SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
หน่วยที่ 8 แรงและการเคลื่อนที่ แรงลัพธ์  แรง จุดประสงค์การเรียนรู้  ,[object Object]
 เขียนเวกเตอร์ที่เกิดจากแรงหลายแรงที่กระทำต่อวัตถุได้แรงลัพธ์ แรงเสียดทาน โมเมนต์ กลับหน้าหลัก
หน่วยที่ 8 แรงและการเคลื่อนที่ แรงลัพธ์  แรง เมื่อมีแรง 2 แรง หรือมากกว่า 2 แรงมากระทำที่วัตถุอันเดียวกัน  ผลที่เกิดเหมือนมีแรงมากระทำต่อวัตถุเพียงแรงเดียว  เรียกแรงที่รวมกันนี้ว่า “แรงลัพธ์” แรงลัพธ์ กรณีที่ 1 เมื่อแรงมากระทำกับวัตถุมากกว่า 1 แรง โดยแรงที่มากระทำมีทิศเดียวกัน วัตถุจะเคลื่อนที่ในลักษณะเดียวกับแรงดึงเพียงแรงเดียวซึ่งเท่ากับผลบวกของแรงทั้งหมด แรงเสียดทาน โมเมนต์ 10 N 20 N 10 N กลับหน้าหลัก
หน่วยที่ 8 แรงและการเคลื่อนที่ แรงลัพธ์  แรง กรณีที่ 2ถ้ามีแรง 2 แรงที่มีขนาดเท่ากันมากระทำในทิศทางตรงกันข้าม  ผลที่เกิดขึ้นคือ วัตถุหยุดนิ่งอยู่กับที่หรืออยู่ในลักษณะเดิมเหมือนไม่มีแรงมากระทำ แรงลัพธ์ 10 N 10 N แรงเสียดทาน โมเมนต์ กรณีที่ 3ถ้ามีแรง 2 แรงที่มีขนาดไม่เท่ากันมากระทำในทิศทางตรงกันข้าม  ผลที่เกิดขึ้นคือ วัตถุจะเคลื่อนที่ไปในทิศทางของแรงที่มีขนาดมากกว่าด้วยขนาด เท่ากับผลต่างของแรงที่มากระทำทั้งหมด 10 N 6 N 4 N กลับหน้าหลัก
หน่วยที่ 8 แรงและการเคลื่อนที่ แรงลัพธ์  แรง กรณีที่ 4 ถ้ามีแรง 2 แรงที่มากระทำต่อวัตถุเดียวกันและแรง2 แรงนั้นตั้งฉากกัน ผลที่เกิดขึ้นก็คือ วัตถุจะเคลื่อนที่ในทิศทางระหว่างสองแรงนั้น แรงลัพธ์ แรงเสียดทาน 6 N โมเมนต์ 10 N 8 N กลับหน้าหลัก
หน่วยที่ 8 แรงและการเคลื่อนที่ แรงลัพธ์  แรง การบวกเวกเตอร์ : การบวกเวกเตอร์โดยการเขียนรูป                 สามารถทำได้ 2 วิธี คือ  แรงลัพธ์ 1. การทำเวกเตอร์ลัพธ์โดยวิธีการเขียนรูปแบบหางต่อหัว มีขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1. เขียนรูปลูกศรเวกเตอร์ตัวแรกตามขนาดและทิศทางที่กำหนด 2. นำหางลูกศรของเวกเตอร์ตัวที่ 2 ต่อกับหัวลูกศรตัวแรก 3. ทำเช่นนี้ต่อไปจนหมดเวกเตอร์ 4. เวกเตอร์ลัพธ์ของเวกเตอร์ย่อย หาได้โดยการลากลูกศรจากหางของเวกเตอร์       ตัวแรกไปยังหัวลูกศรของเวกเตอร์ตัวสุดท้าย  แรงเสียดทาน โมเมนต์ กลับหน้าหลัก
หน่วยที่ 8 แรงและการเคลื่อนที่ แรงลัพธ์  แรง 1. การทำเวกเตอร์ลัพธ์โดยวิธีการเขียนรูปแบบหางต่อหัว  แรงลัพธ์  = 5 หน่วย  = 3 หน่วย แรงเสียดทาน 1) จงหาเวกเตอร์ลัพธ์ของผลบวกของเวกเตอร์ทั้งสอง โมเมนต์ =   5  +  3 =   8 หน่วย กลับหน้าหลัก
หน่วยที่ 8 แรงและการเคลื่อนที่ แรงลัพธ์  แรง 1. การทำเวกเตอร์ลัพธ์โดยวิธีการเขียนรูปแบบหางต่อหัว  แรงลัพธ์  = 8 หน่วย  = 6 หน่วย แรงเสียดทาน 2) จงหาผลรวมของเวกเตอร์ทั้งสอง โมเมนต์ กลับหน้าหลัก หน่วย
หน่วยที่ 8 แรงและการเคลื่อนที่ แรงลัพธ์  แรง 2. การทำเวกเตอร์ลัพธ์โดยวิธีการเขียนรูปแบบหางต่อหาง มีขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1. เขียนรูปลูกศรเวกเตอร์ตัวแรกตามขนาดและทิศทางที่กำหนด 2. นำหางลูกศรของเวกเตอร์ตัวที่ 2 ต่อกับหางเวกเตอร์ตัวแรก 3. สร้างสี่เหลี่ยมด้านขนานจากเวกเตอร์ทั้งสองนั้น 4. เวกเตอร์ลัพธ์ของการบวกเวกเตอร์หาได้โดยลากลูกศรที่หางเวกเตอร์ทั้งสองไปยังมุมตรงข้าม แรงลัพธ์ แรงเสียดทาน โมเมนต์ กลับหน้าหลัก

More Related Content

More from treera

แรงและการMain
แรงและการMainแรงและการMain
แรงและการMaintreera
 
แรงเสียดท3
แรงเสียดท3แรงเสียดท3
แรงเสียดท3treera
 
แรง1
แรง1แรง1
แรง1treera
 
แรง1
แรง1แรง1
แรง1treera
 
แรงและการMain
แรงและการMainแรงและการMain
แรงและการMaintreera
 
แรงเสียดท3
แรงเสียดท3แรงเสียดท3
แรงเสียดท3treera
 

More from treera (6)

แรงและการMain
แรงและการMainแรงและการMain
แรงและการMain
 
แรงเสียดท3
แรงเสียดท3แรงเสียดท3
แรงเสียดท3
 
แรง1
แรง1แรง1
แรง1
 
แรง1
แรง1แรง1
แรง1
 
แรงและการMain
แรงและการMainแรงและการMain
แรงและการMain
 
แรงเสียดท3
แรงเสียดท3แรงเสียดท3
แรงเสียดท3
 

แรงลัพธ์2

  • 1.
  • 3. หน่วยที่ 8 แรงและการเคลื่อนที่ แรงลัพธ์ แรง เมื่อมีแรง 2 แรง หรือมากกว่า 2 แรงมากระทำที่วัตถุอันเดียวกัน ผลที่เกิดเหมือนมีแรงมากระทำต่อวัตถุเพียงแรงเดียว เรียกแรงที่รวมกันนี้ว่า “แรงลัพธ์” แรงลัพธ์ กรณีที่ 1 เมื่อแรงมากระทำกับวัตถุมากกว่า 1 แรง โดยแรงที่มากระทำมีทิศเดียวกัน วัตถุจะเคลื่อนที่ในลักษณะเดียวกับแรงดึงเพียงแรงเดียวซึ่งเท่ากับผลบวกของแรงทั้งหมด แรงเสียดทาน โมเมนต์ 10 N 20 N 10 N กลับหน้าหลัก
  • 4. หน่วยที่ 8 แรงและการเคลื่อนที่ แรงลัพธ์ แรง กรณีที่ 2ถ้ามีแรง 2 แรงที่มีขนาดเท่ากันมากระทำในทิศทางตรงกันข้าม ผลที่เกิดขึ้นคือ วัตถุหยุดนิ่งอยู่กับที่หรืออยู่ในลักษณะเดิมเหมือนไม่มีแรงมากระทำ แรงลัพธ์ 10 N 10 N แรงเสียดทาน โมเมนต์ กรณีที่ 3ถ้ามีแรง 2 แรงที่มีขนาดไม่เท่ากันมากระทำในทิศทางตรงกันข้าม ผลที่เกิดขึ้นคือ วัตถุจะเคลื่อนที่ไปในทิศทางของแรงที่มีขนาดมากกว่าด้วยขนาด เท่ากับผลต่างของแรงที่มากระทำทั้งหมด 10 N 6 N 4 N กลับหน้าหลัก
  • 5. หน่วยที่ 8 แรงและการเคลื่อนที่ แรงลัพธ์ แรง กรณีที่ 4 ถ้ามีแรง 2 แรงที่มากระทำต่อวัตถุเดียวกันและแรง2 แรงนั้นตั้งฉากกัน ผลที่เกิดขึ้นก็คือ วัตถุจะเคลื่อนที่ในทิศทางระหว่างสองแรงนั้น แรงลัพธ์ แรงเสียดทาน 6 N โมเมนต์ 10 N 8 N กลับหน้าหลัก
  • 6. หน่วยที่ 8 แรงและการเคลื่อนที่ แรงลัพธ์ แรง การบวกเวกเตอร์ : การบวกเวกเตอร์โดยการเขียนรูป สามารถทำได้ 2 วิธี คือ แรงลัพธ์ 1. การทำเวกเตอร์ลัพธ์โดยวิธีการเขียนรูปแบบหางต่อหัว มีขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1. เขียนรูปลูกศรเวกเตอร์ตัวแรกตามขนาดและทิศทางที่กำหนด 2. นำหางลูกศรของเวกเตอร์ตัวที่ 2 ต่อกับหัวลูกศรตัวแรก 3. ทำเช่นนี้ต่อไปจนหมดเวกเตอร์ 4. เวกเตอร์ลัพธ์ของเวกเตอร์ย่อย หาได้โดยการลากลูกศรจากหางของเวกเตอร์ ตัวแรกไปยังหัวลูกศรของเวกเตอร์ตัวสุดท้าย แรงเสียดทาน โมเมนต์ กลับหน้าหลัก
  • 7. หน่วยที่ 8 แรงและการเคลื่อนที่ แรงลัพธ์ แรง 1. การทำเวกเตอร์ลัพธ์โดยวิธีการเขียนรูปแบบหางต่อหัว แรงลัพธ์ = 5 หน่วย = 3 หน่วย แรงเสียดทาน 1) จงหาเวกเตอร์ลัพธ์ของผลบวกของเวกเตอร์ทั้งสอง โมเมนต์ = 5 + 3 = 8 หน่วย กลับหน้าหลัก
  • 8. หน่วยที่ 8 แรงและการเคลื่อนที่ แรงลัพธ์ แรง 1. การทำเวกเตอร์ลัพธ์โดยวิธีการเขียนรูปแบบหางต่อหัว แรงลัพธ์ = 8 หน่วย = 6 หน่วย แรงเสียดทาน 2) จงหาผลรวมของเวกเตอร์ทั้งสอง โมเมนต์ กลับหน้าหลัก หน่วย
  • 9. หน่วยที่ 8 แรงและการเคลื่อนที่ แรงลัพธ์ แรง 2. การทำเวกเตอร์ลัพธ์โดยวิธีการเขียนรูปแบบหางต่อหาง มีขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1. เขียนรูปลูกศรเวกเตอร์ตัวแรกตามขนาดและทิศทางที่กำหนด 2. นำหางลูกศรของเวกเตอร์ตัวที่ 2 ต่อกับหางเวกเตอร์ตัวแรก 3. สร้างสี่เหลี่ยมด้านขนานจากเวกเตอร์ทั้งสองนั้น 4. เวกเตอร์ลัพธ์ของการบวกเวกเตอร์หาได้โดยลากลูกศรที่หางเวกเตอร์ทั้งสองไปยังมุมตรงข้าม แรงลัพธ์ แรงเสียดทาน โมเมนต์ กลับหน้าหลัก
  • 10. หน่วยที่ 8 แรงและการเคลื่อนที่ แรงลัพธ์ แรง 2. การทำเวกเตอร์ลัพธ์โดยวิธีการเขียนรูปแบบหางต่อหาง แรงลัพธ์ = 8 หน่วย = 6 หน่วย แรงเสียดทาน 2) จงหาผลรวมของเวกเตอร์ทั้งสอง โมเมนต์ กลับหน้าหลัก หน่วย