SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี <br />(Rate of Chemical Reaction) <br />จากการศึกษาวิชาเคมีที่ผ่านมา เราได้ศึกษาสมบัติต่าง ๆ ของก๊าซ ของเหลว ของแข็ง และสารละลาย สมบัติในระดับโมเลกุลและพิจารณาปฏิกิริยาประเภทต่าง ๆ ไปแล้ว การศึกษาขั้นต่อไปคือการศึกษาว่าเมื่อปฏิกิริยาเกิดขึ้นแล้วจะดำเนินต่อไปได้รวดเรวเพียงใด และจะเกิดขึ้นได้มากน้อยเพียงใดจึงจะสิ้นสุด <br />ภาพที่ 1 The Wide range of reaction rates. (Silberberg . 2003) <br />(A) An explosion is much faster than the process of ripening <br />(B) Process of ripening which is much faster than the process of rusting <br />(C) Process of rusting which is much faster than the process of human age <br />(D) Process of human age. <br />เคมีที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเรียกว่า จลนศาสตร์เคมี (Chemical Kinetics) ซึ่งตามปกติคำว่า “จลนศาสตร์” มีความหมายเกี่ยวเนื่องกับการเคลื่อนที่ ซึ่งเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับ อัตราการเกิดปฏิกิริยา (rate of chemical reaction) ซึ่งปฏิกิริยาหนึ่ง ๆ ภายในสภาวะเดียวกัน จะมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉพาะค่าหนึ่งซึ่งขึ้นอยู่กับธรรมชาติของสารตั้งต้น เช่น ปฏิกิริยาของก๊าซไฮโดรเจนกับก๊าซฟลูออรีนและก๊าซไนโตรเจน <br />H2 (g) + F2 (g) 2HF very fast <br />3H2 (g) + N2 (g) 2NH3 very slow <br />การศึกษาอัตราของปฏิกิริยาเคมีเป็นวิชาหนึ่งของวิชาเคมี ไม่เพียงแต่วัดอัตราของปฏิกิริยาเท่านั้น ยังศึกษาถึงปัจจัยต่าง ๆ ที่มีอิทธิพลต่ออัตราของปฏิกิริยานั้น <br />1. ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา ได้แก่ <br />1.1 ธรรมชาติของสารตั้งต้น (reactant) และผลิตผล (product) ปฏิกิริยาจะเกิดขึ้นช้าหรือเร็วขึ้นอยู่กับธรรมชาติของสาร เช่น โดยทั่วไปสารที่ทำปฏิกิริยาเป็นสารไอออนิกทั้งคู่จะเกิดปฏิกิริยาเร็วกว่าสารที่เป็นโควาเลนท์ สารที่ทำปฏิกิริยาเป็นก๊าซทั้งคู่จะทำปฏิกิริยาได้เร็วกว่าปฏิกิริยาที่สารอยู่ในสถานะต่างกัน <br />1.2 ความเข้มข้นของสารตั้งต้นและผลิตผล ความเข้มข้นของสารจะมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิกิริยาเคมี จากปฏิกิริยาระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับกรดไฮโดรคลอริกช่วงแรกปฏิกิริยาจะเกิดเร็วมากและจะค่อย ๆ ช้าลงในการเกิดก๊าซ H2 ยิ่งเวลาผ่านไปนานเท่าใดอัตราการเกิดปฏิกิริยาจะยิ่งลดลงเท่านั้น <br />1.3 พื้นที่ผิว พื้นที่ผิวจะมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ปฏิกิริยาวิวิธพันธุ์เกิดขึ้นที่ผิวของวัฏภาค ดังนั้นยิ่งเพิ่มพื้นที่ผิวของตัวทำปฏิกิริยา ปฏิกิริยาก็ยิ่งเกิดขึ้นเร็ว เช่นปฏิกิริยาของสังกะสีกับกรดไฮโดรคลอริกเจือจางซึ่งให้ก๊าซไฮโดรเจน ถ้าใช้สังกะสีชิ้นโตปฏิกิริยาเกิดช้าแต่ถ้าใช้สังกะสีชิ้นเล็กหรือผงสังกะสีปฏิกิริยาจะเกิดรวดเร็ว ทั้งนี้เพราะในปริมาณที่เท่ากันเมื่อขนาดชิ้นวัตถุยิ่งเล็กลงพื้นที่ผิวยิ่งมากขึ้น <br />1.4 อุณหภูมิ การเพิ่มอุณหภูมิทำให้ปฏิกิริยาเร็วขึ้น เป็นที่พบเห็นอยู่เสมอว่าเมื่อใดต้องการให้ปฏิกิริยาเกิดเร็วขึ้น เราจะต้องต้มหรือเผาตัวทำปฏิกิริยา ถ้าปล่อยให้สารทำปฏิกิริยากันเองในอุณหภูมิธรรมดา บางทีอาจไม่เกิดปฏิกิริยาขึ้นเลยก็ได้หรือเกิดช้ามาก น้ำมันตั้งทิ้งไว้ในอากาศเฉย ๆ ไม่ลุกไหม้แต่พอจุดไฟเข้าที่น้ำมัน น้ำมันจะทำปฏิกิริยากับออกซิเจนลุกไหม้เป็นเปลวไฟ <br />1.5 ตัวเร่งปฏิกิริยา ตัวเร่งปฏิกิริยาคือสารซึ่งเพิ่มอัตราของปฏิกิริยาโดยตัวเองไม่ได้เปลี่ยนแปลงไปด้วยเมื่อเสร็จสิ้นปฏิกิริยา เช่นในการเผาโพแทสเซียมคลอเรต แมงกานีสไดออกไซด์ที่ใส่ลงไปเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาอาจเป็นชนิดก้อนเล็ก ๆ แต่เมื่อเสร็จปฏิกิริยาแล้วก้อนแมงกานีสไดออกไซด์แปรสภาพเป็นผงละเอียด <br />1.6 ความดัน ความดันจะมีผลต่อปฏิกิริยาในกรณีปฏิกิริยาที่เกี่ยวกับก๊าซ กล่าวคือเมื่อเพิ่มความดันโมเลกุลของก๊าซจะชนกันมากขึ้นปฏิกิริยาจะมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเร็วขึ้น <br />2. การอธิบายการเกิดปฏิกิริยาเคมี <br />ปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้นได้อย่างไร นักวิทยาศาสตร์พยายามอธิบาย ทฤษฎีหนึ่งที่ตอบคำถามนี้ได้คือ ทฤษฎีการชน (Collision theory) และ ทฤษฎีทรานซิชันสเตด (Transition state theory) <br />2.1 ทฤษฎีการชน (Collision theory) มีหลักทั่วไปกล่าวว่า การเกิดปฏิกิริยาเคมี โมเลกุลของสารตั้งต้นหรือสารที่เข้าทำปฏิกิริยาจะต้องเกิดการชนกันก่อน พิจารณาปฏิกิริยาระหว่างโมเลกุลของสาร A กับ Bโดยตรง ถ้าเพิ่มความเข้มข้นของ A เป็นสองเท่า จำนวนการชนระหว่าง A – B ก็จะเพิ่มเป็นสองเท่าเนื่องจากจำนวนโมเลกุลของ A ที่จะชนกับ B เพิ่มเป็นสองเท่า ดังนั้นอัตราการเกิดปฏิกิริยาก็เพิ่มเป็นสองเท่าด้วย ในทำนองเดียวกันการเพิ่มความเข้มข้นของ B เป็นสองเท่าก็จะทำให้อัตราเพิ่มเป็นสองเท่าเช่นกัน นอกจากนี้โมเลกุลของสารตั้งต้นจะต้องชนกันในทิศทางที่เหมาะสมด้วย เช่น ปฏิกิริยาระหว่างก๊าซไฮโดรเจนกับก๊าซไอโอดีนเกิดก๊าซไฮโดรเจนไอโอไดด์ โมเลกุลของก๊าซไฮโดรเจนและก๊าซไอโอดีน หรือ ปฏิกิริยาของออกซิเจนกับไนโตเจนออกไซด์ <br />ภาพที่ 2 การจัดตัวของโมเลกุล H2 และ I2 <br />เมื่อพิจารณาการชนกันของโมเลกุล H2 และ I2 พบว่าการชนกันแบบ ข. มีโอกาสที่จะเกิดปฏิกิริยาเคมีได้มากกว่าแบบ ก เนื่องจากมีทิศทางในการชนกันของทั้งสองโมเลกุลมีความเหมาะสม ทฤษฎีการชนมีหลักการที่สอดคล้องกับหลักความเป็นจริง แต่เราพบว่าความสัมพันธ์ระหว่างอัตรากับการชนของโมเลกุลซับซ้อนกว่านี้ ในทางปฏิบัติพบว่าหลาย ๆ กรณีปฏิกิริยาไม่ได้เกิดขึ้นเพราะการชนกันแต่เพียงอย่างเดียว จากการทดลองและคำนวณพบว่าจำนวนครั้งของการชนกันที่ได้ผลเป็นเพียงเศษส่วนน้อยมากของจำนวนครั้งของการชนกันทั้งหมด จากการคำนวณพบว่าในปฏิกิริยาทั่วไป การชนกันที่ได้ผลมีเพียง 1 ใน 107 ครั้งเท่านั้นโดยประมาณ <br />โมเลกุลที่เข้าชนกันจะมีการเปลี่ยนแปลงของพลังงานจลน์และพลังงานศักย์ เมื่อสองโมเลกุลเข้าใกล้กันและกันจะเกิดแรงผลักระหว่างกลุ่มหมอกของอิเล็กตรอน เป็นเหตุให้โมเลกุลเคลื่อนที่ช้าลง พลังงานจลน์ของโมเลกุลจะลดลง ในขณะเดียวกันพลังงานศักย์จะเพิ่มขึ้น หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า พลังงานจลน์เปลี่ยนไปเป็นพลังงานศักย์ขณะที่โมเลกุลชนกัน ถ้าโมเลกุลเคลื่อนที่ช้า (พลังงานจลน์ต่ำ) เข้าชนกัน พลังงานศักย์ที่ได้จากพลังงานจลน์ไม่เพียงพอที่จะเอื้ออำนวยให้กลุ่มหมอกอิเล็กตรอนจัดเรียงตัวใหม่ โมเลกุลทั้งสองจะเคลื่อนที่ออกจากกันโดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น ตรงกันข้าม ถ้าโมเลกุลเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูง (พลังงานจลน์สูง) เข้าชนกันพลังงานศักย์ที่ได้จากพลังงานจลน์สูงพอที่จะเอื้ออำนวยให้กลุ่มหมอกอิเล็กตรอนทะลุทะลวงกันและกัน เกิดการสลายของพันธะเดิมและสร้างพันธะใหม่เกิดผลิตผลขึ้น และเมื่อผลิตผลที่ได้เคลื่อนที่ออกไป พลังงานศักย์จะลดลงขณะที่พลังงานจลน์เพิ่มขึ้น โมเลกุลเหล่านี้จึงเคลื่อนที่เร็วขึ้น สรุปได้ว่าโมเลกุลที่มีพลังงานจลน์สูง (พลังงานศักย์สูงเมื่อชนกัน) เท่านั้นที่เกิดปฏิกิริยาได้ และพลังงานขั้นต่ำสุดที่โมเลกุลจะต้องมีเพื่อเอื้ออำนวยให้เกิดปฏิกิริยาก็คือพลังงานก่อกัมมันต์ (activation energy , Ea) นั่นเอง ถ้ามีพลังงานไม่ถึงค่านี้โมเลกุลก็จะไม่มีการเปลี่ยนแปลงหลังจากการชน <br />ภาพที่ 3 การเปลี่ยนแปลงพลังงานศักย์สำหรับปฏิกิริยาคายความร้อนและดูดความร้อน <br />2.2 ทฤษฎีทรานซิชันสเตด (Transition state theory) หรือทฤษฎีสถานะ ทรานซิชัน หรือทฤษฎีสารเชิงซ้อนกัมมันต์ เป็นอีกทฤษฎีหนึ่งที่เกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาและอัตราการเกิดปฏิกิริยาทฤษฎีนี้ขยายความคิดเรื่องการชนออกไปอีก อธิบายได้ว่า ในการเกิดปฏิกิริยาจะต้องมีการเปลี่ยนแปลงที่พันธะบางพันธะอาจยืดและแตกออกไปแล้วเกิดพันธะใหม่ชั่วขณะหนึ่งที่อนุภาคเข้ามาปะทะกันมันจะรวมกันเกิดเป็นสารเชิงซ้อนชนิดหนึ่ง เรียกว่า แอกติเวเตดคอมเพล็ก (activated complex) ซึ่งไม่เสถียรและปรากฏอยู่บนสุดยอดของเส้นโค้งของแผนภาพแสดงพลังงานศักย์กับการดำเนินไปของปฏิกิริยา แอกติเวเตดคอมเพล็กนี้ไม่ใช่สารตั้งต้นหรือสารผลิตผล แต่เป็นการรวมเข้าด้วยกันของอะตอมของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา ดังนี้ <br />A – A A A A A <br />B – B B B B + B <br />แอกติเวเตดคอมเพล็ก <br />เส้นขีด ---- ระหว่างอะตอมในแอกติเวเตดคอมเพล็ก แสดงให้เห็นว่าพันธะระหว่าง A-A และ B-B เริ่มสลายลง และพันธะ A-B ของผลิตผลเริ่มเกิดขึ้น และวงเล็บมีความหมายว่า แอกติเวเตดคอมเพล็กนี้ไม่เสถียร ซึ่งอาจเกิดการเปลี่ยนแปลงได้ 2 อย่างคืออาจเกิดเป็นผลิตผลหรือสารตั้งต้นก็ได้สุดยอดของเส้นโค้งของพลังงานศักย์ที่พบแอกติเวเตดคอมเพล็กเรียกว่า ทรานซิชันสเตด (transition state แปลว่าภาวะที่เกิดการเปลี่ยนแปลง) <br />- <br />ถ้าสารตั้งต้นมีพลังงานจลน์สูงไม่มาก การปะทะกันจะให้พลังงานศักย์สูงไม่พอที่จะทำให้เกิดสารเชิงซ้อนก่อกัมมันต์ โมเลกุลทั้งสองก็อาจแยกออกจากกันไปเลยโดยไม่เกิดอะไรขึ้น ความแตกต่างระหว่างพลังงานของสารเชิงซ้อนก่อกัมมันต์ (พลังงานที่เป็นค่าสูงสุด) กับพลังงานของตัวทำปฏิกิริยา คือ พลังงานก่อกัมมันต์ นั่นเอง <br />3. พลังงานก่อกัมมันต์ <br />ดังที่เสนอไว้ในทฤษฎีของการชนว่า การชนกันที่จะให้เป็นผลสำเร็จนั้นต้องประกอบด้วยการชนในทิศทางที่เหมาะสม และพลังงานของอนุภาคก็ต้องสูงพอเพียงด้วย เราเรียกพลังงานจำนวนน้อยที่สุดที่จะทำให้เกิดปฏิกิริยาขึ้นได้ว่า พลังงานก่อกัมมันต์ เมื่อพลังงานก่อกัมมันต์มีค่าน้อย ปฏิกิริยามีอัตราเร็ว ปฏิกิริยาเร็วบางปฏิกิริยาแทบไม่มีพลังงานก่อกัมมันต์เลย อนุภาคของตัวทำปฏิกิริยามีพลังงานรวมกันแล้วเกินค่าพลังงานก่อกัมมันต์ได้ง่าย ถ้าพลังงานก่อกัมมันต์มีค่ามาก ปฏิกิริยาจะเกิดขึ้นช้า การเพิ่มอุณหภูมิทำให้อัตราของปฏิกิริยาเพิ่มเร็วขึ้นเพราะเป็นการเพิ่มพลังงานจลน์ให้แก่อนุภาคของตัวทำปฏิกิริยา และเพิ่มจำนวนอนุภาคที่มีพลังงานสูงพอที่จะทำให้พลังงานศักย์ของระบบเกินพลังงานก่อกัมมันต์ ซึ่งทำให้ปฏิกิริยาเกิดได้สำเร็จ <br />ภาพที่ 6 การเดินทางข้ามภูเขา <br />จากภาพคนที่จะเดินข้ามภูเขาได้จะต้องแข็งแรกมาก เปรียบเสมือนอนุภาคของสารที่มีพลังงานสูง ดังนั้นจำนวนคนที่จะข้ามภูเขาได้ภายในเวลาที่กำหนดจึงขึ้นอยู่กับองค์ประกอบที่สำคัญ 2 ประการคือ (1) จำนวนคนที่แข็งแรงหรือมีพลังงานมาก และ (2) ความสูงของภูเขา เมื่อพลังงานก่อกัมมันต์มีค่าน้อย อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะมีค่า…………. ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเร็วบางปฏิกิริยาแทบไม่มีพลังงานก่อกัมมันต์เลย อนุภาคของตัวทำปฏิกิริยามีพลังงานรวมกันแล้วเกินค่าพลังงานก่อกัมมันต์ได้ง่าย ถ้าพลังงานก่อกัมมันต์มีค่ามาก ปฏิกิริยาจะเกิดขึ้น……… การเพิ่มอุณหภูมิ ทำให้อัตราของการเกิดปฏิกิริยาเพิ่มเร็วขึ้นเพราะเป็นการเพิ่มพลังงานจลน์ให้แก่อนุภาคของตัวทำปฏิกิริยา และเพิ่มจำนวนอนุภาคที่มีพลังงานสูงพอที่จะทำให้พลังงานศักย์ของระบบเกิดกว่าพลังงานก่อกัมมันต์ ซึ่งทำให้ปฏิกิริยาเกิดได้สำเร็จ <br />9 โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) โรงเรียนวิทยาศาสตร์ของรัฐ เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี 3 (ว40123) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2549 <br />แบบฝึกหัด <br />1. จงยกตัวอย่างปฏิกิริยาที่เกิดช้ามาก (ใช้เวลาหลาย ๆ วันจึงเกิดสมบูรณ์) และปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเร็วมาก (ปฏิกิริยาสิ้นสุดภายในไม่กี่นาทีหรือไม่กี่วินาที) มาชนิดละ 2 ตัวอย่าง <br />…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. <br />2. พลังงานก่อกัมมันต์คืออะไร มีบทบาทในจลนศาสตร์เคมีอย่างไร <br />…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. <br />3. จงระบุปัจจัยที่ทำให้อนุภาคชนกันแล้วเกิดปฏิกิริยาเคมีได้ <br />…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. <br />……………………………………………………………………………………………………. <br />4. จงเขียนรูปแสดงการจัดตัวของโมเลกุลและทิศทางการชนกันของโมเลกุลที่น่าจะทำให้เกิดปฏิกิริยาเคมีได้ในปฏิกิริยาต่อไปนี้ <br />ก. H2O (g) + CO (g) H2 (g) + CO2 (g) <br />ข. NO2 (g) + CO (g) NO (g) + CO2 (g) <br />…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… <br />10 โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) โรงเรียนวิทยาศาสตร์ของรัฐ เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี 3 (ว40123) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2549 <br />4. พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยาเคมี <br />การเกิดปฏิกิริยาเคมีจะมีพลังงานมาเกี่ยวข้องด้วย เนื่องจากมีการสลายและสร้างพันธะระหว่างอะตอมของสารในปฏิกิริยา อาจแสดงได้ด้วยกราฟดังรูป <br />ภาพที่ 7 Reaction energy diagrams and possible transition states for three reaction(silberberg.2003) <br />(A) 2NOCl(g) 2 NO(g) + Cl2 (g) <br />(B) NO (g) + O3 (g) NO2 (g) + O2 (g) <br />(C ) 2ClO (g) Cl2 (g) + O2 (g) <br />จากกราฟ (A) สารตั้งต้นมีพลังงานต่ำกว่าสารผลิตภัณฑ์ กราฟนี้เป็นปฏิกิริยาดูดพลังงานหรือดูดความร้อน (Endothermic Reaction) กราฟ (B) และ (C) สารตั้งต้นมีพลังงานสูงกว่าสารผลิตภัณฑ์ กราฟนี้เป็นปฏิกิริยาคายพลังงานหรือคายความร้อน (Exothermic Reaction) <br />ก ข <br />ภาพที่ 8 การเปลี่ยนพลังงานในแบบคายพลังงานและดูดพลังงาน <br />จากรูป ก C และ D มีพลังงานต่ำกว่า A และ B แสดงว่าปฏิกิริยานี้ปล่อยพลังงานออกมา พลังงานที่ปล่อยออกมาเป็นความร้อนของปฏิกิริยา ปฏิกิริยานี้เป็นแบบคายความร้อน ตามรูปจะเห็นได้ว่าความร้อนของปฏิกิริยาไม่เกี่ยวข้องกับพลังงานก่อกัมมันต์แต่อย่างใด ถ้าพลังงานของ C กับ D สูงกว่าพลังงานของ A กับ B ดังรูป ข ปฏิกิริยาเป็นแบบดูดกลืนความร้อน ถ้าต้องการให้ปฏิกิริยาดำเนินต่อไป จะต้องใส่พลังงานเข้าไปเรื่อย ๆ <br />ภาพที่ 9 พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยาไปข้างหน้าและของปฏิกิริยาผันกลับ <br />สมมติว่าปฏิกิริยาระหว่าง A และ B ไปเป็น C และ D เป็นปฏิกิริยาคายความร้อน และสามารถผันกลับได้ กล่าวคือ C และ D สามารถทำปฏิกิริยากันกลับมาเป็น A และ B ปฏิกิริยาที่ผันกลับก็จะเป็นปฏิกิริยาแบบดูดความร้อน เราจะเห็นได้ว่าพลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยาผันกลับคือ C กับ D ไปเป็น A กับ B นั้นมีค่ามากกว่าพลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยาระหว่าง A กับ B ไปเป็น A กับ C <br />แบบฝึกหัด <br />5. จากสมการ O3 (g) + O (g) 2O2 (g) <br />พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยาไปข้างหน้าเท่ากับ 19 kJ และพลังงานของปฏิกิริยานี้เท่ากับ – 392 kJ จงวาดกราฟแสดงความสัมพันธ์ของพลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา และคำนวณหาค่าพลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยาย้อนกลับ <br />6. จากภาพที่กำหนดให้ <br />2 OH <br />78 kJ + 72 kJ <br />O + H2O <br />จงเขียน Ea (fwd) , Ea (rev) และ ΔHrxn ที่ตำแหน่งที่ถูกต้องในภาพ <br />พร้อมวาดแอกติเวเตดคอมเพล็กบริเวณทรานซิชันสเตด และ <br />คำนวณ Ea (rev) ของปฏิกิริยานี้ <br />…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. <br />……………………………………………………………………………………………………. <br />……………………………………………………………………………………………………. <br />13 โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) โรงเรียนวิทยาศาสตร์ของรัฐ เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี 3 (ว40123) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2549 <br />4. อัตราการเกิดปฏิกิริยาและการวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยา <br />อัตราของปฏิกิริยา (rate of chemical reaction) คืออัตราซึ่งสารตั้งต้น (reactant) ทำปฏิกิริยาไป หรืออัตราซึ่งผลิตผล (product) ปรากฏขึ้นหรือเกิดขึ้นจากปฏิกิริยา ในการศึกษาจลนศาสตร์เคมี มักระบุอัตราเป็นการลดลงความเข้มข้นของสารตั้งต้นหรือการเพิ่มขึ้นของผลิตผลกับเวลา ซึ่งสามารถวัดได้จากการทดลองได้แก่ <br />(1) ปริมาณก๊าซที่เกิดขึ้น <br />(2) ความดันที่เปลี่ยนแปลง <br />(3) การเปลี่ยนสี <br />(4) การเกิดตะกอน <br />(5) การเกิดกรดหรือเบส <br />ในวิชาจลนศาสตร์เคมี ปริมาณของสารตั้งต้นที่ลดลงหรือผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นนิยมระบุหน่วยเป็นความเข้มข้น โมล/ลิตร หรือ M เสมอ และเขียนแทนด้วยวงเล็บ [ ดังนั้นความเข้มข้นเป็นโมล/ลิตรของ N]2O5 จึงเขียนแทนด้วย []52ON เช่น ]52ON = 0.1 หมายความว่า N2O5 มีความเข้มข้น 0.1 โมล/ลิตร <br />อัตราการเกิดปฏิกิริยาระบุให้ทราบว่าการเปลี่ยนแปลงของปฏิกิริยาเกิดรวดเร็วเพียงใด ซึ่งโดยทั่วไปจะระบุในเทอมของการเปลี่ยนแปลงความข้มข้นของสารตั้งต้นหรือผลิตผลที่เกิดในช่วงเวลาที่กำหนด เช่น สมการ A + 2B C <br />อัตราการเกิดปฏิกิริยา = ความเข้มข้นของ C ที่เปลี่ยนไป <br />เวลาที่เปลี่ยนไป <br />อัตราการเกิดปฏิกิริยา = Δ (ความเข้มข้นของ C) <br />Δ T <br />[ ΔΔ= <br />เนื่องจากอัตราการเกิดปฏิกิริยาที่เวลาต่าง ๆ ไม่เท่ากัน จึงควรเขียนว่า <br />อัตราการเกิดปฏิกิริยา = dtCd][ <br />หรือถ้าเขียนในรูปของการเปลี่ยนความเข้มข้นของสารตั้งต้น A และ B จะเขียนได้ดังนี้ <br />อัตราการเกิดปฏิกิริยา [][]dtBddtAd−=−= <br />กรณีที่การวัดความเข้มข้นโดยตรงของสารทำได้ยาก นักเคมีมักวัดสมบัติที่สัมพันธ์โดยตรงกับความเข้มข้น เช่น ความดัน สี แลวจึงเปลี่ยนเปนความเขมขน <br />จากสมการ A + 2B C <br />ด้วยเหตุที่ว่าอัตราการลดลงไปของ A เป็นครึ่งหนึ่งของการลดลงไปของ B เพราะฉะนั้น จึงเขียนความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการเกิดปฏิกิริยาในรูปของสารต่าง ๆ ได้ จะต้องคิดต่อ 1 โมลของสารนั้น ๆ จึงเขียนได้ดังนี้ <br />อัตราการเกิดปฏิกิริยา dtPddtBddtAd][][21][=−=−= <br />คำว่า อัตราการเกิดปฏิกิริยา หมายถึงอัตราสุทธิ (net rate) มิได้หมายถึงอัตราการเกิดปฏิกิริยาดำเนินไปข้างหน้า (forward reaction) อย่างเดียว เพราะปฏิกิริยาย้อนกลับ (backward reaction) ก็อาจเกิดได้เช่นกัน <br />จะเห็นว่าหน่วยของอัตราเร็วของปฏิกิริยา คือหน่วยของความเข้มข้นหารด้วยเวลา เราทราบว่าหน่วยความเข้มข้นที่นิยมคือ mol dm-3 หรือ mol l-1 และหน่วยของเวลาคือ s (second) ดังนั้น หน่วยของอัตราการเกิดปฏิกิริยาจึงเป็น mol dm-3 s-1 และจะติดตามสารที่วัดได้ง่ายที่สุด เช่น ปฏิกิริยาระหว่าง 0.10 mol ของ CO กับ 0.10 mol ของ NO2 ในภาชนะปริมาตร 1 ลิตรที่อุณหภูมิหนึ่ง <br />CO (g) + NO2 (g) CO2 (G) + NO (g) <br />เราอาจเลือกติดตามความเข้มข้นของ CO ที่เปลี่ยนไปที่เวลาต่าง ๆ แล้วนำค่าที่ได้มาเขียนกราฟกับเวลา จะได้กราฟตามภาพที่ 9 ความเร็วของปฏิกิริยาที่เวลาใด ๆ ก็คือความชันของกราฟที่เวลานั้น ตัวอย่างเช่นที่ t = 20 s ความชันมีค่าเท่ากับ 0.0010 mol dm-3 s-1 <br />ภาพที่ 10 การหาอัตราการเกิดปฏิกิริยา <br />ตัวอย่าง <br />ปฏิกิริยาระหว่างแมกนีเซียมกับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก ดังสมการ <br />Mg (s) + 2 HCl (aq) MgCl2 (aq) + H2 (g) <br />สามารถวัดความเข้มข้นของสารละลายกรดไฮโดรคลอริกในระหว่างเกิดปฏิกิริยา ได้ดังนี้ เวลา (s) ความเข้มข้นของ HCl (mol/dm3) 0 50 100 150 200 250 1.80 1.65 1.50 1.30 1.00 0.85 <br />
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

More Related Content

What's hot

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมีJirapakorn Buapunna
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีSircom Smarnbua
 
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาManchai
 
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยาSircom Smarnbua
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีja1122
 
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีSircom Smarnbua
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีืkanya pinyo
 
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2Wichai Likitponrak
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกิตติธัช สืบสุนทร
 
ปฏิบัติการทดลอง
ปฏิบัติการทดลอง ปฏิบัติการทดลอง
ปฏิบัติการทดลอง ืkanya pinyo
 
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมีPreeyapat Lengrabam
 
บทที่ 7 สมดุลเคมี
บทที่ 7 สมดุลเคมีบทที่ 7 สมดุลเคมี
บทที่ 7 สมดุลเคมีoraneehussem
 
1แผนที่2
1แผนที่21แผนที่2
1แผนที่2yaowaluk
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีGesika
 

What's hot (20)

Rate012
Rate012Rate012
Rate012
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี (Rate of reaction
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี (Rate of reactionอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี (Rate of reaction
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี (Rate of reaction
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
 
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
 
Rate
RateRate
Rate
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ปฏิบัติการทดลอง
ปฏิบัติการทดลอง ปฏิบัติการทดลอง
ปฏิบัติการทดลอง
 
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
Entrance Rate
Entrance RateEntrance Rate
Entrance Rate
 
บทที่ 7 สมดุลเคมี
บทที่ 7 สมดุลเคมีบทที่ 7 สมดุลเคมี
บทที่ 7 สมดุลเคมี
 
9 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 569 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 56
 
1แผนที่2
1แผนที่21แผนที่2
1แผนที่2
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 

Similar to อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดล
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดลอัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดล
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดลbuabun
 
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)Dr.Woravith Chansuvarn
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนกBlovely123
 
สุปราณี ม.5
สุปราณี  ม.5สุปราณี  ม.5
สุปราณี ม.5bee255taiy
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนกkamon369
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์adiak11
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์adiak11
 
New เอกสาร microsoft word
New เอกสาร microsoft wordNew เอกสาร microsoft word
New เอกสาร microsoft wordOrathai Wongwan
 
3210000000000000000
32100000000000000003210000000000000000
3210000000000000000Awirut619
 
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมKittivut Tantivuttiki
 
Ch 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistryCh 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistrykruannchem
 
บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีWichai Likitponrak
 
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมีจลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมีnn ning
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันPreeyapat Lengrabam
 
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีPreeyapat Lengrabam
 

Similar to อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี (20)

อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดล
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดลอัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดล
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดล
 
Sheet rate
Sheet rateSheet rate
Sheet rate
 
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
 
Rate
RateRate
Rate
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนก
 
สุปราณี ม.5
สุปราณี  ม.5สุปราณี  ม.5
สุปราณี ม.5
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนก
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์
 
New เอกสาร microsoft word
New เอกสาร microsoft wordNew เอกสาร microsoft word
New เอกสาร microsoft word
 
3210000000000000000
32100000000000000003210000000000000000
3210000000000000000
 
16442806.ppt
16442806.ppt16442806.ppt
16442806.ppt
 
Rate3
Rate3Rate3
Rate3
 
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
 
Ch 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistryCh 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistry
 
บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมี
 
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมีจลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
 
Som
SomSom
Som
 
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 

More from weerabong

วิทย์ม31
วิทย์ม31วิทย์ม31
วิทย์ม31weerabong
 
ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาweerabong
 
เทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพเทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพweerabong
 
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีweerabong
 
นโยบาย สพฐ 2551
นโยบาย สพฐ 2551นโยบาย สพฐ 2551
นโยบาย สพฐ 2551weerabong
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้าweerabong
 

More from weerabong (8)

วิทย์ม31
วิทย์ม31วิทย์ม31
วิทย์ม31
 
Globalworming
GlobalwormingGlobalworming
Globalworming
 
28 feb07
28 feb0728 feb07
28 feb07
 
ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยา
 
เทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพเทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพ
 
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
 
นโยบาย สพฐ 2551
นโยบาย สพฐ 2551นโยบาย สพฐ 2551
นโยบาย สพฐ 2551
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

  • 1. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี <br />(Rate of Chemical Reaction) <br />จากการศึกษาวิชาเคมีที่ผ่านมา เราได้ศึกษาสมบัติต่าง ๆ ของก๊าซ ของเหลว ของแข็ง และสารละลาย สมบัติในระดับโมเลกุลและพิจารณาปฏิกิริยาประเภทต่าง ๆ ไปแล้ว การศึกษาขั้นต่อไปคือการศึกษาว่าเมื่อปฏิกิริยาเกิดขึ้นแล้วจะดำเนินต่อไปได้รวดเรวเพียงใด และจะเกิดขึ้นได้มากน้อยเพียงใดจึงจะสิ้นสุด <br />ภาพที่ 1 The Wide range of reaction rates. (Silberberg . 2003) <br />(A) An explosion is much faster than the process of ripening <br />(B) Process of ripening which is much faster than the process of rusting <br />(C) Process of rusting which is much faster than the process of human age <br />(D) Process of human age. <br />เคมีที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเรียกว่า จลนศาสตร์เคมี (Chemical Kinetics) ซึ่งตามปกติคำว่า “จลนศาสตร์” มีความหมายเกี่ยวเนื่องกับการเคลื่อนที่ ซึ่งเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับ อัตราการเกิดปฏิกิริยา (rate of chemical reaction) ซึ่งปฏิกิริยาหนึ่ง ๆ ภายในสภาวะเดียวกัน จะมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉพาะค่าหนึ่งซึ่งขึ้นอยู่กับธรรมชาติของสารตั้งต้น เช่น ปฏิกิริยาของก๊าซไฮโดรเจนกับก๊าซฟลูออรีนและก๊าซไนโตรเจน <br />H2 (g) + F2 (g) 2HF very fast <br />3H2 (g) + N2 (g) 2NH3 very slow <br />การศึกษาอัตราของปฏิกิริยาเคมีเป็นวิชาหนึ่งของวิชาเคมี ไม่เพียงแต่วัดอัตราของปฏิกิริยาเท่านั้น ยังศึกษาถึงปัจจัยต่าง ๆ ที่มีอิทธิพลต่ออัตราของปฏิกิริยานั้น <br />1. ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา ได้แก่ <br />1.1 ธรรมชาติของสารตั้งต้น (reactant) และผลิตผล (product) ปฏิกิริยาจะเกิดขึ้นช้าหรือเร็วขึ้นอยู่กับธรรมชาติของสาร เช่น โดยทั่วไปสารที่ทำปฏิกิริยาเป็นสารไอออนิกทั้งคู่จะเกิดปฏิกิริยาเร็วกว่าสารที่เป็นโควาเลนท์ สารที่ทำปฏิกิริยาเป็นก๊าซทั้งคู่จะทำปฏิกิริยาได้เร็วกว่าปฏิกิริยาที่สารอยู่ในสถานะต่างกัน <br />1.2 ความเข้มข้นของสารตั้งต้นและผลิตผล ความเข้มข้นของสารจะมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิกิริยาเคมี จากปฏิกิริยาระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับกรดไฮโดรคลอริกช่วงแรกปฏิกิริยาจะเกิดเร็วมากและจะค่อย ๆ ช้าลงในการเกิดก๊าซ H2 ยิ่งเวลาผ่านไปนานเท่าใดอัตราการเกิดปฏิกิริยาจะยิ่งลดลงเท่านั้น <br />1.3 พื้นที่ผิว พื้นที่ผิวจะมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ปฏิกิริยาวิวิธพันธุ์เกิดขึ้นที่ผิวของวัฏภาค ดังนั้นยิ่งเพิ่มพื้นที่ผิวของตัวทำปฏิกิริยา ปฏิกิริยาก็ยิ่งเกิดขึ้นเร็ว เช่นปฏิกิริยาของสังกะสีกับกรดไฮโดรคลอริกเจือจางซึ่งให้ก๊าซไฮโดรเจน ถ้าใช้สังกะสีชิ้นโตปฏิกิริยาเกิดช้าแต่ถ้าใช้สังกะสีชิ้นเล็กหรือผงสังกะสีปฏิกิริยาจะเกิดรวดเร็ว ทั้งนี้เพราะในปริมาณที่เท่ากันเมื่อขนาดชิ้นวัตถุยิ่งเล็กลงพื้นที่ผิวยิ่งมากขึ้น <br />1.4 อุณหภูมิ การเพิ่มอุณหภูมิทำให้ปฏิกิริยาเร็วขึ้น เป็นที่พบเห็นอยู่เสมอว่าเมื่อใดต้องการให้ปฏิกิริยาเกิดเร็วขึ้น เราจะต้องต้มหรือเผาตัวทำปฏิกิริยา ถ้าปล่อยให้สารทำปฏิกิริยากันเองในอุณหภูมิธรรมดา บางทีอาจไม่เกิดปฏิกิริยาขึ้นเลยก็ได้หรือเกิดช้ามาก น้ำมันตั้งทิ้งไว้ในอากาศเฉย ๆ ไม่ลุกไหม้แต่พอจุดไฟเข้าที่น้ำมัน น้ำมันจะทำปฏิกิริยากับออกซิเจนลุกไหม้เป็นเปลวไฟ <br />1.5 ตัวเร่งปฏิกิริยา ตัวเร่งปฏิกิริยาคือสารซึ่งเพิ่มอัตราของปฏิกิริยาโดยตัวเองไม่ได้เปลี่ยนแปลงไปด้วยเมื่อเสร็จสิ้นปฏิกิริยา เช่นในการเผาโพแทสเซียมคลอเรต แมงกานีสไดออกไซด์ที่ใส่ลงไปเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาอาจเป็นชนิดก้อนเล็ก ๆ แต่เมื่อเสร็จปฏิกิริยาแล้วก้อนแมงกานีสไดออกไซด์แปรสภาพเป็นผงละเอียด <br />1.6 ความดัน ความดันจะมีผลต่อปฏิกิริยาในกรณีปฏิกิริยาที่เกี่ยวกับก๊าซ กล่าวคือเมื่อเพิ่มความดันโมเลกุลของก๊าซจะชนกันมากขึ้นปฏิกิริยาจะมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเร็วขึ้น <br />2. การอธิบายการเกิดปฏิกิริยาเคมี <br />ปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้นได้อย่างไร นักวิทยาศาสตร์พยายามอธิบาย ทฤษฎีหนึ่งที่ตอบคำถามนี้ได้คือ ทฤษฎีการชน (Collision theory) และ ทฤษฎีทรานซิชันสเตด (Transition state theory) <br />2.1 ทฤษฎีการชน (Collision theory) มีหลักทั่วไปกล่าวว่า การเกิดปฏิกิริยาเคมี โมเลกุลของสารตั้งต้นหรือสารที่เข้าทำปฏิกิริยาจะต้องเกิดการชนกันก่อน พิจารณาปฏิกิริยาระหว่างโมเลกุลของสาร A กับ Bโดยตรง ถ้าเพิ่มความเข้มข้นของ A เป็นสองเท่า จำนวนการชนระหว่าง A – B ก็จะเพิ่มเป็นสองเท่าเนื่องจากจำนวนโมเลกุลของ A ที่จะชนกับ B เพิ่มเป็นสองเท่า ดังนั้นอัตราการเกิดปฏิกิริยาก็เพิ่มเป็นสองเท่าด้วย ในทำนองเดียวกันการเพิ่มความเข้มข้นของ B เป็นสองเท่าก็จะทำให้อัตราเพิ่มเป็นสองเท่าเช่นกัน นอกจากนี้โมเลกุลของสารตั้งต้นจะต้องชนกันในทิศทางที่เหมาะสมด้วย เช่น ปฏิกิริยาระหว่างก๊าซไฮโดรเจนกับก๊าซไอโอดีนเกิดก๊าซไฮโดรเจนไอโอไดด์ โมเลกุลของก๊าซไฮโดรเจนและก๊าซไอโอดีน หรือ ปฏิกิริยาของออกซิเจนกับไนโตเจนออกไซด์ <br />ภาพที่ 2 การจัดตัวของโมเลกุล H2 และ I2 <br />เมื่อพิจารณาการชนกันของโมเลกุล H2 และ I2 พบว่าการชนกันแบบ ข. มีโอกาสที่จะเกิดปฏิกิริยาเคมีได้มากกว่าแบบ ก เนื่องจากมีทิศทางในการชนกันของทั้งสองโมเลกุลมีความเหมาะสม ทฤษฎีการชนมีหลักการที่สอดคล้องกับหลักความเป็นจริง แต่เราพบว่าความสัมพันธ์ระหว่างอัตรากับการชนของโมเลกุลซับซ้อนกว่านี้ ในทางปฏิบัติพบว่าหลาย ๆ กรณีปฏิกิริยาไม่ได้เกิดขึ้นเพราะการชนกันแต่เพียงอย่างเดียว จากการทดลองและคำนวณพบว่าจำนวนครั้งของการชนกันที่ได้ผลเป็นเพียงเศษส่วนน้อยมากของจำนวนครั้งของการชนกันทั้งหมด จากการคำนวณพบว่าในปฏิกิริยาทั่วไป การชนกันที่ได้ผลมีเพียง 1 ใน 107 ครั้งเท่านั้นโดยประมาณ <br />โมเลกุลที่เข้าชนกันจะมีการเปลี่ยนแปลงของพลังงานจลน์และพลังงานศักย์ เมื่อสองโมเลกุลเข้าใกล้กันและกันจะเกิดแรงผลักระหว่างกลุ่มหมอกของอิเล็กตรอน เป็นเหตุให้โมเลกุลเคลื่อนที่ช้าลง พลังงานจลน์ของโมเลกุลจะลดลง ในขณะเดียวกันพลังงานศักย์จะเพิ่มขึ้น หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า พลังงานจลน์เปลี่ยนไปเป็นพลังงานศักย์ขณะที่โมเลกุลชนกัน ถ้าโมเลกุลเคลื่อนที่ช้า (พลังงานจลน์ต่ำ) เข้าชนกัน พลังงานศักย์ที่ได้จากพลังงานจลน์ไม่เพียงพอที่จะเอื้ออำนวยให้กลุ่มหมอกอิเล็กตรอนจัดเรียงตัวใหม่ โมเลกุลทั้งสองจะเคลื่อนที่ออกจากกันโดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น ตรงกันข้าม ถ้าโมเลกุลเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูง (พลังงานจลน์สูง) เข้าชนกันพลังงานศักย์ที่ได้จากพลังงานจลน์สูงพอที่จะเอื้ออำนวยให้กลุ่มหมอกอิเล็กตรอนทะลุทะลวงกันและกัน เกิดการสลายของพันธะเดิมและสร้างพันธะใหม่เกิดผลิตผลขึ้น และเมื่อผลิตผลที่ได้เคลื่อนที่ออกไป พลังงานศักย์จะลดลงขณะที่พลังงานจลน์เพิ่มขึ้น โมเลกุลเหล่านี้จึงเคลื่อนที่เร็วขึ้น สรุปได้ว่าโมเลกุลที่มีพลังงานจลน์สูง (พลังงานศักย์สูงเมื่อชนกัน) เท่านั้นที่เกิดปฏิกิริยาได้ และพลังงานขั้นต่ำสุดที่โมเลกุลจะต้องมีเพื่อเอื้ออำนวยให้เกิดปฏิกิริยาก็คือพลังงานก่อกัมมันต์ (activation energy , Ea) นั่นเอง ถ้ามีพลังงานไม่ถึงค่านี้โมเลกุลก็จะไม่มีการเปลี่ยนแปลงหลังจากการชน <br />ภาพที่ 3 การเปลี่ยนแปลงพลังงานศักย์สำหรับปฏิกิริยาคายความร้อนและดูดความร้อน <br />2.2 ทฤษฎีทรานซิชันสเตด (Transition state theory) หรือทฤษฎีสถานะ ทรานซิชัน หรือทฤษฎีสารเชิงซ้อนกัมมันต์ เป็นอีกทฤษฎีหนึ่งที่เกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาและอัตราการเกิดปฏิกิริยาทฤษฎีนี้ขยายความคิดเรื่องการชนออกไปอีก อธิบายได้ว่า ในการเกิดปฏิกิริยาจะต้องมีการเปลี่ยนแปลงที่พันธะบางพันธะอาจยืดและแตกออกไปแล้วเกิดพันธะใหม่ชั่วขณะหนึ่งที่อนุภาคเข้ามาปะทะกันมันจะรวมกันเกิดเป็นสารเชิงซ้อนชนิดหนึ่ง เรียกว่า แอกติเวเตดคอมเพล็ก (activated complex) ซึ่งไม่เสถียรและปรากฏอยู่บนสุดยอดของเส้นโค้งของแผนภาพแสดงพลังงานศักย์กับการดำเนินไปของปฏิกิริยา แอกติเวเตดคอมเพล็กนี้ไม่ใช่สารตั้งต้นหรือสารผลิตผล แต่เป็นการรวมเข้าด้วยกันของอะตอมของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา ดังนี้ <br />A – A A A A A <br />B – B B B B + B <br />แอกติเวเตดคอมเพล็ก <br />เส้นขีด ---- ระหว่างอะตอมในแอกติเวเตดคอมเพล็ก แสดงให้เห็นว่าพันธะระหว่าง A-A และ B-B เริ่มสลายลง และพันธะ A-B ของผลิตผลเริ่มเกิดขึ้น และวงเล็บมีความหมายว่า แอกติเวเตดคอมเพล็กนี้ไม่เสถียร ซึ่งอาจเกิดการเปลี่ยนแปลงได้ 2 อย่างคืออาจเกิดเป็นผลิตผลหรือสารตั้งต้นก็ได้สุดยอดของเส้นโค้งของพลังงานศักย์ที่พบแอกติเวเตดคอมเพล็กเรียกว่า ทรานซิชันสเตด (transition state แปลว่าภาวะที่เกิดการเปลี่ยนแปลง) <br />- <br />ถ้าสารตั้งต้นมีพลังงานจลน์สูงไม่มาก การปะทะกันจะให้พลังงานศักย์สูงไม่พอที่จะทำให้เกิดสารเชิงซ้อนก่อกัมมันต์ โมเลกุลทั้งสองก็อาจแยกออกจากกันไปเลยโดยไม่เกิดอะไรขึ้น ความแตกต่างระหว่างพลังงานของสารเชิงซ้อนก่อกัมมันต์ (พลังงานที่เป็นค่าสูงสุด) กับพลังงานของตัวทำปฏิกิริยา คือ พลังงานก่อกัมมันต์ นั่นเอง <br />3. พลังงานก่อกัมมันต์ <br />ดังที่เสนอไว้ในทฤษฎีของการชนว่า การชนกันที่จะให้เป็นผลสำเร็จนั้นต้องประกอบด้วยการชนในทิศทางที่เหมาะสม และพลังงานของอนุภาคก็ต้องสูงพอเพียงด้วย เราเรียกพลังงานจำนวนน้อยที่สุดที่จะทำให้เกิดปฏิกิริยาขึ้นได้ว่า พลังงานก่อกัมมันต์ เมื่อพลังงานก่อกัมมันต์มีค่าน้อย ปฏิกิริยามีอัตราเร็ว ปฏิกิริยาเร็วบางปฏิกิริยาแทบไม่มีพลังงานก่อกัมมันต์เลย อนุภาคของตัวทำปฏิกิริยามีพลังงานรวมกันแล้วเกินค่าพลังงานก่อกัมมันต์ได้ง่าย ถ้าพลังงานก่อกัมมันต์มีค่ามาก ปฏิกิริยาจะเกิดขึ้นช้า การเพิ่มอุณหภูมิทำให้อัตราของปฏิกิริยาเพิ่มเร็วขึ้นเพราะเป็นการเพิ่มพลังงานจลน์ให้แก่อนุภาคของตัวทำปฏิกิริยา และเพิ่มจำนวนอนุภาคที่มีพลังงานสูงพอที่จะทำให้พลังงานศักย์ของระบบเกินพลังงานก่อกัมมันต์ ซึ่งทำให้ปฏิกิริยาเกิดได้สำเร็จ <br />ภาพที่ 6 การเดินทางข้ามภูเขา <br />จากภาพคนที่จะเดินข้ามภูเขาได้จะต้องแข็งแรกมาก เปรียบเสมือนอนุภาคของสารที่มีพลังงานสูง ดังนั้นจำนวนคนที่จะข้ามภูเขาได้ภายในเวลาที่กำหนดจึงขึ้นอยู่กับองค์ประกอบที่สำคัญ 2 ประการคือ (1) จำนวนคนที่แข็งแรงหรือมีพลังงานมาก และ (2) ความสูงของภูเขา เมื่อพลังงานก่อกัมมันต์มีค่าน้อย อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะมีค่า…………. ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเร็วบางปฏิกิริยาแทบไม่มีพลังงานก่อกัมมันต์เลย อนุภาคของตัวทำปฏิกิริยามีพลังงานรวมกันแล้วเกินค่าพลังงานก่อกัมมันต์ได้ง่าย ถ้าพลังงานก่อกัมมันต์มีค่ามาก ปฏิกิริยาจะเกิดขึ้น……… การเพิ่มอุณหภูมิ ทำให้อัตราของการเกิดปฏิกิริยาเพิ่มเร็วขึ้นเพราะเป็นการเพิ่มพลังงานจลน์ให้แก่อนุภาคของตัวทำปฏิกิริยา และเพิ่มจำนวนอนุภาคที่มีพลังงานสูงพอที่จะทำให้พลังงานศักย์ของระบบเกิดกว่าพลังงานก่อกัมมันต์ ซึ่งทำให้ปฏิกิริยาเกิดได้สำเร็จ <br />9 โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) โรงเรียนวิทยาศาสตร์ของรัฐ เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี 3 (ว40123) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2549 <br />แบบฝึกหัด <br />1. จงยกตัวอย่างปฏิกิริยาที่เกิดช้ามาก (ใช้เวลาหลาย ๆ วันจึงเกิดสมบูรณ์) และปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเร็วมาก (ปฏิกิริยาสิ้นสุดภายในไม่กี่นาทีหรือไม่กี่วินาที) มาชนิดละ 2 ตัวอย่าง <br />…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. <br />2. พลังงานก่อกัมมันต์คืออะไร มีบทบาทในจลนศาสตร์เคมีอย่างไร <br />…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. <br />3. จงระบุปัจจัยที่ทำให้อนุภาคชนกันแล้วเกิดปฏิกิริยาเคมีได้ <br />…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. <br />……………………………………………………………………………………………………. <br />4. จงเขียนรูปแสดงการจัดตัวของโมเลกุลและทิศทางการชนกันของโมเลกุลที่น่าจะทำให้เกิดปฏิกิริยาเคมีได้ในปฏิกิริยาต่อไปนี้ <br />ก. H2O (g) + CO (g) H2 (g) + CO2 (g) <br />ข. NO2 (g) + CO (g) NO (g) + CO2 (g) <br />…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… <br />10 โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) โรงเรียนวิทยาศาสตร์ของรัฐ เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี 3 (ว40123) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2549 <br />4. พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยาเคมี <br />การเกิดปฏิกิริยาเคมีจะมีพลังงานมาเกี่ยวข้องด้วย เนื่องจากมีการสลายและสร้างพันธะระหว่างอะตอมของสารในปฏิกิริยา อาจแสดงได้ด้วยกราฟดังรูป <br />ภาพที่ 7 Reaction energy diagrams and possible transition states for three reaction(silberberg.2003) <br />(A) 2NOCl(g) 2 NO(g) + Cl2 (g) <br />(B) NO (g) + O3 (g) NO2 (g) + O2 (g) <br />(C ) 2ClO (g) Cl2 (g) + O2 (g) <br />จากกราฟ (A) สารตั้งต้นมีพลังงานต่ำกว่าสารผลิตภัณฑ์ กราฟนี้เป็นปฏิกิริยาดูดพลังงานหรือดูดความร้อน (Endothermic Reaction) กราฟ (B) และ (C) สารตั้งต้นมีพลังงานสูงกว่าสารผลิตภัณฑ์ กราฟนี้เป็นปฏิกิริยาคายพลังงานหรือคายความร้อน (Exothermic Reaction) <br />ก ข <br />ภาพที่ 8 การเปลี่ยนพลังงานในแบบคายพลังงานและดูดพลังงาน <br />จากรูป ก C และ D มีพลังงานต่ำกว่า A และ B แสดงว่าปฏิกิริยานี้ปล่อยพลังงานออกมา พลังงานที่ปล่อยออกมาเป็นความร้อนของปฏิกิริยา ปฏิกิริยานี้เป็นแบบคายความร้อน ตามรูปจะเห็นได้ว่าความร้อนของปฏิกิริยาไม่เกี่ยวข้องกับพลังงานก่อกัมมันต์แต่อย่างใด ถ้าพลังงานของ C กับ D สูงกว่าพลังงานของ A กับ B ดังรูป ข ปฏิกิริยาเป็นแบบดูดกลืนความร้อน ถ้าต้องการให้ปฏิกิริยาดำเนินต่อไป จะต้องใส่พลังงานเข้าไปเรื่อย ๆ <br />ภาพที่ 9 พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยาไปข้างหน้าและของปฏิกิริยาผันกลับ <br />สมมติว่าปฏิกิริยาระหว่าง A และ B ไปเป็น C และ D เป็นปฏิกิริยาคายความร้อน และสามารถผันกลับได้ กล่าวคือ C และ D สามารถทำปฏิกิริยากันกลับมาเป็น A และ B ปฏิกิริยาที่ผันกลับก็จะเป็นปฏิกิริยาแบบดูดความร้อน เราจะเห็นได้ว่าพลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยาผันกลับคือ C กับ D ไปเป็น A กับ B นั้นมีค่ามากกว่าพลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยาระหว่าง A กับ B ไปเป็น A กับ C <br />แบบฝึกหัด <br />5. จากสมการ O3 (g) + O (g) 2O2 (g) <br />พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยาไปข้างหน้าเท่ากับ 19 kJ และพลังงานของปฏิกิริยานี้เท่ากับ – 392 kJ จงวาดกราฟแสดงความสัมพันธ์ของพลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา และคำนวณหาค่าพลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยาย้อนกลับ <br />6. จากภาพที่กำหนดให้ <br />2 OH <br />78 kJ + 72 kJ <br />O + H2O <br />จงเขียน Ea (fwd) , Ea (rev) และ ΔHrxn ที่ตำแหน่งที่ถูกต้องในภาพ <br />พร้อมวาดแอกติเวเตดคอมเพล็กบริเวณทรานซิชันสเตด และ <br />คำนวณ Ea (rev) ของปฏิกิริยานี้ <br />…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. <br />……………………………………………………………………………………………………. <br />……………………………………………………………………………………………………. <br />13 โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) โรงเรียนวิทยาศาสตร์ของรัฐ เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี 3 (ว40123) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2549 <br />4. อัตราการเกิดปฏิกิริยาและการวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยา <br />อัตราของปฏิกิริยา (rate of chemical reaction) คืออัตราซึ่งสารตั้งต้น (reactant) ทำปฏิกิริยาไป หรืออัตราซึ่งผลิตผล (product) ปรากฏขึ้นหรือเกิดขึ้นจากปฏิกิริยา ในการศึกษาจลนศาสตร์เคมี มักระบุอัตราเป็นการลดลงความเข้มข้นของสารตั้งต้นหรือการเพิ่มขึ้นของผลิตผลกับเวลา ซึ่งสามารถวัดได้จากการทดลองได้แก่ <br />(1) ปริมาณก๊าซที่เกิดขึ้น <br />(2) ความดันที่เปลี่ยนแปลง <br />(3) การเปลี่ยนสี <br />(4) การเกิดตะกอน <br />(5) การเกิดกรดหรือเบส <br />ในวิชาจลนศาสตร์เคมี ปริมาณของสารตั้งต้นที่ลดลงหรือผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นนิยมระบุหน่วยเป็นความเข้มข้น โมล/ลิตร หรือ M เสมอ และเขียนแทนด้วยวงเล็บ [ ดังนั้นความเข้มข้นเป็นโมล/ลิตรของ N]2O5 จึงเขียนแทนด้วย []52ON เช่น ]52ON = 0.1 หมายความว่า N2O5 มีความเข้มข้น 0.1 โมล/ลิตร <br />อัตราการเกิดปฏิกิริยาระบุให้ทราบว่าการเปลี่ยนแปลงของปฏิกิริยาเกิดรวดเร็วเพียงใด ซึ่งโดยทั่วไปจะระบุในเทอมของการเปลี่ยนแปลงความข้มข้นของสารตั้งต้นหรือผลิตผลที่เกิดในช่วงเวลาที่กำหนด เช่น สมการ A + 2B C <br />อัตราการเกิดปฏิกิริยา = ความเข้มข้นของ C ที่เปลี่ยนไป <br />เวลาที่เปลี่ยนไป <br />อัตราการเกิดปฏิกิริยา = Δ (ความเข้มข้นของ C) <br />Δ T <br />[ ΔΔ= <br />เนื่องจากอัตราการเกิดปฏิกิริยาที่เวลาต่าง ๆ ไม่เท่ากัน จึงควรเขียนว่า <br />อัตราการเกิดปฏิกิริยา = dtCd][ <br />หรือถ้าเขียนในรูปของการเปลี่ยนความเข้มข้นของสารตั้งต้น A และ B จะเขียนได้ดังนี้ <br />อัตราการเกิดปฏิกิริยา [][]dtBddtAd−=−= <br />กรณีที่การวัดความเข้มข้นโดยตรงของสารทำได้ยาก นักเคมีมักวัดสมบัติที่สัมพันธ์โดยตรงกับความเข้มข้น เช่น ความดัน สี แลวจึงเปลี่ยนเปนความเขมขน <br />จากสมการ A + 2B C <br />ด้วยเหตุที่ว่าอัตราการลดลงไปของ A เป็นครึ่งหนึ่งของการลดลงไปของ B เพราะฉะนั้น จึงเขียนความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการเกิดปฏิกิริยาในรูปของสารต่าง ๆ ได้ จะต้องคิดต่อ 1 โมลของสารนั้น ๆ จึงเขียนได้ดังนี้ <br />อัตราการเกิดปฏิกิริยา dtPddtBddtAd][][21][=−=−= <br />คำว่า อัตราการเกิดปฏิกิริยา หมายถึงอัตราสุทธิ (net rate) มิได้หมายถึงอัตราการเกิดปฏิกิริยาดำเนินไปข้างหน้า (forward reaction) อย่างเดียว เพราะปฏิกิริยาย้อนกลับ (backward reaction) ก็อาจเกิดได้เช่นกัน <br />จะเห็นว่าหน่วยของอัตราเร็วของปฏิกิริยา คือหน่วยของความเข้มข้นหารด้วยเวลา เราทราบว่าหน่วยความเข้มข้นที่นิยมคือ mol dm-3 หรือ mol l-1 และหน่วยของเวลาคือ s (second) ดังนั้น หน่วยของอัตราการเกิดปฏิกิริยาจึงเป็น mol dm-3 s-1 และจะติดตามสารที่วัดได้ง่ายที่สุด เช่น ปฏิกิริยาระหว่าง 0.10 mol ของ CO กับ 0.10 mol ของ NO2 ในภาชนะปริมาตร 1 ลิตรที่อุณหภูมิหนึ่ง <br />CO (g) + NO2 (g) CO2 (G) + NO (g) <br />เราอาจเลือกติดตามความเข้มข้นของ CO ที่เปลี่ยนไปที่เวลาต่าง ๆ แล้วนำค่าที่ได้มาเขียนกราฟกับเวลา จะได้กราฟตามภาพที่ 9 ความเร็วของปฏิกิริยาที่เวลาใด ๆ ก็คือความชันของกราฟที่เวลานั้น ตัวอย่างเช่นที่ t = 20 s ความชันมีค่าเท่ากับ 0.0010 mol dm-3 s-1 <br />ภาพที่ 10 การหาอัตราการเกิดปฏิกิริยา <br />ตัวอย่าง <br />ปฏิกิริยาระหว่างแมกนีเซียมกับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก ดังสมการ <br />Mg (s) + 2 HCl (aq) MgCl2 (aq) + H2 (g) <br />สามารถวัดความเข้มข้นของสารละลายกรดไฮโดรคลอริกในระหว่างเกิดปฏิกิริยา ได้ดังนี้ เวลา (s) ความเข้มข้นของ HCl (mol/dm3) 0 50 100 150 200 250 1.80 1.65 1.50 1.30 1.00 0.85 <br />