SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
การวางโครงเรื่อง คือ การเรียบเรียง
ความคิดว่าจะเขียนเรื่องอะไร เกี่ยวข้องกับสิ่งใด
ใจความสาคัญมีอะไร ได้เนื้อหาครบถ้วนหรือไม่
มีข้อมูลใดที่ต้องค้นคว้าเพิ่มเติม การวางโครงเรื่อง
ก่อนลงมือเขียนจะช่วยทาให้งานเขียนสมบูรณ์
ไม่วกวนสับสน เพราะมีการลาดับความที่ดี
การเขียนเรียงความจาเป็ นต้องวางโครงเรื่อง
ก่อนเพื่อช่วยให้เนื้อหาของเรียงความมีเอกภาพ การวาง
โครงเรื่องเป็ นการนาเอาประเด็นสาคัญมาจัดเรียงให้
เป็ นระบบ โดยยึดจุดประสงค์และขอบข่ายของเรื่อง
เป็ นเกณฑ์ ทาให้ผู้เขียนสามารถกาหนดได้ว่าควรจะ
เขียนอะไรก่อนอะไรหลัง เป็ นแนวทางในการเขียน
รายละเอียดต่อไป รวมทั้งเป็ นแนวทางให้งานเขียนอยู่
ในกรอบไม่ออกนอกเรื่อง
ลักษณะโครงเรื่องที่ดีมีดังนี้ คือ
1. มีขอบข่ายของเรื่อง คือ เนื้อหาอยู่ในขอบข่าย
จากัดไม่ออกนอกเรื่อง
2. เนื้อหาไม่ซ้าซ้อน คือ เนื้อหาในแต่ละส่วน
ต้องไม่ซ้ากัน เพราะจะทาให้การดาเนินเรื่อง
สับสนและวกวน
การวางโครงเรื่องด้วยวิธีต่าง ๆ
1. การวางโครงเรื่องด้วยการใช้หัวข้อต่าง ๆ
1.1 เรื่องเกี่ยวกับสถานที่ เช่น โรงเรียน อนุสาวรีย์ วัด
ฯลฯ ควรมีหัวข้อตามลาดับดังนี้
(พิณเพชร บูรณภิญโญ, 2545: 141-142)
ก.ประวัติ
ข.ที่ตั้ง
ค.ลักษณะ
ง.ความสาคัญ
1.2 เรื่องเกี่ยวกับบุคคล เช่น พระมหากษัตริย์ กวี
วีรบุรุษ บุคคลสาคัญ ฯลฯ ควรมีหัวข้อตามลาดับ
ดังนี้
ก.กาเนิด
ข.การศึกษา
ค.งาน-ผลงานทั่วไป
ง.งานเด่น,สาคัญ
จ.เกียรติคุณ
1.3 เรื่องเกี่ยวกับนิทาน นิยาย เรื่องเล่า ควรมีหัวข้อ
ตามลาดับ ดังนี้
ก.ที่มา
ข.เวลาและสถานที่
ค.เนื้อเรื่อง
ง.คติธรรม
1.4 เรื่องเกี่ยวกับคุณธรรม เช่น ความซื่อสัตย์
ความเพียร ความสามัคคี ฯลฯ ควรมีหัวข้อ
ตามลาดับ ดังนี้
ก.ความหมาย
ข.การปฏิบัติ
ค.ประโยชน์
ง.อุทาหรณ์
1.5 เรื่องเบ็ดเตล็ด เช่น เรื่องชีวิตความเป็ นอยู่ รูปร่าง ลักษณะ
ของมนุษย์ งานรื่นเริง กิจกรรม ประเพณี พิธีการต่างๆ
งานเขียนประเภทนี้ แล้วแต่ว่าผู้เขียนจะคิดและลาดับความ
ขึ้นเอง แต่ควรยึดหลักสาคัญ คือ
ก.ต้องเขียนให้ชัดเจน ผู้อ่านจะได้เข้าใจหรือเห็น
เหตุการณ์ตามไปด้วย
ข.ต้องรู้จักหยิบยกเอาสิ่งที่เด่นและน่าสังเกตมากล่าว
ค.พยายามเลือกสรรคามาใช้ ให้คาเหล่านั้นแสดง
ความหมายเด่นชัด
ตัวอย่างการวางโครงเรื่อง “สุนทรภู่”
(พิณเพชร บูรณภิญโญ, 2545: 145-146)
1. กาเนิด
1.1 ชื่อเดิม
1.2 บิดา-มารดา
1.3 วันเดือนปี เกิด
1.4 สถานที่เกิด
1.5 ชีวิตวัยเด็ก
1.6 ช่วงชีวิตที่สาคัญๆ
2. การศึกษา
2.1 เบื้องต้น
2.2 ความสนใจ-ความสามารถ
3. ผลงาน
3.1 เริ่มแรก
3.2 ต่อมา
3.3 บั้นปลาย
4. งานเด่น
5. เกียรติคุณ
5.1 กวี 4 สมัย
5.2 ครูกลอนสอนธรรม
5.3 กวีเอกของโลก
2. การวางโครงเรื่องด้วยการใช้แผนภาพโครงเรื่อง
2.1 การวางหัวข้อโครงเรื่องอย่างเป็ นระบบ โดยแบ่งเป็ น
ขั้นตอนหรือเป็ นระดับ จัดเป็ นกลุ่มๆ เป็ นหมวดหมู่
เช่น โครงเรื่อง เครื่องสาอางจากสมุนไพรไทย
มีลักษณะดังนี้
เครื่องสาอางจาก
สมุนไพรไทย
ปลอดสารเคมี ผลต่อการใช้
ประโยชน์
หลายด้าน
สร้าง
ภูมิคุ้มกัน
ร่างกาย
ไม่เป็น
อันตราย
ต่อผิวหนัง
เสริมสร้าง
สุขภาพจิต
ราคาถูก
ลงทุน
คุ้มค่า
ส่งขาย
ต่าง
ประเทศ
ร่างกาย จิตใจ วิชาชีพ
ในกรณีที่เหตุการณ์ในเรื่องที่เขียนเป็ นเรื่อง
ทั่วๆ ไป ต้องการอธิบายรายละเอียดของสิ่งนั้นๆ
ให้ชัดเจนว่าประกอบด้วยอะไรบ้าง เช่น สัตว์
สิ่งของ เป็ นต้น สามารถวางแผนภาพเป็ น
ลักษณะต่างๆ กันไปได้หลายแบบ เช่น
แผนภาพโครงเรื่องเกี่ยวกับสัตว์สี่เท้า สองเท้า
แมว สุนัข นก ฯลฯ
นก
รูปร่าง
ลักษณะ
การ
สืบพันธุ์
ประโยชน์
จากนก
ภัย,โทษ
จากนก
อาหาร
ของนก
ที่อยู่
อาศัย
ของนก
2.2 ถ้าเหตุการณ์ในเรื่องเป็ นเรื่องราวที่ดาเนินไป
อย่างต่อเนื่อง มีบทสนทนา มีฉาก เวลา
โอกาส สถานการณ์ต่างๆ นาคาถามจาก
5 W 1 H มาใช้ถาม สร้างเป็ นแผนภาพ
โครงเรื่องอีกรูปแบบหนึ่ง ดังตัวอย่าง
แผนภาพโครงเรื่อง
เรื่อง...........................................
ตัวละคร
ฉาก
เวลา
สถานที่
แนวคิด ปัญหา
เหตุการณ์ (ใคร ทาอะไร ผลเป็ นอย่างไร)
1………………………………………………………………………………………………….
2……………………………………………………………………………………………….....
3…………………………………………………………………………………………………
ฯลฯ
เหตุการณ์สุดท้าย……………………………………………………………………………….

More Related Content

What's hot

หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 
หน่วยที่ 9 ขั้นตอนการเขียนเรียงความ
หน่วยที่ 9 ขั้นตอนการเขียนเรียงความหน่วยที่ 9 ขั้นตอนการเขียนเรียงความ
หน่วยที่ 9 ขั้นตอนการเขียนเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 
หน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุป
หน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุปหน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุป
หน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุปขนิษฐา ทวีศรี
 
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่องหน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่องขนิษฐา ทวีศรี
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1Yui Siriwararat
 
จดหมาย
จดหมายจดหมาย
จดหมายkroonoi06
 
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญPiyarerk Bunkoson
 
หน่วยที่ 6 การเขียนย่อหน้าคำนำ
หน่วยที่ 6  การเขียนย่อหน้าคำนำหน่วยที่ 6  การเขียนย่อหน้าคำนำ
หน่วยที่ 6 การเขียนย่อหน้าคำนำขนิษฐา ทวีศรี
 
การอ่านจับใจความ
การอ่านจับใจความการอ่านจับใจความ
การอ่านจับใจความmayavee16
 
การเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความการเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความพัน พัน
 
วิธีจับใจความสำคัญ
วิธีจับใจความสำคัญวิธีจับใจความสำคัญ
วิธีจับใจความสำคัญRung Kru
 
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญหลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญRung Kru
 
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความพัน พัน
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3สุภาพร สิทธิการ
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน0872191189
 
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยหลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยน้อง มัดไหม
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1พัน พัน
 
บทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความบทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความAj.Mallika Phongphaew
 

What's hot (20)

หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
 
หน่วยที่ 9 ขั้นตอนการเขียนเรียงความ
หน่วยที่ 9 ขั้นตอนการเขียนเรียงความหน่วยที่ 9 ขั้นตอนการเขียนเรียงความ
หน่วยที่ 9 ขั้นตอนการเขียนเรียงความ
 
หน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุป
หน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุปหน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุป
หน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุป
 
หน่วยที่ 9
หน่วยที่ 9หน่วยที่ 9
หน่วยที่ 9
 
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่องหน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
จดหมาย
จดหมายจดหมาย
จดหมาย
 
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
 
หน่วยที่ 6 การเขียนย่อหน้าคำนำ
หน่วยที่ 6  การเขียนย่อหน้าคำนำหน่วยที่ 6  การเขียนย่อหน้าคำนำ
หน่วยที่ 6 การเขียนย่อหน้าคำนำ
 
การอ่านจับใจความ
การอ่านจับใจความการอ่านจับใจความ
การอ่านจับใจความ
 
การเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความการเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความ
 
วิธีจับใจความสำคัญ
วิธีจับใจความสำคัญวิธีจับใจความสำคัญ
วิธีจับใจความสำคัญ
 
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญหลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
 
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
 
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยหลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
 
บทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความบทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความ
 

หน่วยที่ 5