SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
ดิเรก ป―ทมสิริวัฒน์
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
การประชุมเวทีนโยบายสาธารณะ ปฏิรูปประเทศไทย ปฏิรูปการศึกษาไทย
๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ ที่โรงแรมมิราเคิลแกรด์ หลักสี่
การคลังเพื่อการศึกษา ๒๕ พย ๒๕๕๓ 1
 ครอบคลุมหลายมิติ คือ ตัวผู้เรียน สถานศึกษา ครู/อาจารย์ สภาพแวดล้อม การ
นาเทคโนโลยีมาใช้ การอบรมควบคู่การเรียน สร้างวัฒนธรรมการอ่าน-การ
เรียนรู้-การวิจารณ์ในฐานะพลังป―ญญาทางสังคม การมีส่วนร่วมของภาค
ประชาชนในการจัดการศึกษา บทบาทการจัดการศึกษาโดยภาคเอกชน ความ
เป็นธรรมด้านการศึกษา ฯลฯ
 โครงการวิจัยนี้ เน้นมาตรลดความเหลื่อมล้าการศึกษา.เน้นระดับอุดมศึกษา
ทั้งนี้มีเหตุผลหลายประการ ก) มีความเหลื่อมล้ากันมากที่สุดในระดับอุดมศึกษา
-- สาหรับระดับประถม-มัธยมฯไม่มีความแตกต่างกันมากนักระหว่างคนจนคน
รวย ข) การศึกษาระดับอุดมศึกษา—มีผลกระทบต่อรายได้-การออม-ความมั่ง
คั่ง ตลอดชีวิตอย่างมีนัยสาคัญ ค) มาตรการการคลังของภาครัฐ สามารถลด
ความเหลื่อมล้าได้—ทั้งนี้ต้องปรับแนวคิดแนวเพิ่มพลังคนจน และ targeting for
the poor
การคลังเพื่อการศึกษา ๒๕ พย ๒๕๕๓ 2
 ความตั้งใจของผู้พูด (และทีมวิจัย) คือ การวิพากษ์นโยบายสาธารณะอย่าง
สร้างสรรค์ -- เราศึกษา “ป―ญหา” “ข้อบกพร่องของระบบตลาด” แต่ใน
ขณะเดียวกันพยายามจะชี้ทางออกหรือ “เส้นทางใหม่” ว่าด้วยบทบาทของ
ภาครัฐและท้องถิ่น และกองทุน กยศ. ในการส่งเสริมผู้เรียนยากจนให้มีโอกาส
เรียนระดับอุดมศึกษาเพิ่มขึ้น โดยใช้หลักการเพิ่มพลังคนจน
 วิธีการค้นคว้า อิงทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ และหลักฐานเชิงประจักษ์ (ข้อมูล
ครัวเรือน) เพื่อเข้าใจความเหลื่อมล้า เข้าใจระบบความสัมพันธ์ (การศึกษามีผล
ต่อระบบโครงสร้าง กล่าวคือ ความเหลื่อมล้าระหว่างคนจนคนรวย ใช้สมการ
โครงสร้างประกอบด้วย life-time earning, income, saving, asset
accumulation)
 ความแตกต่างของรายได้..ยังส่งผลลัพธ์ในระยะยาว (ข้ามรุ่น) หมายถึง
ครัวเรือนรวยลงทุนในเด็ก แต่ว่าครัวเรือนยากจนมีโอกาสน้อยหรือแทบจะไม่มี
โอกาส
การคลังเพื่อการศึกษา ๒๕ พย ๒๕๕๓ 3
 เสนอมาตรการการคลัง
 การทางานของ กยศ. แนวใหม่
 หนึ่ง โดยปกติ กยศ. จัดสรรวงเงิน และ จานวนผู้กู้ ส่งไปให้สถาบันการศึกษา
ต่างๆ (อุดมศึกษาเป็นส่วนใหญ่ โรงเรียนเพียงส่วนน้อย)
 สอง ข้อเสนอให้กันโควตา สมมติว่า 35% สาหรับแนวทางใหม่ targeting for
the poor ให้มีคณะกรรมการระดับพื้นที่ (จังหวัดหรืออาเภอ) ร่วมกับท้องถิ่น หา
ครัวเรือนยากจน และมีลูกในวัยเรียนระดับอุดมศึกษา หรือใกล้จะถึง
ระดับอุดมศึกษา (อายุ 15 ปีขึ้นไป)
 สาม เยาวชนในครัวเรือนยากจน ให้กู้สาหรับค่าเล่าเรียน
 สี่ เยาวชนในครัวเรือนยากจน ได้รับทุนให้เปล่าสาหรับค่ากินอยู่ประจาเดือน
การคลังเพื่อการศึกษา ๒๕ พย ๒๕๕๓ 4
 คานวณภาระทางการคลัง
 ประมาณการขั้นต้น
 หนึ่ง จานวนครัวเรือนคนจน ที่อยู่ในข่ายได้รับทุนให้เปล่า และมีบุตรในวัยเรียน
ระดับอุดมศึกษา (อายุ 18-22 ปี) .. ครัวเรือนคนจนหมายถึง quintile 1, 20%
 สอง แม้ว่ามีสิทธิ์ แต่ว่าบางคนอาจจะไม่เลือกเรียนในมหาวิทยาลัย
 สาม ข้อสันนิษฐานภาระการคลัง-ไม่สูงในระแยะแรก เพราะว่าเป็นมาตรการ
“ค่อยเป็นค่อยไป” เริ่มจากผู้เรียนคนจน—เข้ามหาวิทยาลัยปีที่หนึ่ง เพิ่มขึ้นในปี
ที่สอง สาม สี่
 สี่ โครงการนี้มิได้ให้ทุกคน – เฉพาะ quintile 1 เท่านั้น
 ห้า ทุนให้เปล่าสาหรับค่ากินอยู่ประจาเดือน ส่วนค่าเล่าเรียนใช้เงินกู้ กยศ.
การคลังเพื่อการศึกษา ๒๕ พย ๒๕๕๓ 5
 โครงการนี้จาเป็นต้องประเมินผลระหว่างดาเนินการ
 หมายถึง ติดตามว่า วิธีการคัดกรองครัวเรือนยากจน..เหมาะสมหรือไม่ มีอัตรา
คลาดเคลื่อนมากน้อยเพียงใด
 ติดตามว่า ผู้เรียนยากจนเมื่อเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัย มีผลการเรียนอย่างไร
สันนิษฐานว่าไม่แตกต่างจากครัวเรือนทั่วไป
 ผู้เรียนยากจน เข้าศึกษาในสถาบันการศึกษาอะไร? สาขาวิชาที่เรียน?
 เมื่อจบการศึกษา..สามารถมีงานทามีอาชีพที่รายได้มั่นคง
 การมีงานทาที่ดี-มั่นคง สามารถหลุดพ้นจากความยากจนได้..เป็นส่วนหนึ่งของ
social mobility
 มีตัวอย่างในอดีตมากมายที่ลูกคนจนแต่เรียนเก่ง จบมหาวิทยาลัย ช่วยให้
ครอบครัวหลุดพ้นความยากจนได้
การคลังเพื่อการศึกษา ๒๕ พย ๒๕๕๓ 6
 ขออ้างอิง ทฤษฎีสามเหลี่ยมเขยื้อนภูเขา ศ.นพ.ประเวศ วะสี แม้ว่ายากแต่ก็เป็นไปได้
เช่นเดียวกับการเคลื่อนสังคมที่ผ่านมา เช่น กระจายอานาจท้องถิ่น (ยี่สิบก่อนหน้าเราคงไม่
คิดว่าจะเป็นไปได้ แต่ก็เป็นไปแล้ว)
 ด้านหนึ่ง คือ การสร้างองค์ความรู้ (เฉพาะเจาะจง) คือ การวิจัยเพื่อเข้าใจว่ามาตรการคลัง
เพื่อการศึกษา (เพิ่มพลังคนจน ลดความเหลื่อมล้าฯ) หมายถึงอะไร เกี่ยวข้องกับใคร รัฐบาล
และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีบทบาทสนับสนุนอย่างไร การค้นหาและคัดกรองคนจนที่
สมควรได้รับการช่วยเหลือ
 ด้านที่สอง การขยายองค์ความรู้เพื่อความเข้าใจในวงกว้าง
 ด้านที่สาม การได้รับความร่วมมือจากภาคการเมือง – รัฐสภาในฐานะผู้ออกกฎหมาย และ
หน่วยงานรัฐ/ท้องถิ่นที่เกี่ยวข้อง บทบาทของภาคประชาสังคมในการคัดกรองคนยากจนและ
สมควรได้รับการช่วยเหลือ
การคลังเพื่อการศึกษา ๒๕ พย ๒๕๕๓ 7

More Related Content

Similar to การคลังเพื่อการศึกษา โดย ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ 25 nov2010

สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบสรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบtunyapisit
 
ในฝันสู่มาตรฐานสากล เอเชียแอร์พอร์ท
ในฝันสู่มาตรฐานสากล เอเชียแอร์พอร์ทในฝันสู่มาตรฐานสากล เอเชียแอร์พอร์ท
ในฝันสู่มาตรฐานสากล เอเชียแอร์พอร์ทIct Krutao
 
วิถีสู่การพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน
วิถีสู่การพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืนวิถีสู่การพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน
วิถีสู่การพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืนJiraprapa Suwannajak
 
วารสาร วิจัย 02
วารสาร วิจัย 02วารสาร วิจัย 02
วารสาร วิจัย 02Tam Taam
 
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2krupornpana55
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11wanneemayss
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826gam030
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11benty2443
 

Similar to การคลังเพื่อการศึกษา โดย ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ 25 nov2010 (20)

25713 1
25713 125713 1
25713 1
 
W 2
W 2W 2
W 2
 
2
22
2
 
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบสรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
 
ในฝันสู่มาตรฐานสากล เอเชียแอร์พอร์ท
ในฝันสู่มาตรฐานสากล เอเชียแอร์พอร์ทในฝันสู่มาตรฐานสากล เอเชียแอร์พอร์ท
ในฝันสู่มาตรฐานสากล เอเชียแอร์พอร์ท
 
วิถีสู่การพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน
วิถีสู่การพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืนวิถีสู่การพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน
วิถีสู่การพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน
 
วารสาร วิจัย 02
วารสาร วิจัย 02วารสาร วิจัย 02
วารสาร วิจัย 02
 
C
CC
C
 
สรุป E 734
สรุป    E  734สรุป    E  734
สรุป E 734
 
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
 
Ugp 630910
Ugp 630910Ugp 630910
Ugp 630910
 
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 

การคลังเพื่อการศึกษา โดย ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ 25 nov2010

  • 1. ดิเรก ป―ทมสิริวัฒน์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ การประชุมเวทีนโยบายสาธารณะ ปฏิรูปประเทศไทย ปฏิรูปการศึกษาไทย ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ ที่โรงแรมมิราเคิลแกรด์ หลักสี่ การคลังเพื่อการศึกษา ๒๕ พย ๒๕๕๓ 1
  • 2.  ครอบคลุมหลายมิติ คือ ตัวผู้เรียน สถานศึกษา ครู/อาจารย์ สภาพแวดล้อม การ นาเทคโนโลยีมาใช้ การอบรมควบคู่การเรียน สร้างวัฒนธรรมการอ่าน-การ เรียนรู้-การวิจารณ์ในฐานะพลังป―ญญาทางสังคม การมีส่วนร่วมของภาค ประชาชนในการจัดการศึกษา บทบาทการจัดการศึกษาโดยภาคเอกชน ความ เป็นธรรมด้านการศึกษา ฯลฯ  โครงการวิจัยนี้ เน้นมาตรลดความเหลื่อมล้าการศึกษา.เน้นระดับอุดมศึกษา ทั้งนี้มีเหตุผลหลายประการ ก) มีความเหลื่อมล้ากันมากที่สุดในระดับอุดมศึกษา -- สาหรับระดับประถม-มัธยมฯไม่มีความแตกต่างกันมากนักระหว่างคนจนคน รวย ข) การศึกษาระดับอุดมศึกษา—มีผลกระทบต่อรายได้-การออม-ความมั่ง คั่ง ตลอดชีวิตอย่างมีนัยสาคัญ ค) มาตรการการคลังของภาครัฐ สามารถลด ความเหลื่อมล้าได้—ทั้งนี้ต้องปรับแนวคิดแนวเพิ่มพลังคนจน และ targeting for the poor การคลังเพื่อการศึกษา ๒๕ พย ๒๕๕๓ 2
  • 3.  ความตั้งใจของผู้พูด (และทีมวิจัย) คือ การวิพากษ์นโยบายสาธารณะอย่าง สร้างสรรค์ -- เราศึกษา “ป―ญหา” “ข้อบกพร่องของระบบตลาด” แต่ใน ขณะเดียวกันพยายามจะชี้ทางออกหรือ “เส้นทางใหม่” ว่าด้วยบทบาทของ ภาครัฐและท้องถิ่น และกองทุน กยศ. ในการส่งเสริมผู้เรียนยากจนให้มีโอกาส เรียนระดับอุดมศึกษาเพิ่มขึ้น โดยใช้หลักการเพิ่มพลังคนจน  วิธีการค้นคว้า อิงทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ และหลักฐานเชิงประจักษ์ (ข้อมูล ครัวเรือน) เพื่อเข้าใจความเหลื่อมล้า เข้าใจระบบความสัมพันธ์ (การศึกษามีผล ต่อระบบโครงสร้าง กล่าวคือ ความเหลื่อมล้าระหว่างคนจนคนรวย ใช้สมการ โครงสร้างประกอบด้วย life-time earning, income, saving, asset accumulation)  ความแตกต่างของรายได้..ยังส่งผลลัพธ์ในระยะยาว (ข้ามรุ่น) หมายถึง ครัวเรือนรวยลงทุนในเด็ก แต่ว่าครัวเรือนยากจนมีโอกาสน้อยหรือแทบจะไม่มี โอกาส การคลังเพื่อการศึกษา ๒๕ พย ๒๕๕๓ 3
  • 4.  เสนอมาตรการการคลัง  การทางานของ กยศ. แนวใหม่  หนึ่ง โดยปกติ กยศ. จัดสรรวงเงิน และ จานวนผู้กู้ ส่งไปให้สถาบันการศึกษา ต่างๆ (อุดมศึกษาเป็นส่วนใหญ่ โรงเรียนเพียงส่วนน้อย)  สอง ข้อเสนอให้กันโควตา สมมติว่า 35% สาหรับแนวทางใหม่ targeting for the poor ให้มีคณะกรรมการระดับพื้นที่ (จังหวัดหรืออาเภอ) ร่วมกับท้องถิ่น หา ครัวเรือนยากจน และมีลูกในวัยเรียนระดับอุดมศึกษา หรือใกล้จะถึง ระดับอุดมศึกษา (อายุ 15 ปีขึ้นไป)  สาม เยาวชนในครัวเรือนยากจน ให้กู้สาหรับค่าเล่าเรียน  สี่ เยาวชนในครัวเรือนยากจน ได้รับทุนให้เปล่าสาหรับค่ากินอยู่ประจาเดือน การคลังเพื่อการศึกษา ๒๕ พย ๒๕๕๓ 4
  • 5.  คานวณภาระทางการคลัง  ประมาณการขั้นต้น  หนึ่ง จานวนครัวเรือนคนจน ที่อยู่ในข่ายได้รับทุนให้เปล่า และมีบุตรในวัยเรียน ระดับอุดมศึกษา (อายุ 18-22 ปี) .. ครัวเรือนคนจนหมายถึง quintile 1, 20%  สอง แม้ว่ามีสิทธิ์ แต่ว่าบางคนอาจจะไม่เลือกเรียนในมหาวิทยาลัย  สาม ข้อสันนิษฐานภาระการคลัง-ไม่สูงในระแยะแรก เพราะว่าเป็นมาตรการ “ค่อยเป็นค่อยไป” เริ่มจากผู้เรียนคนจน—เข้ามหาวิทยาลัยปีที่หนึ่ง เพิ่มขึ้นในปี ที่สอง สาม สี่  สี่ โครงการนี้มิได้ให้ทุกคน – เฉพาะ quintile 1 เท่านั้น  ห้า ทุนให้เปล่าสาหรับค่ากินอยู่ประจาเดือน ส่วนค่าเล่าเรียนใช้เงินกู้ กยศ. การคลังเพื่อการศึกษา ๒๕ พย ๒๕๕๓ 5
  • 6.  โครงการนี้จาเป็นต้องประเมินผลระหว่างดาเนินการ  หมายถึง ติดตามว่า วิธีการคัดกรองครัวเรือนยากจน..เหมาะสมหรือไม่ มีอัตรา คลาดเคลื่อนมากน้อยเพียงใด  ติดตามว่า ผู้เรียนยากจนเมื่อเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัย มีผลการเรียนอย่างไร สันนิษฐานว่าไม่แตกต่างจากครัวเรือนทั่วไป  ผู้เรียนยากจน เข้าศึกษาในสถาบันการศึกษาอะไร? สาขาวิชาที่เรียน?  เมื่อจบการศึกษา..สามารถมีงานทามีอาชีพที่รายได้มั่นคง  การมีงานทาที่ดี-มั่นคง สามารถหลุดพ้นจากความยากจนได้..เป็นส่วนหนึ่งของ social mobility  มีตัวอย่างในอดีตมากมายที่ลูกคนจนแต่เรียนเก่ง จบมหาวิทยาลัย ช่วยให้ ครอบครัวหลุดพ้นความยากจนได้ การคลังเพื่อการศึกษา ๒๕ พย ๒๕๕๓ 6
  • 7.  ขออ้างอิง ทฤษฎีสามเหลี่ยมเขยื้อนภูเขา ศ.นพ.ประเวศ วะสี แม้ว่ายากแต่ก็เป็นไปได้ เช่นเดียวกับการเคลื่อนสังคมที่ผ่านมา เช่น กระจายอานาจท้องถิ่น (ยี่สิบก่อนหน้าเราคงไม่ คิดว่าจะเป็นไปได้ แต่ก็เป็นไปแล้ว)  ด้านหนึ่ง คือ การสร้างองค์ความรู้ (เฉพาะเจาะจง) คือ การวิจัยเพื่อเข้าใจว่ามาตรการคลัง เพื่อการศึกษา (เพิ่มพลังคนจน ลดความเหลื่อมล้าฯ) หมายถึงอะไร เกี่ยวข้องกับใคร รัฐบาล และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีบทบาทสนับสนุนอย่างไร การค้นหาและคัดกรองคนจนที่ สมควรได้รับการช่วยเหลือ  ด้านที่สอง การขยายองค์ความรู้เพื่อความเข้าใจในวงกว้าง  ด้านที่สาม การได้รับความร่วมมือจากภาคการเมือง – รัฐสภาในฐานะผู้ออกกฎหมาย และ หน่วยงานรัฐ/ท้องถิ่นที่เกี่ยวข้อง บทบาทของภาคประชาสังคมในการคัดกรองคนยากจนและ สมควรได้รับการช่วยเหลือ การคลังเพื่อการศึกษา ๒๕ พย ๒๕๕๓ 7