SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
ต้นไม้ในพฤกษศาสตร์โรงเรียนสตรีนครสวรรค์
ต้นอินทนิลน้า
ลักษณะพิเศษของพืช : ไม้ดอกประดับ
ชื่ออื่น : ฉ่วงมู (กะเหรี่ยง-กาญจนบุรี), ตะแบกดา (กรุงเทพฯ), บางอ บะซา (มลายู-ยะลา, นราธิวาส),
บาเอ บาเย (ปัตตานี),อินทนิล (ภาคกลาง), อินทนิลน้า (ภาคกลาง, ภาคใต้)
ลักษณะทั่วไป : ไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ผลัดใบ เรือนยอดแผ่กว้างเป็นพุ่มกลม ลาต้นตรง กิ่งใหญ่
แตกออกตามลาต้น เปลือกหนาสีเทาหรือน้าตาลอ่อน เรียบหรือมีปุ่มปม
ต้น : สูง 10 – 15 เมตร ลาต้นเปลาตรง เรือนยอดเป็นพุ่มกลม ผิวเปลือกนอกสีเทา
ใบ : ใบเดี่ยว เรียงตรงข้ามหรือเยื้องกันเล็กน้อย ใบรูปขอบขนานหรือรูปขอบขนานแกมรูปใบหอก
กว้าง 5-10 เซนติเมตร ยาว 11-26 เซนติเมตร ปลายใบเรียวและเป็นติ่งแหลม โคนใบสอบหรือเบี้ยว
แผ่นใบหนาเกลี้ยงเป็นมัน
ดอก : สีม่วงสด ม่วงปนชมพูหรือชมพู ออกเป็นช่อแบบช่อกระจะตามปลายกิ่ง ช่อดอกออกเอียงๆ ยาว 40
เซนติเมตร กลีบเลี้ยงด้านนอกมีขนสีน้าตาล มีสัน 10-14 สัน ส่วนบนส่วนชองดอกตูม มีตุ่มกลมเล็ก อยู่
ตรงกลาง กลีบเลี้ยง 6 กลีบ กลีบดอก 6 กลีบ ดอกบานเต็มที่กว้าง 5-7.5 เซนติเมตร
ผล : ผลแห้งแตก ทรงกลมรี ผิวเรียบและเเข็ง ไม่มีขน กว้าง 1.8-2.2 เซนติเมตร ยาว 2.2-2.6 เซนติเมตร
ผลแแก่เเตกเป็น 6 เสี่ยง เมล็ดมีปีกบาง
ประโยชน์ : ใบชงน้าดื่มแก้โรคเบาหวาน ขับปัสสาวะ เปลือกแก้ไข้แก้ท้องเสีย
ถิ่นกาเนิด : ที่ราบลุ่มริมน้า ป่าเบญจพรรณชื้นและป่าดิบทั่วไป
ขยายพันธุ์ : โดยการเพาะเมล็ด
ใบอ่อนอินทนิลน้า
ดอกตูมอินทนิลน้า
อินทนิลน้า
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา ต้านไวรัส ลดน้าตาลในเลือด ลดความดันโลหิตสูง ยับยั้งเชื้อรา ขับปัสสาวะ
ลดการอักเสบ
ลดความดันโลหิตสูง ส่วนที่ใช้ ใบแก่เต็มที่ โดยใช้ใบ 1 กามือ ต้มน้าดื่มตอนเช้า
ประเทศอินเดียทดลอง ในปี ค.ศ 1982
ลดน้าตาลในเลือด ส่วนที่ใช้ ใบแก่เต็มที่ เมล็ด เปลือกผล
ประเทศไทย ในปี ค.ศ 1984 ใช้สารสกัดจาก เมล็ด เปลือกผล
ประเทศอินเดีย ในปี ค.ศ 1949 สารสกัดจากใบ
ประเทศฟิลิปปินส์ ในปีค.ศ 1943 ทาการทดลองสารสกัดจากอินทนิลน้า พบว่าออกฤทธิ์เหมือนอินซูลิน
ลดไขมันในเลือด ส่วนที่ใช้ ใบ ในปีค.ศ 2002 ประเทศญี่ปุ่น ทาการทดลองสกัดสารจากใบอินทนิลน้า
ด้วย aicohol นาไปทาให้เข้มข้นจนได้สาร 3 mg/ml นาไปทายาเม็ดขนาด 250mg/tab โดยทาการทดลองใน
ผู้ป่วยที่เป็นเบาหวาน และมีภาวะไขมันในเลือดสูง โดยให้กินยาสกัดจากอินทนิลน้าวันละ 3 เม็ด
วันละ 3 ครั้ง เป็นเวลานาน 4 สัปดาห์ ผลการทดลองพบว่า ผู้ป่วยมีระดับคอเลสเตอรอลในเลือดลดลง
( ขอบคุณสรรพคุณ ผลการทดลอง อินทนิลน้าจากหนังสือเภสัชกรรมไทย โดย วุฒิ วุฒิธรรรมเวช และ
หนังสือสมุนไพร บาบัดเบาหวาน ลดความดันโลหิตสูง ลดไขมันในเลือด รวบรวมเรียบเรียงโดย เภสัขกร
หญิงจุไรรัตน์ เกิด ดอนแฝก ) ด้วยความปรารถนาดี กานดา แสนมณี
ที่มา : http://www.wattano.ac.th/wattano/Web_saunpluak/My%20Hip/244.html
http://www.gotoknow.org/posts/532158

More Related Content

Similar to ต้นไม้ในพฤกษศาสตร์โรงเรียนสตรีนครสวรรค์

โครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ด
โครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ดโครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ด
โครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ดMint Jiratchaya
 
หญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องหญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องphairoa
 
งานนำเสนอ222
งานนำเสนอ222งานนำเสนอ222
งานนำเสนอ222saifon147
 
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....Z-class Puttichon
 

Similar to ต้นไม้ในพฤกษศาสตร์โรงเรียนสตรีนครสวรรค์ (12)

โครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ด
โครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ดโครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ด
โครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ด
 
Lanna herbs.pdf
Lanna herbs.pdfLanna herbs.pdf
Lanna herbs.pdf
 
Plant ser 143_60_10
Plant ser 143_60_10Plant ser 143_60_10
Plant ser 143_60_10
 
Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5
 
สมุนไพร ภูมิปัญญาไทย
สมุนไพร  ภูมิปัญญาไทยสมุนไพร  ภูมิปัญญาไทย
สมุนไพร ภูมิปัญญาไทย
 
หญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องหญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้อง
 
งานนำเสนอ222
งานนำเสนอ222งานนำเสนอ222
งานนำเสนอ222
 
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
 
Bodindecha
BodindechaBodindecha
Bodindecha
 
Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7
 
สวนพฤกศาสตร์ 48
สวนพฤกศาสตร์ 48สวนพฤกศาสตร์ 48
สวนพฤกศาสตร์ 48
 
Plant ser 144_60_1
Plant ser 144_60_1Plant ser 144_60_1
Plant ser 144_60_1
 

ต้นไม้ในพฤกษศาสตร์โรงเรียนสตรีนครสวรรค์

  • 1. ต้นไม้ในพฤกษศาสตร์โรงเรียนสตรีนครสวรรค์ ต้นอินทนิลน้า ลักษณะพิเศษของพืช : ไม้ดอกประดับ ชื่ออื่น : ฉ่วงมู (กะเหรี่ยง-กาญจนบุรี), ตะแบกดา (กรุงเทพฯ), บางอ บะซา (มลายู-ยะลา, นราธิวาส), บาเอ บาเย (ปัตตานี),อินทนิล (ภาคกลาง), อินทนิลน้า (ภาคกลาง, ภาคใต้) ลักษณะทั่วไป : ไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ผลัดใบ เรือนยอดแผ่กว้างเป็นพุ่มกลม ลาต้นตรง กิ่งใหญ่ แตกออกตามลาต้น เปลือกหนาสีเทาหรือน้าตาลอ่อน เรียบหรือมีปุ่มปม ต้น : สูง 10 – 15 เมตร ลาต้นเปลาตรง เรือนยอดเป็นพุ่มกลม ผิวเปลือกนอกสีเทา ใบ : ใบเดี่ยว เรียงตรงข้ามหรือเยื้องกันเล็กน้อย ใบรูปขอบขนานหรือรูปขอบขนานแกมรูปใบหอก กว้าง 5-10 เซนติเมตร ยาว 11-26 เซนติเมตร ปลายใบเรียวและเป็นติ่งแหลม โคนใบสอบหรือเบี้ยว แผ่นใบหนาเกลี้ยงเป็นมัน ดอก : สีม่วงสด ม่วงปนชมพูหรือชมพู ออกเป็นช่อแบบช่อกระจะตามปลายกิ่ง ช่อดอกออกเอียงๆ ยาว 40 เซนติเมตร กลีบเลี้ยงด้านนอกมีขนสีน้าตาล มีสัน 10-14 สัน ส่วนบนส่วนชองดอกตูม มีตุ่มกลมเล็ก อยู่ ตรงกลาง กลีบเลี้ยง 6 กลีบ กลีบดอก 6 กลีบ ดอกบานเต็มที่กว้าง 5-7.5 เซนติเมตร ผล : ผลแห้งแตก ทรงกลมรี ผิวเรียบและเเข็ง ไม่มีขน กว้าง 1.8-2.2 เซนติเมตร ยาว 2.2-2.6 เซนติเมตร ผลแแก่เเตกเป็น 6 เสี่ยง เมล็ดมีปีกบาง ประโยชน์ : ใบชงน้าดื่มแก้โรคเบาหวาน ขับปัสสาวะ เปลือกแก้ไข้แก้ท้องเสีย ถิ่นกาเนิด : ที่ราบลุ่มริมน้า ป่าเบญจพรรณชื้นและป่าดิบทั่วไป ขยายพันธุ์ : โดยการเพาะเมล็ด
  • 3. อินทนิลน้า ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา ต้านไวรัส ลดน้าตาลในเลือด ลดความดันโลหิตสูง ยับยั้งเชื้อรา ขับปัสสาวะ ลดการอักเสบ ลดความดันโลหิตสูง ส่วนที่ใช้ ใบแก่เต็มที่ โดยใช้ใบ 1 กามือ ต้มน้าดื่มตอนเช้า ประเทศอินเดียทดลอง ในปี ค.ศ 1982 ลดน้าตาลในเลือด ส่วนที่ใช้ ใบแก่เต็มที่ เมล็ด เปลือกผล ประเทศไทย ในปี ค.ศ 1984 ใช้สารสกัดจาก เมล็ด เปลือกผล ประเทศอินเดีย ในปี ค.ศ 1949 สารสกัดจากใบ ประเทศฟิลิปปินส์ ในปีค.ศ 1943 ทาการทดลองสารสกัดจากอินทนิลน้า พบว่าออกฤทธิ์เหมือนอินซูลิน ลดไขมันในเลือด ส่วนที่ใช้ ใบ ในปีค.ศ 2002 ประเทศญี่ปุ่น ทาการทดลองสกัดสารจากใบอินทนิลน้า ด้วย aicohol นาไปทาให้เข้มข้นจนได้สาร 3 mg/ml นาไปทายาเม็ดขนาด 250mg/tab โดยทาการทดลองใน ผู้ป่วยที่เป็นเบาหวาน และมีภาวะไขมันในเลือดสูง โดยให้กินยาสกัดจากอินทนิลน้าวันละ 3 เม็ด วันละ 3 ครั้ง เป็นเวลานาน 4 สัปดาห์ ผลการทดลองพบว่า ผู้ป่วยมีระดับคอเลสเตอรอลในเลือดลดลง ( ขอบคุณสรรพคุณ ผลการทดลอง อินทนิลน้าจากหนังสือเภสัชกรรมไทย โดย วุฒิ วุฒิธรรรมเวช และ หนังสือสมุนไพร บาบัดเบาหวาน ลดความดันโลหิตสูง ลดไขมันในเลือด รวบรวมเรียบเรียงโดย เภสัขกร หญิงจุไรรัตน์ เกิด ดอนแฝก ) ด้วยความปรารถนาดี กานดา แสนมณี ที่มา : http://www.wattano.ac.th/wattano/Web_saunpluak/My%20Hip/244.html http://www.gotoknow.org/posts/532158