SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
Powerpoint Templates
Page 1
Powerpoint Templates
ปัจจัยที่ทำให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงควำมถี่ของแอลลีล
ครูฉวีวรรณ นำคบุตร โรงเรียนบ้ำนสวน(จั่นอนุสรณ์)
Powerpoint Templates
Page 2
การเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีลในประชากร ทาให้
โครงสร้างทางพันธุกรรมของประชากรเปลี่ยนแปลง นั่นก็คือ การ
เกิดวิวัฒนาการ การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของประชากรทีละ
เล็กละน้อยเรียกว่า วิวัฒนาการระดับจุลภาค ที่เป็นการ
เปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตที่นาไปสู่การ
เกิดสปีชีส์ใหม่ แต่ถ้าการเปลี่ยนแปลงนั้นก่อให้เกิดวิวัฒนาการ
เกิดเป็นสิ่งมีชีวิตสปีชีส์ใหม่หลากหลายสปีชีส์จนนาไปสู่การเกิด
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต เรียกว่าวิวัฒนาการระดับมหภาค
ฉวีวรรณ นาคบุตร
Powerpoint Templates
Page 3
ในภาวะสมดุลของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์กนั้น ความถี่ของแอลลีลใน
ประชากรแต่ละรุ่นจะไม่มีการเปลี่ยนแปลง แต่ถ้ามีการ
เปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีลในประชากรจะทาให้โครงสร้าง
ทางพันธุกรรมของประชากรมีการเปลี่ยนแปลงน้อยจนไม่
สามารถสังเกตเห็นได้ นั่นคือประชากรเกิดวิวัฒนาการขึ้น การ
เปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางพันธุกรรมของยีนพูลในประชากร
ทีละเล็กทีละน้อยนี้เรียกว่า วิวัฒนาการระดับจุลภาค ซึ่งถือได้
ว่าเป็นการเกิดวิวัฒนาการในระดับสปีชีส์ของสิ่งมีชีวิต
ฉวีวรรณ นาคบุตร
Powerpoint Templates
Page 4
“มีปัจจัยใดบ้างที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่
ของแอลลีลประชากร”
1) แรนดอมจีเนติกดริฟท์
2) การถ่ายเทเคลื่อนย้ายยีน
3) การเลือกคู่ผสมพันธุ์
4) มิวเทชัน
5) การคัดเลือกโดยธรรมชาติ
ฉวีวรรณ นาคบุตร
Powerpoint Templates
Page 5
1. แรนดอมจีเนติกดริฟท์ (random genetic drift) คือ มีการเปลี่ยนแปลง
ความถี่ของแอลลีลที่เกิดขึ้นในประชากรที่มีขนาดเล็ก ไม่ได้เกิดจากการ
คัดเลือกโดยธรรมชาติ ทาให้บางแอลลีลไม่มีโอกาสถ่ายทอดไปยังรุ่น
ลูกได้
แรนดอมจีเนติกดริฟท์ ที่พบในธรรมชาติมี 2สถานการณ์
คือ ปรากฏการณ์คอขวด ( Bottleneck effect ) และ
ผลกระทบจากผู้ก่อตัว ( Founder effect )
แรนดอมจีเนติกดริฟท์ หรือ การลอยห่างจากกันทางพันธุกรรม
ฉวีวรรณ นาคบุตร
Powerpoint Templates
Page 6
จากภาพจะเห็นได้ว่าภาพซ้ายสุดเป็นกลุ่มประชากรแมลงกลุ่มหนึ่ง
บังเอิญมีคนเดินมาเหยียบโดยบังเอิญทาให้แมลงส่วนหนึ่งตายไป ส่งผล
ให้กลุ่มประชากรที่เหลืออยู่เปลี่ยนไป
ฉวีวรรณ นาคบุตร
Powerpoint Templates
Page 7
การสูญพันธุ์ของไดโนเสาร์น่าจะมีส่วนเกี่ยวข้องกับแรนดอมจีเนติกดริฟท์
หรือไม่ อย่างไร?
ฉวีวรรณ นาคบุตร
Powerpoint Templates
Page 8
ประชากรที่มีขนาดใหญ่และมีการผสมพันธุ์แบบสุ่ม จะไม่พบว่ามี
การเปลี่ยนแปลงความถี่ของยีนมากมายอย่างมีนัยสาคัญ
เจเนติก ดริฟต์ เป็นกลไกที่สาคัญอย่างหนึ่ง ที่ทา ให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงวิวัฒนาการของสัตว์ชนิดที่เกิดขึ้นใหม่ตามหมู่
เกาะต่าง ๆ ในมหาสมุทรแปซิฟิก ดังตัวอย่างแมลงหวี่ชนิด
ต่าง ๆ ที่เกิดบนหมู่เกาะฮาวาย
ฉวีวรรณ นาคบุตร
Powerpoint Templates
Page 9
2. การถ่ายเทเคลื่อนย้ายยีน(gene flow) เกิดในลักษณะเช่น การ
แพร่กระจายของสปอร์ หรือละอองเรณูหรือเมล็ดระหว่างประชากรพืช
จากพื้นที่หนึ่งแพร่กระจายไปยังพื้นที่อื่น ทาให้ความถี่ของแอลลีลใน
ประชากรทั้งสองมีแนวโน้มแตกต่างกันน้อยลงเรื่อยๆ จนในที่สุด
เปรียบเสมือนเป็นประชากรเดียวกัน
ฉวีวรรณ นาคบุตร
Powerpoint Templates
Page 10
3. การเลือกคู่ผสมพันธุ์(non-random
mating) ประชากรที่สมาชิกทุกตัวมี
โอกาสผสมพันธุ์ได้เท่าๆกัน จะไม่มีผลต่อ
การเปลี่ยนแปลงความถี่ของยีนพูลของ
ประชากรในทุกรุ่น แต่ในธรรมชาติ
โดยทั่วไปสมาชิกในประชากรมักจะมีการ
เลือกคู่ผสมพันธุ์ ทาให้สมาชิกบางส่วนไม่
มีโอกาสได้ผสมพันธุ์ จึงเกิดการ
เปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีลในยีนพูล
ของประชากรในรุ่นต่อไป
ฉวีวรรณ นาคบุตร
Powerpoint Templates
Page 11
4. มิวเทชัน(mutation) เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้งในระดับ
ยีน และในระดับโครโมโซมในลักษณะต่างๆ ซึ่งเกิดขึ้นได้เสมอใน
สภาวะปกติ การเกิดมิวเทชันอย่างเดียวไม่มีผลมากพอจะ
เปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางพันธุกรรมของยีนพูลในประชากร
ขนาดใหญ่ภายในรุ่นเดียว แต่เป็นการสร้างแอลลีลใหม่ที่สะสมไว้
ในยีนพูลของประชากรทาให้เกิดความหลากหลายทางพันธุกรรม
ของประชากรโดยธรรมชาติจะเป็นผู้คัดเลือกแอลลีลใหม่ที่
เหมาะสมไว้ในประชากร
ฉวีวรรณ นาคบุตร
Powerpoint Templates
Page 12
5. การคัดเลือกโดยธรรมชาติ(natural selection) ทาให้สมาชิกของ
ประชากรที่มีลักษณะเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมมีจานวนมาก
เพิ่มขึ้น ลักษณะที่ไม่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมจะถูกคัดทิ้ง
ที่มา:http://evolution.berkeley.edu/evolibrary/article/evo_39
จากภาพนกจะเลือกกินแมลงที่มี
ลักษณะเด่นสะดุดตากว่า แมลงตัว
ที่อยู่รอดจะมีลักษณะกลืนกับ
สิ่งแวดล้อมแสดงว่ามีลักษณะที่
เหมาะกับสิ่งแวดล้อมมากกว่า ทา
ให้สามารถอาพรางตัวและรอดจาก
การเป็นอาหารของนก
ฉวีวรรณ นาคบุตร
Powerpoint Templates
Page 13
ภาพนี้มีแมลงกี่ตัว แมลง
ตัวใดน่าจะมีโอกาสอยู่รอดใน
สิ่งแวดล้อมมากกว่า และ
เพราะเหตุใด?
ฉวีวรรณ นาคบุตร
Powerpoint Templates
Page 14
จากปัจจัยต่างๆที่กล่าวมา ทุกปัจจัยมีผลทาให้ความถี่ของแอลลีล
ที่เป็นองค์ประกอบทางพันธุกรรมในประชากรมีการเปลี่ยนแปลง
แต่มีเพียงการคัดเลือกโดยธรรมชาติเท่านั้นที่การเปลี่ยนแปลง
ความถี่ของแอลลีลในประชากรทาให้มีลักษณะที่เหมาะสมกับ
สภาพแวดล้อม
ฉวีวรรณ นาคบุตร
Powerpoint Templates
Page 15
The End
ฉวีวรรณ นาคบุตร

More Related Content

What's hot

บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดPinutchaya Nakchumroon
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรงTaweesak Poochai
 
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการWan Ngamwongwan
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
พันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากรพันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากรWan Ngamwongwan
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพสำเร็จ นางสีคุณ
 
พันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มพันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มWichai Likitponrak
 
การคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าการคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าsripai52
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงพัน พัน
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีืkanya pinyo
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaWan Ngamwongwan
 
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารวิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารWuttipong Tubkrathok
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์Arocha Chaichana
 

What's hot (20)

บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรง
 
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
 
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
พันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากรพันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากร
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
พันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มพันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่ม
 
การคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าการคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้า
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
ประชากร1
ประชากร1ประชากร1
ประชากร1
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
 
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารวิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 

Viewers also liked

1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการWan Ngamwongwan
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊สWan Ngamwongwan
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์Wan Ngamwongwan
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายWan Ngamwongwan
 
บทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตบทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตฟลุ๊ค ลำพูน
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย Thitaree Samphao
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการเอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการBiobiome
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDnaพันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDnaWan Ngamwongwan
 
โครโมโซม
โครโมโซมโครโมโซม
โครโมโซมWan Ngamwongwan
 
สมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมสมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมWan Ngamwongwan
 
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaWan Ngamwongwan
 
ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1Wan Ngamwongwan
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5Wan Ngamwongwan
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนWan Ngamwongwan
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)Wan Ngamwongwan
 
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน Wan Ngamwongwan
 
Dnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
DnaกับลักษณะทางพันธุกรรมDnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
DnaกับลักษณะทางพันธุกรรมWan Ngamwongwan
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊สWan Ngamwongwan
 

Viewers also liked (20)

1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
บทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตบทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการเอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
 
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDnaพันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
 
โครโมโซม
โครโมโซมโครโมโซม
โครโมโซม
 
สมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมสมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรม
 
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
 
ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคน
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
 
Dnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
DnaกับลักษณะทางพันธุกรรมDnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
Dnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
หัวใจคน
หัวใจคนหัวใจคน
หัวใจคน
 

More from Wan Ngamwongwan

หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดWan Ngamwongwan
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดWan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1Wan Ngamwongwan
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นWan Ngamwongwan
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจWan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3Wan Ngamwongwan
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)Wan Ngamwongwan
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกWan Ngamwongwan
 
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)Wan Ngamwongwan
 
โรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบโรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบWan Ngamwongwan
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)Wan Ngamwongwan
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบWan Ngamwongwan
 
โรคไข้หวัด
โรคไข้หวัดโรคไข้หวัด
โรคไข้หวัดWan Ngamwongwan
 

More from Wan Ngamwongwan (20)

2 genetic material
2 genetic material2 genetic material
2 genetic material
 
1chrmosome
1chrmosome1chrmosome
1chrmosome
 
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาด
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่น
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูก
 
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
 
โรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบโรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบ
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
 
โรคไข้หวัด
โรคไข้หวัดโรคไข้หวัด
โรคไข้หวัด
 

ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล

  • 1. Powerpoint Templates Page 1 Powerpoint Templates ปัจจัยที่ทำให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงควำมถี่ของแอลลีล ครูฉวีวรรณ นำคบุตร โรงเรียนบ้ำนสวน(จั่นอนุสรณ์)
  • 2. Powerpoint Templates Page 2 การเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีลในประชากร ทาให้ โครงสร้างทางพันธุกรรมของประชากรเปลี่ยนแปลง นั่นก็คือ การ เกิดวิวัฒนาการ การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของประชากรทีละ เล็กละน้อยเรียกว่า วิวัฒนาการระดับจุลภาค ที่เป็นการ เปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตที่นาไปสู่การ เกิดสปีชีส์ใหม่ แต่ถ้าการเปลี่ยนแปลงนั้นก่อให้เกิดวิวัฒนาการ เกิดเป็นสิ่งมีชีวิตสปีชีส์ใหม่หลากหลายสปีชีส์จนนาไปสู่การเกิด ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต เรียกว่าวิวัฒนาการระดับมหภาค ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 3. Powerpoint Templates Page 3 ในภาวะสมดุลของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์กนั้น ความถี่ของแอลลีลใน ประชากรแต่ละรุ่นจะไม่มีการเปลี่ยนแปลง แต่ถ้ามีการ เปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีลในประชากรจะทาให้โครงสร้าง ทางพันธุกรรมของประชากรมีการเปลี่ยนแปลงน้อยจนไม่ สามารถสังเกตเห็นได้ นั่นคือประชากรเกิดวิวัฒนาการขึ้น การ เปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางพันธุกรรมของยีนพูลในประชากร ทีละเล็กทีละน้อยนี้เรียกว่า วิวัฒนาการระดับจุลภาค ซึ่งถือได้ ว่าเป็นการเกิดวิวัฒนาการในระดับสปีชีส์ของสิ่งมีชีวิต ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 4. Powerpoint Templates Page 4 “มีปัจจัยใดบ้างที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ ของแอลลีลประชากร” 1) แรนดอมจีเนติกดริฟท์ 2) การถ่ายเทเคลื่อนย้ายยีน 3) การเลือกคู่ผสมพันธุ์ 4) มิวเทชัน 5) การคัดเลือกโดยธรรมชาติ ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 5. Powerpoint Templates Page 5 1. แรนดอมจีเนติกดริฟท์ (random genetic drift) คือ มีการเปลี่ยนแปลง ความถี่ของแอลลีลที่เกิดขึ้นในประชากรที่มีขนาดเล็ก ไม่ได้เกิดจากการ คัดเลือกโดยธรรมชาติ ทาให้บางแอลลีลไม่มีโอกาสถ่ายทอดไปยังรุ่น ลูกได้ แรนดอมจีเนติกดริฟท์ ที่พบในธรรมชาติมี 2สถานการณ์ คือ ปรากฏการณ์คอขวด ( Bottleneck effect ) และ ผลกระทบจากผู้ก่อตัว ( Founder effect ) แรนดอมจีเนติกดริฟท์ หรือ การลอยห่างจากกันทางพันธุกรรม ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 8. Powerpoint Templates Page 8 ประชากรที่มีขนาดใหญ่และมีการผสมพันธุ์แบบสุ่ม จะไม่พบว่ามี การเปลี่ยนแปลงความถี่ของยีนมากมายอย่างมีนัยสาคัญ เจเนติก ดริฟต์ เป็นกลไกที่สาคัญอย่างหนึ่ง ที่ทา ให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงวิวัฒนาการของสัตว์ชนิดที่เกิดขึ้นใหม่ตามหมู่ เกาะต่าง ๆ ในมหาสมุทรแปซิฟิก ดังตัวอย่างแมลงหวี่ชนิด ต่าง ๆ ที่เกิดบนหมู่เกาะฮาวาย ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 9. Powerpoint Templates Page 9 2. การถ่ายเทเคลื่อนย้ายยีน(gene flow) เกิดในลักษณะเช่น การ แพร่กระจายของสปอร์ หรือละอองเรณูหรือเมล็ดระหว่างประชากรพืช จากพื้นที่หนึ่งแพร่กระจายไปยังพื้นที่อื่น ทาให้ความถี่ของแอลลีลใน ประชากรทั้งสองมีแนวโน้มแตกต่างกันน้อยลงเรื่อยๆ จนในที่สุด เปรียบเสมือนเป็นประชากรเดียวกัน ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 10. Powerpoint Templates Page 10 3. การเลือกคู่ผสมพันธุ์(non-random mating) ประชากรที่สมาชิกทุกตัวมี โอกาสผสมพันธุ์ได้เท่าๆกัน จะไม่มีผลต่อ การเปลี่ยนแปลงความถี่ของยีนพูลของ ประชากรในทุกรุ่น แต่ในธรรมชาติ โดยทั่วไปสมาชิกในประชากรมักจะมีการ เลือกคู่ผสมพันธุ์ ทาให้สมาชิกบางส่วนไม่ มีโอกาสได้ผสมพันธุ์ จึงเกิดการ เปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีลในยีนพูล ของประชากรในรุ่นต่อไป ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 11. Powerpoint Templates Page 11 4. มิวเทชัน(mutation) เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้งในระดับ ยีน และในระดับโครโมโซมในลักษณะต่างๆ ซึ่งเกิดขึ้นได้เสมอใน สภาวะปกติ การเกิดมิวเทชันอย่างเดียวไม่มีผลมากพอจะ เปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางพันธุกรรมของยีนพูลในประชากร ขนาดใหญ่ภายในรุ่นเดียว แต่เป็นการสร้างแอลลีลใหม่ที่สะสมไว้ ในยีนพูลของประชากรทาให้เกิดความหลากหลายทางพันธุกรรม ของประชากรโดยธรรมชาติจะเป็นผู้คัดเลือกแอลลีลใหม่ที่ เหมาะสมไว้ในประชากร ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 12. Powerpoint Templates Page 12 5. การคัดเลือกโดยธรรมชาติ(natural selection) ทาให้สมาชิกของ ประชากรที่มีลักษณะเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมมีจานวนมาก เพิ่มขึ้น ลักษณะที่ไม่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมจะถูกคัดทิ้ง ที่มา:http://evolution.berkeley.edu/evolibrary/article/evo_39 จากภาพนกจะเลือกกินแมลงที่มี ลักษณะเด่นสะดุดตากว่า แมลงตัว ที่อยู่รอดจะมีลักษณะกลืนกับ สิ่งแวดล้อมแสดงว่ามีลักษณะที่ เหมาะกับสิ่งแวดล้อมมากกว่า ทา ให้สามารถอาพรางตัวและรอดจาก การเป็นอาหารของนก ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 13. Powerpoint Templates Page 13 ภาพนี้มีแมลงกี่ตัว แมลง ตัวใดน่าจะมีโอกาสอยู่รอดใน สิ่งแวดล้อมมากกว่า และ เพราะเหตุใด? ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 14. Powerpoint Templates Page 14 จากปัจจัยต่างๆที่กล่าวมา ทุกปัจจัยมีผลทาให้ความถี่ของแอลลีล ที่เป็นองค์ประกอบทางพันธุกรรมในประชากรมีการเปลี่ยนแปลง แต่มีเพียงการคัดเลือกโดยธรรมชาติเท่านั้นที่การเปลี่ยนแปลง ความถี่ของแอลลีลในประชากรทาให้มีลักษณะที่เหมาะสมกับ สภาพแวดล้อม ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 15. Powerpoint Templates Page 15 The End ฉวีวรรณ นาคบุตร