยกเข็มขึ้นมาเพื่อหาที่เหมาะสมเพื่อแทงเข็งวางไข่ใหม่ 6. จะมีการวางไข่ตลอดอายุ 4 ครั้ง ๆ ละ ประมาณ 200 - 300 ฟอง 7. การวางไข่แต่ละรุ่นจะใช้เวลาห่างกันประมาณ 15 วัน ลักษณะของจิ้งหรีดวัยต่าง ๆ ลักษณะไข่จิ้งหรีด - ไข่จิ้งหรีดมีสีขาว ยาวประมาณ 1.5 ม.ม. - ไข่อยู่ใต้ดิน ใช้เวลาฟักตัวประมาณ 7 วัน แล้วออกเป็นตัวอ่อน ลักษณะตัวอ่อน - มีขนาดเล็กคล้ายมด ความยาวประมาณ 1.5 ม.ม. - ลาตัวมีสีดา มีอวัยวะครบทุกอย่าง แต่ยังไม่มีปีก - ระยะกลางตัวอ่อน จะเริ่มมีตุ้มปีก - มีการลอกคราบ 8 ครั้ง ก่อนเป็นตัวเต็มวัย ระยะตัวเต็มวัย ระยะตัวเต็มวัยมีอวัยวะครบทุกส่วนเห็นได้ชัดเจน แบ่งเป็น 3 ส่วนคือ 1. ส่วนหัว ประกอบด้วยส่วนที่สาคัญ คือ - ตารวม 1 คู่ - หนวด 1 คู่ - ส่วนของปาก ส่วนหัวจะเชื่อมต่อกับส่วนอกด้วยเนื้อเยื่อบาง ๆ เคลื่อนไหวได้รอบทิศ โดยมี หนวดเป็นอวัยวะที่สาคัญสาหรับสัมผัสและรับกลิ่น 2. ส่วนอก ประกอบด้วยอวัยวะสาคัญ คือ - ปีก 2 คู่ - ขา 3 คู่ 3. ส่วนท้อง จะเป็นส่วนประกอบที่สาคัญของอวัยวะสืบพันธุ์
  • 12. 12 การทาเสียงจิ้งหรีด การทาเสียงของจิ้งหรีด ทาได้เฉพาะจิ้งหรีดเพศผู้ โดยการใช้ปีกคู่หน้าถูหรือสีกัน ปกติ จิ้งหรีดปีกจะซ้อนกันเหนือลาตัว ในเพศผู้ปีกคู่หน้าปีกขวาจะทับปีกซ้าย เพศเมียปีกซ้ายทับปีกขวา การทาเสียง โดยยกปีกคู่หน้าขึ้น ใช้ขอบของโคนปีกซ้ายถูหรือสีกับฟันซี่เล็ก ๆ ที่เรียงกันเป็นแถวที่ โคนด้านในของปีกขวา มีจังหวะเสียงจากการโยกตัว ลักษณะเสียงจะบ่งบอกถึงพฤติกรรมในการ สื่อสารขณะนั้น เช่น 1. เสียง กริก...กริก...กริก... นาน ๆ แสดงว่าอยู่โดดเดี่ยวหรือต้องการหาคู่ 2. เสียง กริก...กริก...กริก... มีลากเสียงยาว แสดงว่าเป็นการบ่งบอกถึงอาณาเขตที่อยู่ อาศัย 3. เสียง กริก...กริก...กริก... เบา ๆ และถี่ ๆ ติดต่อกัน แสดงว่าต้องการผสมพันธุ์ พฤติกรรมนี้เพศผู้จะทาเสียง กริก...กริก...ๆ โดยการถอยหลังเข้าหาเพศเมีย ถ้าเพศเมียเต็มใจ เพศเมีย ก็จะขึ้นคร่อมเพศผู้ เพื่อทาการผสมพันธุ์ 4. เสียง กริก...กริก...กริก... ยาวดัง ๆ 2 - 3 ครั้ง แสดงว่าโกรธหรือส่งเสียงระหว่างกัด กัน ระหว่างเพศผู้กับเพศผู้เพื่อแย่งความเป็นเจ้าของ หรือระหว่างเพศผู้กับเพศเมียก็ได้ เมื่อเพศเมียไม่ ยอมเป็นใจขึ้นคร่อมผสมพันธุ์ อาหารที่ใช้เลี้ยงจิ้งหรีด อาหารยาบ ได้แก่ หญ้า ถั่ว พืชผักอื่น ๆ เช่น ผักบุ้ง มันสาปะหลัง ฟักทอง ตะไคร้ อาหารละเอียด ได้แก่ ราอ่อน หัวอาหาร อาหารไก่ไข่ อาหารเหลว ได้แก่ น้าผึ้ง น้าอ้อย น้าธรรมดา
  • 13. 13 บทที่ 3 การเพาะพันธุ์จิ้งหรีด การเตรียมสถานที่ การเลือกที่ตั้งโรงเรือน 1. บริเวณก่อสร้างโรงเรือนควรเป็นที่ดอน น้าไม่ท่วมขัง 2. บริเวณที่จะเลี้ยงควรมีพื้นที่กว้างพอสมควร 3. บริเวณที่จะเลี้ยงต้องปูองกันฝนและแสงแดดจัดได้ โดยมีแสงแดดส่องผ่านประมาณ 30-40% ในช่วงเช้าและสาย มีอากาศถ่ายเทสะดวก 4. พื้นที่จะใช้เลี้ยงไม่ควรเป็นสถานที่มีโรคและการระบาดของแมลงศัตรูพวกมด ไร 5. พื้นที่ควรมีแหล่งอาหารธรรมชาติ หาได้ง่าย เช่น หญ้าจากธรรมชาติ ผักตบชวา เป็นต้น แบบโรงเรือน โรงเรือน สามารถเลี้ยงได้ในสภาพทั่วไปที่มีอยู่ หรืออาจจะจัดทาโรงเรือนไว้เลี้ยงโดย เฉพาะที่ก็ได้ ถ้ามีทุนดาเนินการเพียงพอ หรือจะเลี้ยงใต้ชายคาบ้าน ใต้ถุนบ้านก็ได้ แล้วแต่ความ เหมาะสม แต่ต้องมีการปูองกันการถูกฝนสาดถึง และปูองกันแดดจัดได้
  • 14. 14 อุปกรณ์ในการเลี้ยงจิ้งหรีด 1. บ่อจิ้งหรีด วัสดุที่จะนามาเป็นสถานที่เพาะเลี้ยง มีอยู่มากมายหลายชนิด เช่น ถัง กะละมัง ปี๊บ เป็น ต้น แต่ถ้าใช้วงปูน จะคงทนและสามารถใช้เลี้ยงจิ้งหรีดได้ตลอดไปและมีราคาไม่สูงนัก ง่ายต่อการ เลี้ยงและปูองกันศัตรู วงปูนมีหลายขนาด แต่ขนาดที่เหมาะสมในการเลี้ยงและการจัดการควรเป็นวง ขนาด 80 x 50 ซม. ซึ่งสามารถปล่อยแม่พันธุ์ 3 ตัว ต่อพ่อพันธุ์ 1 ตัว 2. แผ่นพลาสติกและเทปกาว แผ่นพลาสติกและเทปกาวจะใช้ติดรอบวงในด้านบนเพื่อปูองกันจิ้งหรีดไม่ให้ออกนอกวง จะใช้พลาสติกตัดกว้างประมาณ 2-3 นิ้ว ให้ยาวเท่าเส้นรอบวง ในการใช้กระดาษกาวติดทับพลาสติก วงปูน (ติดพลาสติกครึ่งหนึ่ง ติดขอบบ่อครึ่งหนึ่ง) 3. ยางรัดปากวง ยางในรถจักรยานหรือรถจักยานยนต์ ตัดให้มีขนาดกว้างน้อยกว่าขอบวงด้านนอก ตัด อย่าให้มีความกว้างของยางมาก เพื่อความสะดวกเมื่อเวลายืดรัดตาข่ายกับขอบวง 4. กาบมะพร้าว / กระบอกไม้ไผ่ / กระดาษรังไข่อย่างใดอย่างหนึ่ง เป็นวัสดุเพื่อใช้วางใน วงท่อปูนสาหรับเป็นที่หลบซ่อนของจิ้งหรีด จะใช้กาบมะพร้าวแห้งประมาณ 2-4 ชิ้น 5. เศษหญ้าแห้ง เศษหญ้าแห้งเป็นวัสดุที่ใช้วางทับกาบมะพร้าว ใช้ทับหนาประมาณ 2 ซม. เพื่อปูองกัน แสงสว่างและ ให้ความอบอุ่นแก่จิ้งหรีด 6. ถาดน้าและถาดอาหาร ถาดน้าและถาดอาหาร ควรเป็นถาดที่ไม่ลึกมาก เพื่อให้จิ้งหรีดได้ขึ้นกินอาหารและน้าได้ สะดวก 1 วง จะมีถาดอาหารและน้าอย่างละ 2 ที่
  • 15. 15 7. พลาสติกไนล่อนสีเขียว เป็นตาข่ายสาหรับปิดปากวงบ่อปูน เพื่อปูองกันการบินหนีของจิ้งหรีดตัวเต็มวัยและ ปูองกันศัตรูเข้าทาลายจิ้งหรีด ตัดให้มีความกว้างกว่าปากวงบ่อปูนรอบนอกเล็กน้อย เช่น วงขนาด 80 ซม. จะติดตาข่ายไนล่อนสีเขียวขนาด 100 x 100 ซม. 8. ถุงพลาสติกขนาด 12 x 20 ใส่ดินร่วนปนทรายหนา 2 ซม. สาหรับให้จิ้งหรีดวางไข่ การเตรียมพ่อพันธุ์ แม่พันธุ์ เลือกขนาดตัวโตและมีความแข็งแรงที่เลี้ยงมาแล้วประมาณ 1 ปี โดยเลือกตัวเมีย 20 ตัว และตัวผู้ 10 ตัว นามาขุนเลี้ยงในบ่อบารุงทั้งพ่อพันธุ์ แม่พันธุ์ให้ผสมกันจนตัวเมียทั้งตั้งท้องและ ท้องแก่ จึงคัดตัวเมียท้องแก่พร้อมวางไข่ลงในบ่อที่มีภาชนะปรุงแต่งด้วยดินดาเกษตรที่ชื้นร่วนซุย หรือแกลบเผาที่เตรียมไว้แล้วเป็นที่วางไข่ใส่หน้าแห้งเป็นที่หลบซ่อนตัวอาหารที่ให้เป็นหญ้าสด อาหาร ไก่ไข่และน้า ฉีดพ่นน้าเพื่อให้ความชื้น การจัดการและวิธีการเลี้ยงจิ้งหรีด การเลี้ยงจิ้งหรีดวัยอ่อน หลังจากให้พ่อแม่พันธุ์ผสม และวางไข่ในภาชนะแล้ว ตัวเมียจะวางไข่ประมาณ 3 –4 รุ่น เลี้ยงได้ในภาชนะประมาณ 14 วัน เพื่อรอให้ไข่รุ่นที่ 2 และ 3 ฟักเป็นตัว แล้วจึงย้ายลงบ่อเลี้ยงให้ อาหารละเอียด เช่น ราอ่อน หัวอาหารไก่ไข่บดใช้การฉีดพ่อน้าแทนการพรมน้า การเลี้ยงจิ้งหรีดหลังวัยอ่อน ถึงระยะเก็บออกจาหน่าย ย้ายจิ้งหรีดอ่อนลงเลี้ยงในบ่อ ลูกจิ้งหรีดจะกระโดดเข้าไปในบ่อเทดินที่เหลือใส่ภาชนะ วางไว้ในบ่อ เพื่อให้ไข่ที่เหลือฟักเป็นตัวในบ่อ เมื่อตัวอ่อนจิ้งหรีด เริ่มมีติ่งปีก เรียกว่าระยะใส่เสื้อกั๊ก ซึ่งจะมี 2 ระยะ คือ เสื้อกั๊กเล็ก (มีปีกติ่งสั้น) และเสื้อกั๊กใหญ่ (มีติ่งปีกยาว) จากระยะเสื้อกั๊กใหญ่จะ ลอกคราบเป็นตัวเต็มวัย รวมระยะเวลาที่เลี้ยงในบ่อประมาณ 1 – 2 เดือน ก็จะเป็นตัวเต็มวัย ระยะที่เก็บออกจาหน่าย ระยะที่เก็บออกจาหน่ายได้เป็นระยะเสื้อกั๊กใหญ่และตัวเต็มวัย การรอดชีวิตจากตัวอ่อน ถึงตัวเต็มวัยประมาณ 90 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งจิ้งหรีดชอบเข้าไปหลบซ่อนตัวอยู่ภายในถาดไข่ลูกฟูก การ เก็บก็จะยกถาดไข่เคาะใส่ถุงตาข่ายสีฟูา
  • 16. 16 การดูแลรักษา ป้องกันโรคและศัตรูของจิ้งหรีด การดูแลรักษา สิ่งที่ต้องให้ความสาคัญกับอาชีพการเลี้ยงจิ้งหรีด คือ ความสะอาด และการจัดการอย่าง เป็นระบบ จึงจะประสบความสาเร็จ สามารถทาได้ดังนี้ 1. สถานที ควรเป็นที่ดอน น้าไม่ท่วมขัง และบริเวณที่เลี้ยงต้องไม่ตากแดด 2. การวางคอนโด เลี้ยง ควรวางเป็นระเบียบมีความห่างพอเหมาะแก่การดูแล คอนโดควรตั้งขายกสูงประมาณครึ่งเมตร มีถาดน้ารองพื้น หรือทาน้ามันที่ขาคอนโดเพื่อปูองกันมด 3. วัสดุที่วางในคอนโดเลี้ยง 3.1 ภายในบ่อใส่ถุงดินหรือกระบะดินร่วนปนทราย หรือดินทรายที่มีความชื้น พอประมาณ น้าหนักดินประมาณ 1 - 2 ก.ก. วางไว้ข้าง ๆ ขอบบ่อภายในสาหรับให้จิ้งหรีดวางไข่ 3.2 ใส่หญ้าแห้ง 1 กามือ ไว้ตรงกลางบ่อ เพื่อเป็นที่หลบซ่อนหรือเป็นที่อยู่อาศัย ของตัวจิ้งหรีด 3.3 ใส่หญ้าสดอ่อน 1 กามือข้างหญ้าแห้ง สาหรับเป็นอาหารของจิ้งหรีด (อาหารหลัก) 3.4 ใส่ถาดอาหารแบน ๆ (อาหารเสริม) เช่น ราอ่อน ปลายข้าว อาหารไก่ อาหารปลา 1 อัน 3.5 วางถาดน้าแบน ๆ ภายในถาดน้าให้ใช้ก้อนหินหรือก้อนอิฐแดงทุบเป็นชิ้น เล็ก ๆ ให้เกือบเต็มแล้วเติมน้าลงให้เต็ม วางไว้ใกล้ ๆ กับถาดอาหาร 1 อัน 4. การถ่ายมูลจิ้งหรีด เอาถาดที่รองรับมูลใต้ถาดไข่ลูกฟูกเทมูลทิ้งและทาความ สะอาดสัปดาห์ละครั้ง 5. เปลี่ยนดินที่ใส่ในจานให้จิ้งหรีดวางไข่หลังจากเก็บจิ้งหรีดออกจาหน่าย
  • 17. 17 6. การตากคอนโดเลี้ยง ควรตากปีละครั้ง ประมาณเดือนมีนาคม – เมษายน ก่อน จะเลียงรุ่นใหม่ต่อไป การป้องกันโรคและศัตรู โรคและศัตรูของจิ้งหรีด จิ้งหรีดเป็นแมลงที่ไม่ค่อยมีโรคและศัตรูรบกวนมากนัก โรคที่พบจะเป็นโรคระบบ ทางเดินอาหาร สาหรับศัตรูส่วนใหญ่จะเป็นพวกมด แมงมุม และไร เป็นต้น โรคและศัตรูที่พบควร ปูองกันไว้ก่อนดีกว่าจะมาจากัด ซึ่งเป็นอันตรายต่อจิ้งหรีด และผู้บริโภค วิธีการป้องกันศัตรูจิ้งหรีด จิ้งหรีดจะกินพืชเป็นอาหารหลัก ศัตรูจะติดมากับพืชอาหาร เช่น ไร แมงมุม ก่อนนามา ให้จิ้งหรีดกินต้องนามาล้างน้า แล้วผึ่งให้สะเด็ดน้าก่อนเพื่อล้างเอาศัตรูออกสาหรับมดก่อนนาจิ้งหรีด มาปล่อยลงวงบ่อปูนจะต้องปูองกันด้วยการโรยยากาจัดมด รอบวงบ่อปูน หรือจะใช้ผ้าชุบ น้ามันเครื่องแล้วนามาพันรอบวงปูนด้านล่าง วิธีป้องกันโรคทางเดินอาหาร การเกิดโรคทางเดินอาหารของจิ้งหรีด เกิดจากจิ้งหรีดได้รับอาหารที่ไม่สะอาดเกิดเชื้อรา วิธีปูองกันคือ ต้องให้อาหารที่มีจานวนพอเหมาะกับจานวนของจิ้งหรีด หมั่นทาความสะอาดอย่าให้ อาหาร เกิดเชื้อรา อาหารเสริมควร เปลี่ยนทุกครั้งเมื่อให้อาหาร เมื่อเก็บผลผลิตจนหมดแล้ว ควรทา ความสะอาดวงบ่อให้สะอาด ก่อนนาจิ้งหรีดรุ่นใหม่มาเลี้ยงต่อไป เทคนิคการเพาะเลี้ยงพ่อพันธุ์ แม่พันธุ์จิ้งหรีด จิ้งหรีดสามารถเพาะเลี้ยงพ่อแม่พันธุ์ไว้ในกล่องพลาสติก แก้วใส หรือภาชนะทุกชนิดที่ ปูองกันจิ้งหรีดออกได้ ซึ่งต้องมีดินร่วนปนทรายน้าหนัก 5 กิโลกรัมต่อกล่อง กว้างประมาณ 50 เซนติเมตร ยาว 80 เซนติเมตร สูง 35 เซนติเมตร ด้านบนปิดด้วยมุ้งเขียวระบายอากาศ โดยอบดิน ก่อนเพื่อฆ่าเชื้อที่อุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส 5 ชั่วโมง หรือตากแดดไว้ 5 วัน นาพ่อแม่พันธุ์ อายุ 2 เดือน ในอัตราส่วนเพศผู้ 1 ตัวต่อเพศเมีย 3 ตัวต่อกล่อง โดยให้อาหาร (อาหารไก่เล็ก สาเร็จรูปโปรตีนประมาณ 20 %) 1 กรัม และหญ้าสด ซึ่งจะต้องเปลี่ยนทุก 3 วัน เมื่อจิ้งหรีดลอกคราบเข้าสู่ตัวเต็มวัย (อายุ 2 เดือน) พร้อมผสมพันธุ์ เพศผู้จะส่งเสียง เรียกร้องเพศเมีย โดยยกปีกคู่หน้าขึ้นโดยใช้ขอบของโคนปีกด้านซ้ายถูหรือสีกับฟันซี่เล็ก ๆ ที่เรียงกัน
  • 18. 18 เป็นแถวที่โคนด้านในของปีกขวา ซึ่งจะทาเสียงไปพร้อมกับโยกตัว เพศเมียจะกระโดดขึ้นคร่อมบนตัว ของเพศผู้และทาการผสมพันธุ์บางครั้งหากเพศผู้เรียกแล้วเพศเมียไม่สนใจ ตัวผู้ก็จะไล่กัด หลังจากผสมพันธุ์ 10 วัน นาพ่อแม่พันธุ์ออกจากล่อง ซึ่งจะวางไข่เรียบร้อยแล้ว สังเกตได้ จากบริเวณผิวดินเป็นรู หรือรอยหลุมเล็ก ๆ คล้ายเข็มแทง ประมาณ 500 - 600 ฟองต่อตัว หรือ 400 - 1,000 ฟองต่อพ่อแม่พันธุ์ 1 ชุด ลักษณะไข่ยาวเรียวประมาณ 2 มิลลิเมตร คล้ายเมล็ดข้าวสาร หลังจากวางไข่ 3 - 5 วัน เริ่มฟักเป็นตัวซึ่งมีขนาดเล็กมาก ลักษณะปีกจะคล้ายกับใส่เสื้อกั๊ก จะต้องงด อาหารและต้องให้น้าฉีดฝอย 2 เวลา เช้า - เย็น พร้อมกับหญ้าสดเล็กน้อย ซึ่งจิ้งหรีดจะลอกคราบ 5 ระยะ ช่วงลอกคราบอ่อนแอมาก และจะกินกันเอง แก้ไขโดยใส่หญ้าแห้งเพื่อเป็นที่หลบภัย มี 2 แบบได้แก่หญ้าแห้งที่ตากแดดเพื่อปูองกันเชื้อรา และหญ้าสดเป็นอาหาร เมื่อจิ้งหรีดฟัก 1 - 7 วัน จะเริ่มให้อาหารข้น ซึ่งเป็นหัวอาหารไก่เล็กสาเร็จรูป 2 กรัมต่อ กล่องทุก 3 วัน พร้อมกับหญ้าสดทุก 7 วัน ขณะให้น้าโดยใช้หัวฉีดพ่นตามหญ้าสด จะต้องนาภาชนะ ใส่อาหารออกก่อน เพราะอาจทาให้ชื้นและเกิดเชื้อราได้ อายุ 8 - 15 วัน ทาการเปลี่ยนหญ้าสดและให้น้าทุก 3 วัน พยายามไม่ให้ชื้นเกินไป เพราะ อาจจะเป็นแหล่งของตัวไรและเชื้อรา สร้างความราคาญ มีผลกระทบกับการเจริญเติบโต โดยให้ อาหาร 4 กรัมต่อกล่องทุก 3 วัน และเมื่ออายุครบ 16 - 30 วัน ให้อาหารเพิ่มเป็น 8 กรัม อายุ 30 วันขึ้นไป นาจิ้งหรีด ทั้ง 3 กล่องรวมกัน ย้ายลงขุนในกรงตาข่ายกว้าง 1.20 เมตร ยาว 1.20 เมตร สูง 1.40 เมตร แบ่งเป็น 4 ช่อง ในโรงเรือนอุณหภูมิปกติ อากาศถ่ายเทสะดวก เพราะจิ้งหรีดเป็นสัตว์เลือดเย็นหากเลี้ยงในอุณหภูมิต่า อาจกระทบต่อการดารงชีวิต กินอาหารลดลง มีผลต่อการเติบโต การเลี้ยงในกรงตาข่ายไม่ต้องใส่ดิน จะให้หญ้าสดและหัวอาหารไก่ 10 กรัมต่อกรงต่อวัน พร้อมด้วยหญ้าแห้งเพื่อให้เป็นที่อยู่อาศัยและหลบภัยขณะเดียวกันจะต้องให้น้าทุก 3 วัน จนได้ขนาด หรืออายุพร้อมแปรรูปต้องงดอาหาร 3 วัน โดยให้เพียงหญ้าสด เพื่อลดกลิ่นสารอาหารในตัวจิ้งหรีด เพราะอาจจะมีผลกระทบต่อผู้บริโภค เทคนิคการเลี้ยงให้ได้ผลดี จะต้องเน้นอาหารและการจัดการความสะอาด อาหารมีเพียงพอ กับความต้องการตลอดวัน และเปลี่ยนตามโปรแกรมกาหนด ทั้งหญ้าสดและหัวอาหารไก่ ขั้นตอน ต่อไปจะศึกษาการเปลี่ยนแปลงชนิดหญ้าสดเป็นอาหาร มีผลต่อการเจริญเติบโตอย่างไร เนื่องจาก หญ้าสดแต่ละชนิดโปรตีนต่างกัน ปัจจุบันใช้หญ้าขนอย่างเดียว เมื่อลอกคราบระยะที่ 5 หรือตัวเต็มวัยอายุ 2 เดือน ปีกยาวคลุมถึงแพนหาง อีกประมาณ 15 - 20 วัน จิ้งหรีดจะเริ่มตาย ซึ่งเป็นวงจรชีวิตตามธรรมชาติ เพราะฉะนั้นผลผลิตบางส่วนจะต้องรีบ คัดไว้เป็นพ่อแม่พันธุ์ ก่อนถึงอายุขัยจะต้องผสมพันธุ์วางไข่ให้เร็วที่สุด
  • 19. 19 ปัญหาที่พบประจาในการเลี้ยงจิ้งหรีด หากการจัดการไม่ดี เช่น พื้นที่เลี้ยงมีความชื้นสูง มี สาเหตุมาจากให้น้ามาก จะทาให้เกิดไรและเชื้อรา จะต้องนาดินทิ้งให้หมด และช่วงระยะลอกคราบ หากจัดการด้านวัสดุหลบซ่อนไม่ดี จิ้งหรีดตัวที่อ่อนแอก็จะถูกจิ้งหรีดตัวอื่น ๆ จับกิน สร้างความ เสียหายให้กับการเลี้ยงมาก ตลอดจนการเลี้ยงในบ่อกลม (บ่อปูน) ต้องใช้พลาสติกหุ้มขอบด้านในเพื่อ ปูองกันจิ้งหรีดออกให้ดีด้วย ต่างกับการเลี้ยงในกรงตาข่าย จะสะดวกในการปฏิบัติงาน ทาความ สะอาดง่าย ต้นทุนวัสดุอุปกรณ์พร้อมแรงงานต่าประมาณ 3,000 บาท ปูองกันศัตรูสาคัญได้ดี เช่น หนู จิ้งเหลน มด และ การเลี้ยงในกล่องพลาสติก ช่วยลดปัญหาการขนย้าย ใช้พื้นที่น้อย เหมาะสาหรับ การเลี้ยงที่มีพื้นที่จากัดหากเลี้ยงในบ่อกลมจะตั้งซ้อนกันไม่ได้ ทาให้ต้องใช้พื้นที่มาก
  • 20. 20 บทที่ 4 ประโยชน์ของจิ้งหรีดและการเลี้ยงจิ้งหรีด ประโยชน์ของจิ้งหรีด และประโยชน์ของการเลี้ยงจิ้งหรีด แบ่งออกเป็น 3 ด้าน คือ ด้าน โภชนาการ ด้านเศรษฐกิจ และด้านอื่น ๆ ทั่วไป ดังนี้ ด้านโภชนาการ พลังงาน โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต เหล็ก แคลเซียม ฟอสฟอรัส โปแตสเซียม ชื่อแมลง (Kcal) (g) (g) (g) (mg) (mg) (mg) (mg) 1. ตั๊กแตนใหญ่ 95.7 14.3 3.3 2.2 3.0 27.5 150.2 217.4 Grass hoppers 2. ตั๊กแตนเล็ก 152.9 20.6 6.1 3.9 5.0 35..2 238.4 237.4 Locust small 3. แมลงตับเต่า True Water 149.1 211.0 7.1 0.3 6.4 36.7 204.8 197.9 beetle 4. กระชอน 125.1 15.4 6.3 1.7 41.7 75.7 254.1 267.8 Mole Cricket 5. จิ้งหรีด 121.5 12.9 5.5 5.1 9.5 75.8 185.3 305.5 Cricket 6. ไข่มดแดง 82.8 7..0 3.2 6.5 4.1 8.4 113.4 96.3 Red Ant eggs 7. ดักแด้ไหม Silk worm 98.0 9.6 5.6 2..3 1.8 41.7 155.4 138.7 pupae 8. แมลงดานา Giant water 162.3 19.8 8.3 5.5 13.6 43.5 22.5 191.7 bug ที่มา : นิภา เบญจพงศ์ และอุรุญากร จันทร์แสง 2540 แมลงก็เป็นอาหารได้ เลือกกินอย่างไรจึงจะ ปลอดภัย วารสารอาหารสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
  • 21. 21 ด้านเศรษฐกิจ 1. เป็นอาชีพเสริม มีรายได้ที่ดี 2. ทาเป็นธุรกิจระดับอุตสาหกรรมโดยการแปรรูป เช่น จิ้งหรีดกระป๋อง น้าพริกจิ้งหรีด จิ้งหรีดทอด เป็นต้น 3. ชุมชนมีรายได้จากการจาหน่ายจิ้งหรีดเพื่อนาไปสู่การพึ่งพาตนเองแบบยั่งยืน ด้านอื่น ๆ 1. การเรียนการสอนเพื่อทักษะการเรียนรู้ 2. เพื่อฝึกความรับผิดชอบ 3. เพื่อนันทนาการ สนุกสนาน เพลิดเพลิน 4. ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ 5. ช่วยให้จิตใจอ่อนโยนรักสัตว์ 6. มีความคิดริเริ่ม รู้จักการแก้ปัญหา 7. ฝึกให้เป็นคนช่างสังเกตดูการเจริญเติบโตของจิ้งหรีด การทาเสียง การลอกคราบ 8. สามารถนาเสนอผลงานให้ผู้อื่นฟัง โดยการใช้ภาพวาดลายเส้น หรือสื่ออื่น ๆ 9. เป็นพื้นฐานในการเลี้ยงแมลงชนิดอื่น ๆ 10. สามารถนาวัชพืชมาใช้เป็นประโยชน์ 11. ฝึกการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง 12. การใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้านเป็นการนาไปสู่ การพึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืน 13. เป็นแนวทางในการประกอบอาชีพ การสร้างรายได้และการนาไปประกอบอาชีพ การเลี้ยงจิ้งหรีดเพื่อขายสามารถสร้างรายได้ให้กับผู้เลี้ยงได้มากโดยอาจขายเป็นพ่อพันธุ์ แม่พันธุ์ ขายจิ้งหรีดสด หรือเป็นผลิตภัณฑ์แปรรูปต่าง ๆ ตลาดของจิ้งหรีดที่ซื้อ ขายกันส่วนใหญ่ มีตั้งแต่ซื้อ ขายกันเองในหมู่บ้าน ตลาดท้องถิ่น ตลาดสดประจาตาบล อาเภอ จังหวัด ราคามีรายละเอียดโดยประมาณ ดังนี้ 1. ขายเป็นพ่อแม่พันธุ์ ชุดละ 10 – 20 บาท แต่ละชุดมีตัวผู้ 1 ตัว และตัวเมีย 2 ตัว สาหรับไปเลี้ยงได้ 1 คอนโด
  • 22. 22 2. ขายจิ้งหรีดสด ระยะตัวอ่อนซึ่งเป็นวัยสุดท้าย (กั๊กใหญ่) หรือตัวเต็มวัย ราคาร้อยละ 30 – 50 บาท โดยผู้ซื้อจะนาไปประกอบอาหาร สาหรับการขายเป็นกิโลกรัม ราคารับซื้อจิ้งหรีดสด กิโลกรัมละ 150 – 200 บาท 3. ขายไข่จิ้งหรีด ใน 1 คอนโด จิ้งหรีดจะวางไข่ใส่ในถาดที่เตรียมไว้ ประมาณ 10 ถาด ราคาถาดละ 50 บาท 4. คั่วหรือทอดขาย ราคาประมาณกิโลกรัมละ 300 บาท 5. แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ ราคาแล้วแต่ชนิดของผลิตภัณฑ์ จิ้งหรีดคั่วสมุนไพร น้าพริกจิ้งหรีด
  • 23. 23 บทที่ 5 ภูมิปัญญาในการเลี้ยงจิ้งหรีด ภูมิปัญญาท้องถิ่นในเรื่องการเลี้ยงจิ้งหรีด ในพื้นที่ตาบลผักไหม จังหวัดสุรินทร์ มีเทคนิคใน การเลี้ยงจิ้งหรีดที่สาคัญ ดังนี้ 1. การเลี้ยงจิ้งหรีดในกล่องพลาสติกลูกฟูก 1.1 อุปกรณ์ 1. การเตรียมพื้นที่ ซึ่งพื้นที่ที่เหมาะจะต้องมีหลังคามุง ปูองกันแดดและฝนได้ดี หรือใช้พื้นที่ใต้ถุนบ้าน ไม่จาเป็น ต้องเทพื้นซีเมนต์ แต่ต้องระวังมดให้ดี 2. อุปกรณ์ในการเลี้ยงจิ้งหรีดกล่องพลาสติกลูกฟูก (ต่อหนึ่งรัง) 2.1 พลาสติกลูกฟูก (ฟิวเจอร์บอร์ด) แผ่นใหญ่ 2.2 ตาข่ายไนล่อน 100 x 100 ซม. จานวน 1 ผืน 2.3 ถาดอาหาร-น้า กว้าง x ยาว = 5 x 10 ซ.ม. ลึก 1 ซ.ม. หรือ กะลามะพร้าวใส่ก้อนหิน 2.4 กระดาษรังไข่ จานวน 8 แผง 2.5 ถาดใส่ดินร่วนปนทรายหนา 2 ซ.ม. 2.6 หัวอาหารอาหารไก่ 2.7 ไม้หนีบผ้า 2.8 เทปกาวใส 2.9 ชอล์กฆ่ามด 2.10 เชือกฟาง 2.11 เข็ม 2.12 ลวด 1.2 ขั้นตอนการเลี้ยงจิ้งหรีด 1. พลาสติกลูกฟูก (ฟิวเจอร์บอร์ด) แผ่นใหญ่มาตัดด้านข้างทั้ง 2 ด้าน ยาว ด้านละ 30 เซนติเมตร พับขึ้นทั้ง 2 ด้านให้เป็นกล่อง 2. ในกล่องพลาสติกมีกระดาษลังไข่ ประมาณ 8 ลัง เพื่อใช้เป็นที่อยู่อาศัย ของจิ้งหรีด มีถาดอาหาร-น้า มีถาดใส่ดินร่วนปนทราย เพื่อเป็นที่สาหรับฟักไข่
  • 24. 24 3. นาถาดไข่จิ้งหรีดที่เพาะพันธ์ไว้แล้วมาวางไว้ในกล่องพลาสติกลูกฟูก (ฟิว เจอร์บอร์ด) แผ่นใหญ่ และจะฟักออกจากไข่กลายเป็นตัวอ่อน ประมาณ 35-40 วัน และเป็นตัวเต็ม วัยประมาณ 45-60 วัน 4. การให้น้าควรเปลี่ยนน้าทุก 2 วัน 5. คลุมด้วยตาข่ายไนล่อนเพื่อปูองกันการบินและปูองกันศตรูเข้าทาลาย 1.3 วิธีการจัดการกล่องพลาสติกลูกฟูก (ฟิวเจอร์บอร์ด) มีดังนี้ 1. เมื่อวางกล่องพลาสติกลูกฟูกและหาที่วางเลี้ยงได้อย่างเหมาะสมแล้ว ควร ทาความสะอาดให้เรียบร้อยและให้มิดชิด เพื่อปูองกันมดที่เป็นศัตรูสาคัญเข้าทางด้านล่างและ ด้านข้างของกล่อง 2. ภายในกล่องพลาสติกลูกฟูกใส่ถุงดินหรือกะบะดินร่วนปนทราย หรือดิน ทรายที่มีความชื้นพอประมาณ น้าหนักดินประมาณ 1 - 2 ก.ก. วางไว้ข้าง ๆ ภายในกล่องสาหรับให้ จิ้งหรีดวางไข่ 3. ใส่หญ้าแห้ง 1 กามือ หรือกะลามะพร้าว หรือเข่งปลาทูไว้ตรงกลางกล่อง เพื่อเป็นที่หลบซ่อนหรือเป็นที่อยู่อาศัยของตัวจิ้งหรีด 4. ใส่หญ้าสดอ่อน 1 กามือข้างหญ้าแห้ง สาหรับเป็นอาหารของจิ้งหรีด (อาหารหลัก) 5. ใส่ถาดอาหารแบน ๆ (อาหารเสริม) เช่น ราอ่อน ปลายข้าว อาหารไก่ อาหารปลา 1 อัน 6. วางถาดน้าแบน ๆ ภายในถาดน้าให้ใช้ก้อนหินหรือก้อนอิฐแดงทุบเป็นชิ้น เล็ก ๆ ให้เกือบเต็มแล้วเติมน้าลงให้เต็ม วางไว้ใกล้ ๆ กับถาดอาหาร 1 อัน 2. การคัดเลือกพ่อพันธุ์ แม่พันธุ์ คัดเลือกพ่อพันธุ์ แม่พันธุ์ ที่มีตัวโต แข็งแรง มีอวัยวะครบทุกส่วน มีสีเข้ม สาหรับ จิ้งหรีดพันธุ์เล็กควรเป็นสีน้าตาลอมเหลือง ปล่อยพ่อพันธุ์ แม่พันธุ์จิ้งหรีดใส่ในคอนโดในอัตรา 1 : 3 (พ่อพันธุ์ 1 ตัว : แม่พันธุ์ 3 ตัว) โดยเลือกผสมพันธ์ข้ามคอนโด หลังปล่อยพ่อพันธุ์ แม่พันธุ์แล้ว 3 ตัว ควรตรวจเช็คดุ ถ้าตายต้องหามาทดแทน 3. การผสมพันธุ์และการวางไข่ เตรียมภาชนะวางไข่ของจิ้งหรีดโดยใช้ขี้เถ้าแกลบเผาผสมดินร่วนฉีดน้าให้ชุ่ม พอประมาณ ใส่ในถาดแบน ๆ วางในคอนโด คอนโดละ 3 ถาด ฉีดสเปรย์พ่นน้า เพื่อให้จิ้งหรีดเข้าใจ ว่าเป็นฤดูฝน หลังจากนั้นจิ้งหรีดตัวเมีย จะวางไข่ เพราะจิ้งหรีดจะไข่ในฤดูฝนเท่านั้น ซึ่งจะใช้
  • 25. 25 ระยะเวลาวางไข่ 2 – 3 วัน ตัวเมีย 1 ตัว จะวางไข่ได้ 1,000 ฟอง และการผสมพันธุ์ที่ทาให้จิ้งหรีดได้ พันธุ์ใหม่ที่แข็งแรง โตเร็ว ใช้วิธีการง่าย ๆ คือ การนาจิ้งหรีดผสมข้ามคอนโด เพราะถ้าผสมในคอนโด เดียวกันจะทาให้ได้สายพันธุ์ใกล้กัน ลูกจิ้งหรีดที่ออกมาจะตายเป็นส่วนใหญ่ 4. การสังเกตพฤติกรรมของจิ้งหรีดโดยการฟังลักษณะของเสียง การทาเสียงของจิ้งหรีด ทาได้เฉพาะจิ้งหรีดเพศผู้ โดยการใช้ปีกคู่หน้าถูหรือสีกัน ปกติจิ้งหรีดปีกจะซ้อนกันเหนือลาตัว ในเพศผู้ปีกคู่หน้าปีกขวาจะทับปีกซ้าย เพศเมียปีกซ้ายทับปีก ขวา การทาเสียง โดยยกปีกคู่หน้าขึ้น ใช้ขอบของโคนปีกซ้ายถูหรือสีกับฟันซี่เล็ก ๆ ที่เรียงกันเป็นแถว ที่โคนด้านในของปีกขวา มีจังหวะเสียงจากการโยกตัว ลักษณะเสียงจะบ่งบอกถึงพฤติกรรมในการ สื่อสารขณะนั้น เช่น 1. เสียง กริก...กริก...กริก... นาน ๆ แสดงว่าอยู่โดดเดี่ยวหรือต้องการหาคู่ 2. เสียง กริก...กริก...กริก... มีลากเสียงยาว แสดงว่าเป็นการบ่งบอกถึงอาณา เขตที่อยู่อาศัย 3. เสียง กริก...กริก...กริก... เบา ๆ และถี่ ๆ ติดต่อกัน แสดงว่าต้องการผสมพันธุ์ พฤติกรรมนี้เพศผู้จะทาเสียง กริก...กริก... ๆ โดยการถอยหลังเข้าหาเพศเมีย ถ้าเพศเมียเต็มใจ เพศ เมียก็จะขึ้นคร่อมเพศผู้ เพื่อทาการผสมพันธุ์ 4. เสียง กริก...กริก...กริก... ยาวดัง ๆ 2 - 3 ครั้ง แสดงว่าโกรธหรือส่งเสียง ระหว่างกัดกัน ระหว่างเพศผู้กับเพศผู้เพื่อแย่งความเป็นเจ้าของ หรือระหว่างเพศผู้กับเพศเมียก็ได้ เมื่อเพศเมียไม่ยอมเป็นใจขึ้นคร่อมผสมพันธุ์ 5. การให้อาหารและน้า 1. อาหารหลักสาหรับจิ้งหรีด เป็นพืชประเภทยอดอ่อนของหญ้าสดทุกชนิด เช่น หญ้าขน หญ้าลูซี่ ผักตบชวา กาบกล้วย ผักบุ้ง มัมสาปะหลัง ฯลฯ 2. อาหารเสริม (อาหารสาเร็จรูป) เช่น อาหารไก่ อาหารปลา ราอ่อน ฯลฯ 3. อาหารเสริม (อาหารจากธรรมชาติ) เช่น น้าผึ้ง น้าอ้อย น้าส้มคั้น ฯลฯ 4. การให้อาหารหลัก อาหารเสริม และน้า ควรให้ 2 วัน/ 1 ครั้ง อาหารจานหลัก จะให้ครั้งละ 1 กามือ อาหารเสริมจะให้มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับปริมาณและขนาดของจิ้งหรีด แต่ต้อง ไม่ให้จานวนมากเกินไป เพราะจะทาให้เกิดเชื้อรา 5. การให้อาหารจิ้งหรีด ระยะตัวอ่อน จะให้อาหารเสริม คือ ราอ่อน ถ้าเป็นหัวอาหารให้ใช้หัวอาหารปลา กินพืชบดละเอียดเท่านั้น
  • 26. 26 ระยะตัวเต็มวัย ให้อาหารธรรมชาติ คือ หญ้าใบผักสีเขียวทุกชนิดที่มีตาม ธรรมชาติ ระวังอย่าใช้ผักตามท้องตลาด เพราะอาจมีสารเคมีปนเปื้อน จิ้งหรีดกินแล้วจะตายการให้ อาหารควรสังเกตดูสีของจิ้งหรีด ถ้าจิ้งหรีดมีสีดาคล้าแสดงว่าได้โปรตีนมากเกินไป ควรจะเพิ่มฟักทอง ให้กินจะได้มีสีอมเหลืองสวย 6. หญ้าสดที่ให้จิ้งหรีดไม่ต้องเอาออกจากคอนโด ปล่อยให้แห้งภายในบ่อจะได้เป็น ที่หลบซ่อนตัวของลูกจิ้งหรีด แต่ระวังอย่าให้หญ้าทับถมกันจนเน่าจะทาให้เกิดความร้อนลูกจิ้งหรีด อาจตายได้ หากเกิดการเน่าให้นาออกทิ้งไป 6. วิธีป้องกันโรคทางเดินอาหาร การเกิดโรคทางเดินอาหารของจิ้งหรีด เกิดจากจิ้งหรีดได้รับอาหารที่ไม่สะอาดเกิดเชื้อรา วิธีปูองกันคือ ต้องให้อาหารที่มีจานวนพอเหมาะกับจานวนของจิ้งหรีด หมั่นทาความสะอาดอย่าให้ อาหาร เกิดเชื้อรา อาหารเสริมควร เปลี่ยนทุกครั้งเมื่อให้อาหาร เมื่อเก็บผลผลิตจนหมดแล้ว ควรทา ความสะอาดวงบ่อให้สะอาด ก่อนนาจิ้งหรีดรุ่นใหม่มาเลี้ยงต่อไป 7. การจับจิ้งหรีด เมื่อเลี้ยงลูกจิ้งหรีดจนอายุประมาณ 46 วัน ขึ้นไป ลูกจิ้งหรีดโตพร้อมที่จะจับจาหน่าย ได้ โดยพฤติกรรม ของจิ้งหรีดแล้ว ตอนกลางวันจิ้งหรีดจะหาที่หลบซ่อน พอมืดค่าจิ้งหรีดจะออกหา อาหาร อาศัยพฤติกรรมเหล่านี้ ให้ใช้ กระบอกไม้ไผ่ หรือท่อพลาสติกก็ได้ ตัดเป็นท่อนๆ วางไว้กับพื้น บ่อ จิ้งหรีดจะเข้าไปหลบอาศัย เวลาจะเก็บก็ยกกระบอกไม้ไผ่ หรือท่อพลาสติก เคาะใส่ในถุงหรือ ตะกร้าที่ จัดเตรียมไว้โดยไม่ต้องยุ่งยากใช้มือไล่จับทีละตัว ซึ่งเสียเวลามาก