SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
36 วารสารเทคนิคการแพทยเชียงใหม
นิภาพรรณ ลี้ตระกูล1*
ลัดดา ฟองสถิตยกุล1
Nipapan Leetrakool1*
Ladda Fongsatitkul1
ไพรจิตร ตานัน1
ประกาย สมพาน1
นิเวศน นันทจิต2
Praijitr Tanan1
Prakai Sompan1
Niwes Nantachit2
1
งานธนาคารเลือด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม
2
ภาควิชาอายุรศาสตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม
1
Blood Bank Section, Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital
2
Department of Internal Medicine, Faculty of Medicine, Chiang Mai University, Thailand
* ผูรับผิดชอบ
* Corresponding author
การตรวจกรองการติดเชื้อในโลหิตบริจาค ของโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม:
ประสบการณ 4 ปของการตรวจโดยวิธี Nucleic Acid Technology (NAT)
Screening donated blood for infectious agents in Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital:
Four-year experience of Nucleic Acid Technology (NAT)
บทคัดยอ
บทนํา: การตรวจกรองการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี ไวรัสตับอักเสบซีและเชื้อเอชไอวี ดวยวิธีชีววิทยา
ระดับโมเลกุล Nucleic Acid Amplification Technology (NAT) ถูกนํามาใชตรวจกรองโลหิตบริจาคของโรงพยาบาล
มหาราชนครเชียงใหมเพื่อลดความเสี่ยงและเพิ่มความปลอดภัยในการใหบริการโลหิต ผูวิจัยประเมินประสิทธิภาพ
ในการตรวจกรองโลหิตโดยวิธี eSAS Procleix Ultrio test (Ultrio test) ของ Chiron และ Cobas® s201 automated
platform และ Cobas TaqScreen MPX test (MPX test) ของ Roche
วิธีการศึกษา: ตัวอยางโลหิตที่ผานการตรวจกรองการติดเชื้อดวยวิธีซีโรโลยีดวยหลักการ Chemilu-
minescent micro-particle immunoassay (Architect Abbott, Wies-baden, Germany) ที่ใหผลการตรวจเปน
non-reactive ระหวางเดือนสิงหาคม 2551 ถึงเดือนมีนาคม 2555 จํานวน 105,399 ตัวอยาง นํามาตรวจหา
เชื้อไวรัสตับอักเสบบี ไวรัสตับอักเสบซีและเชื้อเอชไอวีแบบตัวอยางเดียวดวย Procleix Ultrio Assay หลักการ
Transcription Mediated Amplification (TMA: Chiron Corporation, Emeryville, CA) ใชเครื่องกึ่งอัตโนมัติ eSAS
จํานวน 53,435 ตัวอยาง และตรวจแบบรวม 6 ตัวอยางดวย Cobas TaqScreen MPX test หลักการ Polymerase
Chain Reaction (PCR: Roche Molecular Systems. Pleasanton, CA) ดวยเครื่องอัตโนมัติ Cobas s201 จํานวน
51,964 ตัวอยาง ตัวอยางที่ใหผล reactive โดยวิธีใดวิธีหนึ่ง ตัวอยางพลาสมาในถุงจะถูกนํามาตรวจซ้ําทั้ง 2 วิธี
หากตัวอยางใดใหผล reactive จะนําไปทดสอบแยกชนิดของเชื้อไวรัส และติดตามผูบริจาคโลหิตเพื่อเจาะเลือด
และตรวจซ้ําทั้ง 2 วิธีสําหรับยืนยันการติดเชื้อ
ผลการศึกษา: ความจําเพาะในการตรวจดวยวิธี Procleix Ultrio และ Cobas TaqScreen เทากับ
99.82 % และ 99.89% ตามลําดับ พบเชื้อเอชไอวี จํานวน 2 ตัวอยาง และสามารถตรวจพบในระยะ window
period ไดทั้ง 2 ระบบ พบเชื้อไวรัสตับอักเสบบี จํานวนรวม 106 ตัวอยาง ซึ่งตรวจพบดวย Cobas TaqScreen
จํานวน 65 ตัวอยาง และตรวจพบดวยวิธี Procleix Ultrio จํานวน 41 ตัวอยาง ตรวจไมพบเชื้อไวรัสตับอักเสบ
ซีจากการศึกษาในครั้งนี้ อัตราการพบเชื้อเอชไอวีโดยวิธี NAT เทากับ 1:52,699 และพบเชื้อไวรัสตับอักเสบบี
เทากับ 1:994 ในระยะ occult hepatitis
37ปที่ 45 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม 2555
Abstract
Background: The Nucleic Acid Amplification Technology (NAT) was used to screen the hepatitis
B, hepatitis C and HIV in blood donations at Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital in order to decrease the
risk of blood transfusion and enhance the safety of the blood supply. We aim to evaluate the performance
of two commercial multiplex NAT tests, the Chiron eSAS Procleix Ultrio test (Ultrio test) and the Roche
Cobas® s201 automated platform and the Cobas TaqScreen MPX test (MPX test).
Methods: A total of 105,399 seronegative samples tested by Chemiluminescent micro-particle
immunoassay (Architect Abbott, Wies-baden, Germany) during August 2008–March 2012 was performed
by NAT. The 53,435 samples were tested individually on the Procleix Ultrio Assay, Transcription Mediated
Amplification (TMA: Chiron Corporation, Emeryville, CA) for the simultaneous detection of HBV, HCV and
HIV-1. On the alternate day 51,964 samples were tested in pools of 6 with the MPX test of The Roche
Cobas s201 platform which was an automated platform for blood screening and the MPX test which was
a multiplex NAT test for the simultaneous detection of HBV, HCV, HIV-1 and HIV-2. All reactive samples
were retested by duplicate testing, using sample taken from the plasma bag and checked by both Nat
test, to calculate the test specificity. The donors were then followed up and new blood samples were
repeated by both methods to confirm the infectivity.
Results: Test specificity was 99.82% and 99.89% for the Procleix Ultrio and Cobas TaqScreen
tests, respectively. Two HIV-1 NAT- reactive donors were detected by the Cobas MPX test in pools of 6.
These two samples were also detected when tested individually with the Ultrio test. One hundred and six
positive cases of HBV were found, with 65 samples detected by the MPX test, and 41 detected individu-
ally with the Ultrio test. No HCV was positive in this study. The NAT yield rate for HIV-1 and HBV were
1:52,699 and 1:994, respectively. Follow up of the donors showed that several of the HBV yield samples
were from donors with occult HBV.
Conclusions: Both NAT assays were able to detect infectious samples that were missed by
routine serological assays. Window period HIV-1 and HBV donations, as well as donations from donors
with occult HBV were detected by both assays. The specifically and sensitively NAT showed the increas-
ing rate of detection especially for HBV. The assay features of automation and multiple target detection of
NAT greatly improved the efficiency of the screening and greatly increase blood safety. It is imperative that
blood transfusion services have effective screening system especially in the highly endemic region such
as northern Thailand.
สรุป: การตรวจกรองโลหิตบริจาคโดยวิธี NAT ทั้งสองวิธีเหมาะสําหรับนํามาตรวจหาเชื้อไวรัสที่มีปริ
มาณนอยๆ และไมสามารถตรวจพบดวยวิธีซีโรโลยี ได จากการศึกษาตรวจพบเชื้อ HIV-1 และ HBV ในชวง
window period ในผูบริจาคโลหิตรวมทั้งการตรวจพบ occult HBV เทคโนโลยี NAT มีความจําเพาะและความ
ไวสูงสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการตรวจกรองการติดเชื้อในผูบริจาคโลหิตโดยเฉพาะอยางยิ่ง HBV เปนการเพิ่ม
ความปลอดภัยในผูปวยที่ตองรับการรักษาโดยการใหโลหิต จึงเปนความจําเปนที่งานบริการโลหิตควรมีวิธีการ
ตรวจกรอง NAT ที่มีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะในทองถิ่นที่มีการระบาดสูงเชนภาคเหนือของประเทศไทย
38 วารสารเทคนิคการแพทยเชียงใหม
บทนํา
การบริการโลหิตใหมีปริมาณเพียงพอ มีคุณภาพ
เปนเลิศและมีความปลอดภัยสูงสุดเปนเปาหมายของ
ทุกองคกรที่ใหบริการโลหิตสําหรับผูปวยที่มีความจําเปน
ตองเขารับการรักษาโดยการใหเลือดและสวนประกอบ
ของเลือด การปองกันการติดเชื้อจากการรับโลหิตเปน
งานที่มีความสําคัญอยางยิ่ง โลหิตทุกยูนิตตองผานการ
ตรวจกรองการติดเชื้อสําคัญที่สามารถติดตอไดทางโลหิต
แมวาในปจจุบันความเสี่ยงในการติดเชื้อลดลงมากเมื่อ
เทียบกับในอดีต เนื่องจากมีมาตรการการคัดกรองผู
บริจาคโลหิตที่เขมงวดและใหความรูที่ถูกตองและทันสมัย
แกประชาชนทั่วไปเกี่ยวกับคุณสมบัติของผูที่สามารถ
บริจาคโลหิตได มีการตรวจกรองการติดเชื้อโดยวิธีการทาง
ซีโรโลยีที่ใชน้ํายาที่มีความไวและความจําเพาะสูงเพื่อ
ตรวจหา anti-HIV1/2, p24 antigen, anti-HCV, HBsAg
และ Syphilis แตอยางไรก็ตาม ความเสี่ยงจากการติดเชื้อ
จากการรับโลหิตก็ยังคงมีอยู เนื่องจากขอจํากัดของน้ํายา
และวิธีการที่ใชในการตรวจที่ไมสามารถตรวจพบแอนติเจน
หรือแอนติบอดีที่มีปริมาณนอยๆ จากการติดเชื้อในระยะ
แรก (Primary infection) ระยะ window period หรือระยะ
pre-seroconversion1
ในปจจุบันผูผลิตน้ํายาไดพัฒนาหาวิธีการตรวจหา
เชื้อสําคัญซึ่งทําใหเกิดการติดเชื้อในระยะ window period
ไดแก HIV, HCV และ HBV โดยใชเทคนิคทางดานชีวโมเลกุล
เพื่อตรวจหากรดนิวคลีอิกของไวรัสดังกลาวดวยวิธี Nucleic
Acid Testing (NAT) ในประเทศที่พัฒนาแลวไดนําเทคนิค
NAT มาใชในการตรวจกรองโลหิตบริจาคเพื่อลดความเสี่ยง
จากการรับเลือดและผลิตภัณฑของเลือดตั้งแตป พ.ศ. 25422
แตเนื่องจากวิธีการตรวจมีความซับซอนมักมีการปนเปอน
งาย ทําใหเกิดผลบวกปลอมและที่สําคัญมีราคาแพงมาก
การตรวจในระยะแรกจึงใชวิธีการรวมตัวอยางตั้งแต 96-500
ตัวอยาง และลดขนาดของการรวมตัวอยางลงเรื่อยๆ หลัง
จากพบวาแมวาจะนํา NAT มาใชในการตรวจกรองโลหิต
บริจาค ก็ยังไมสามารถปด window period ไดหากมีการ
รวมตัวอยางตรวจเปนจํานวนมากและตัวอยางเลือดถูกเก็บ
ไวนานในอุณหภูมิที่ไมเหมาะสม แตอยางไรก็ตามแมวาจะมี
การตรวจ NAT โดยใชการรวมตัวอยางขนาดเล็ก (minipool,
16-24) ก็ยังคงมีรายงานการตรวจไมพบ HIV และ HCV ใน
โลหิตบริจาคจากการตรวจโดยวิธี NAT หากผูบริจาคราย
นั้นมีปริมาณไวรัสในรางกายต่ํา3,4
หนวยงานที่รับผิดชอบใน
หลายประเทศจึงเปลี่ยนมาใชการตรวจแบบตัวอยางเดี่ยว
(individual) หรือตัวอยางรวมขนาดเล็ก (minipool 6) เพื่อลด
ความเสี่ยงลงใหมากที่สุด
สําหรับประเทศไทยเริ่มมีการทดลองใช NAT ในการ
ตรวจกรองโลหิตบริจาคในป พ.ศ. 2544 โดยศูนยบริการโลหิต
แหงชาติ สภากาชาดไทย ดวยหลักการ Polymerase Chain
Reaction (PCR: Roche Molecular Systems. Pleasanton,
CA) โดยใช COBAS AmpliScreen HIV-1 and HCV assays
ทําการตรวจในขนาด minipool 24 พบ HIV-1 window period
จํานวน 1 ราย จากการตรวจโลหิตบริจาคประมาณ 100,000
ยูนิต5
และในป พ.ศ. 2548 งานธนาคารเลือดโรงพยาบาล
มหาราชนครเชียงใหมไดทดลองตรวจกรองโลหิตบริจาค
โดยหลักการ Transcription Mediated Amplification (TMA:
Chiron Corporation, Emeryville, CA) โดยใช Procleix Ultrio,
Gen-Probe, Inc พบ HBV จํานวน 7 ราย ที่ผล HBsAg เปน
ลบ จากการตรวจโลหิตบริจาคจํานวน 5,083 ราย6
ในปจจุบัน
น้ํายาที่ใชในการตรวจกรองโลหิตบริจาคในประเทศไทยโดย
วิธี NAT assays ตองผานการรับรองคุณภาพจาก FDA ของ
ประเทศสหรัฐอเมริกาเพื่อเปนการประกันคุณภาพน้ํายาที่
นํามาใชในการตรวจวิเคราะห ในขณะเดียวกันน้ํายาของทุก
บริษัทตองผานการประเมินคุณภาพจากศูนยบริการโลหิตแหง
ชาติ สภากาชาดไทยรวมกับสํานักงานคณะกรรมการอาหาร
และยา กรมวิทยาศาสตรการแพทยกระทรวงสาธารณสุข
สําหรับเปนแนวทางใหหนวยงานที่เกี่ยวของกับงานบริการ
โลหิตของประเทศพิจารณาถึงความเหมาะสมในการนํา
วิธี NAT assays มาใชเปนมาตรฐานงานบริการโลหิตระดับ
ชาติตามนโยบายบริการโลหิตแหงชาติ พ.ศ. 2553 จาก
การประเมินพบวาระบบ Roche MPX test มีคาความไวเชิง
วิเคราะหของ HBV, HCV และ HIV-1 ที่ความเขมขน 3, 10
และ 50 IU/mL ตามลําดับ สวนของระบบ Ultrio test มีคา
ความไวเชิงวิเคราะหของ HBV, HCV และ HIV-1 ที่ความเขม
ขน 10, 3 และ 30 IU/mL ตามลําดับ และพบวาทั้งสองระบบ
สามารถตรวจพบเชื้อทั้ง 3 ชนิดไดมากกวารอยละ 95 ของ
ตัวอยางที่ทดสอบ7
จากรายงานของ Thaikruea L และคณะ8
พบเชื้อ
HIV รอยละ 0.3, HCV รอยละ 0.7 และ HBV รอยละ 5.7 ใน
โลหิตบริจาคจํานวน 5,083 ราย ของโรงพยาบาลมหาราชนคร
เชียงใหม และมากกวารอยละ 80 เปนโลหิตที่ไดรับมาจากการ
บริจาคทดแทน เห็นไดวาการติดเชื้อ HBV ในผูบริจาคโลหิตยัง
คงสูงมากและเปนปญหาที่สําคัญของภาคเหนือของประเทศ
และประเทศในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต9-10
งานธนาคาร
เลือด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหมจึงนําวิธี NAT assays
ของ Procleix Ultrio test และ Cobas TaqScreen MPX test
มาศึกษาและทดลองใชในการตรวจกรองโลหิตบริจาคทุกยูนิต
39ปที่ 45 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม 2555
ตั้งแตเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2551 เพื่อประเมินประสิทธิภาพใน
การตรวจกรองโลหิต
วัสดุและวิธีการ
ตัวอยางโลหิตบริจาคของงานธนาคารเลือด
โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม ระหวางวันที่ 7 สิงหาคม
พ.ศ. 2551 ถึงวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2555 ที่ผานการตรวจ
กรองการติดเชื้อดวยวิธีซีโรโลยี เพื่อหา anti-HIV1/2, p24
antigen, anti-HCV, HBsAg และ Syphilis ดวยหลักการ
Chemiluminescent micro-particle immunoassay (Architect
Abbott, Wies-baden, Germany) ใหผล non-reactive จํานวน
105,399 ตัวอยาง ถูกนํามาตรวจกรองอีกครั้งโดยวิธี NAT
assays เพื่อหาเชื้อไวรัส HIV-1 RNA, HCV RNA และ HBV
DNA พรอมกันในหลอดเดียวดวยการตรวจแบบตัวอยางเดี่ยว
ดวย Procleix Ultrio test (Gen-Probe, Inc., San Diego, CA)
ใชหลักการ Transcription Mediated Amplification (TMA:
Chiron Corporation, Emeryville, CA) ซึ่งเปนเครื่องกึ่ง
อัตโนมัติ eSAS (Chiron, Emeryville, CA) จํานวน 53,435
ตัวอยาง หากตัวอยางใหผลบวก (reactive) ทดสอบเพิ่มเพื่อ
แยกหาชนิดของเชื้อ HIV-1, HCV และ HBV ในแตละตัวอยาง
ดวยชุดตรวจแยกของ Procleix test ดวยหลักการเดียวกัน
ยกเวน probe ที่นํามาใชจําเพาะกับเชื้อ HIV-1, HCV หรือ
HBV แตละชนิด
ตัวอยางโลหิตจํานวน 51,964 ตัวอยาง ถูกนําไป
ตรวจแบบรวม 6 ตัวอยางดวย Cobas TaqScreen MPX test
(Roche Molecular Systems, Branchburg, NJ) โดยใชหลัก
การ Polymerase Chain Reaction (PCR: Roche Molecular
Systems. Pleasanton, CA) ดวยเครื่องอัตโนมัติ Cobas
s201 (Roche Instrument Center, Rotkreuz, Switzerland)
ที่ประกอบดวยเครื่องรวมตัวอยางโลหิตดวยเครื่อง Hamilton
Microlab STAR pipettor (Hamilton, Reno, NV) สกัดตัวอยาง
โลหิตเพื่อใหไดสารพันธุกรรมดวยเครื่อง Cobas AmpliPrep
และเพิ่มปริมาณสารพันธุกรรมพรอมตรวจวัดปริมาณสาร
พันธุกรรมแบบ real-time PCR ดวยเครื่อง Cobas TaqMan
analyzer ทุกขั้นตอนมีโปรแกรมควบคุมการทํางานและแปล
ผล (data manager software) ตัวอยางพลาสมาจากถุง
(plasma bag) ที่ใหผลบวก (reactive) ดวย MPX test จะถูก
สงไปที่ศูนยบริการโลหิตแหงชาติ สภากาชาดไทยและภาค
วิชาเวชศาสตรการธนาคารเลือด คณะแพทยศาสตรศิริราช
พยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล เพื่อแยกชนิดของเชื้อ HIV-1,
HCV และ HBV ดวยน้ํายา Roche Cobas AmpliScreen test
(Roche Molecular Systems, Inc.)
ตัวอยางที่ใหผล reactive โดยวิธีใดวิธีหนึ่งหรือทั้ง
สองวิธี ตัวอยางเดิมที่เปน index ในถุงพลาสมา จะถูกนํามา
ตรวจซ้ําทั้ง 2 วิธีเพื่อยืนยันผลบวก สําหรับตัวอยางที่ใหผล
บวกจากการทดสอบแบบตัวอยางเดี่ยวดวย Procleix Ultrio
test ระบบกึ่งอัตโนมัติ เมื่อนํามาทดสอบซ้ําดวย Cobas
TaqScreen MPX test ระบบอัตโนมัติ Cobas s201 จะตอง
เจือจางตัวอยางใหเปน 1:6 ดวยพลาสมาที่ใหผลลบทั้งสองวิธี
และนําไปตรวจเพิ่มเติมโดยวิธีซีโรโลยีเพื่อหาระยะของการ
ติดเชื้อควบคูกันไป โดยการตรวจ HIV-1 ใชชุดตรวจ HIV Ag/
Ab combination testing จาก Architect HIV Ag/Ab Combo
(Abbott) และสําหรับ HBV ตัวอยางเดิมที่ใหผลบวก นํามา
ทดสอบเพิ่มเติมดวย Architect anti-HBc immunoglobulin
M (IgM), anti-HBc Immunoglobulin G (IgG), anti-hepatitis
B e antigen (anti-HBe) และ anti-hepatitis B surface anti-
gen (anti-HBs) tests (Abbott Diagnostics, Sligo, Ireland)
ตัวอยางที่ทดสอบซ้ําจากถุงพลาสมาใหผลบวกเชนเดียว
กับผลการตรวจแยกชนิดของเชื้อใหถือวาเปนผลบวก หาก
ตัวอยางที่ใหผลการทดสอบซ้ําเปนลบใหถือวาเปนลบและ
ไมไดทดสอบแยกชนิดของเชื้อใหถือวาเปนผลบวกปลอมและ
ศึกษาความจําเพาะของชุดตรวจทั้งสองระบบ โดยใชตัวอยาง
ที่ใหผลลบของระบบหนึ่งไปทดสอบสลับกับอีกระบบจํานวน
ระบบละ 300 ตัวอยาง
โลหิตบริจาคที่ตรวจยืนยันแลวใหผลบวกทั้งหมด
จะมีการติดตาม (follow up) ผูบริจาคโลหิตจนกระทั่งเกิด
seroconversion หรือสามารถสรุประยะการติดเชื้อของผู
บริจาคโลหิตได โดยตัวอยางติดตามจะถูกนําไปทดสอบทั้ง
สองวิธี แบบตัวอยางเดี่ยวดวย Procleix Ultrio test ระบบกึ่ง
อัตโนมัติ eSAS และ Cobas TaqScreen MPX test ระบบ
อัตโนมัติ Cobas s201 และทดสอบดวยวิธีทางซีโรโลยีที่ใช
ทดสอบในงานประจําวัน สําหรับตัวอยางติดตามที่ติดเชื้อ
HBV จะถูกทดสอบหา HBV profile เชนเดียวกับตัวอยางที่
เปน index เพื่อดูระยะของการติดเชื้อ
ผลการศึกษา
จากการทดสอบโลหิตบริจาคจํานวน 105,399 ยูนิต
แบงเปนการทดสอบแบบตัวอยางเดี่ยวดวยระบบ Procleix
Ultrio eSAS จํานวน 53,435 ตัวอยาง พบ HBV จํานวน 41
ราย และทดสอบแบบรวม 6 ตัวอยางดวยระบบ Cobas s201
TaqScreen MPX test จํานวน 51,964 ตัวอยาง พบ HIV
2 ราย HBV 65 ราย การศึกษาในครั้งนี้ตรวจไมพบ HCV ทั้ง
2 ระบบ คิดเปนอัตราการตรวจพบ HIV และ HBV โดยวิธี NAT
เทากับ 1:52,699 และ 1:994 ตามลําดับ (ตารางที่ 1) ตัวอยาง
40 วารสารเทคนิคการแพทยเชียงใหม
โลหิตที่ตรวจพบ HIV โดยวิธี NAT ทั้งสองราย เมื่อนําตัวอยาง
พลาสมาในถุงมาทดสอบซ้ําพบวาใหผลบวกทั้งสองวิธี แตเมื่อ
ทดสอบดวยวิธี ซีโรโลยี ดวยชุดตรวจ HIV Ag/Ab combina-
tion testing จาก Architect HIV Ag/Ab Combo (Abbott) พบ
วาใหผลลบ โดยตัวอยางรายที่ 1 และรายที่ 2 มีคา HIV viral
load 386 copies/ml และ 30,100 copies/ml ตามลําดับ ใน
ตัวอยางติดตามของผูบริจาคโลหิตทั้งสองรายพบวาใหผลบวก
กับชุดตรวจ HIV Ag/Ab combination testing และตัวอยาง
ติดตามรายที่ 1 มีคา HIV viral load 483,000 copies/ml
รายที่ 2 มีคา 270,000 copies/ml (ตารางที่ 2) สําหรับตัวอยาง
โลหิตที่ตรวจพบ HBV จํานวน 106 ราย เปนการตรวจพบ
ดวยระบบ Cobas s201 TaqScreen MPX test จํานวน 65
ราย และระบบ Procleix Ultrio eSAS จํานวน 41 ราย เมื่อ
นําไปตรวจเพิ่มเติมทางดานซีโรโลยีโดยการตรวจหา HBV
profile เพื่อศึกษาหาระยะการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี ใน
ตัวอยางที่ตรวจพบดวยระบบ Cobas s201 TaqScreen MPX
test พบ anti-HBc รอยละ 53.8, anti-HBs รอยละ 9.2,
anti-HBc+anti-HBsรอยละ13.8และตรวจไมพบHBVmarkers
รอยละ 23.1 สําหรับตัวอยางตรวจที่พบ HBV ดวยระบบ
Procleix Ultrio eSAS พบ anti-HBc รอยละ 24.4, anti-HBs
รอยละ 21.9, anti-HBc+ anti-HBs รอยละ 12.2 และให
ผลลบรอยละ 41.5 ซึ่งผลการตรวจ HBV profile ที่ตรวจ
พบรวมทั้งสองวิธีพบ anti-HBc รอยละ 42.4, anti-HBs
รอยละ 14.1, anti-HBc+ anti-HBs รอยละ 13.2 และตรวจ
ไมพบ HBV markers รอยละ 30.2 ตามลําดับ ในรายที่ตรวจ
พบ anti-HBs มีคาผลการตรวจอยูระหวาง 12.41-209.50
mIU/ml (ตารางที่ 3)
System No. of sample tested No. of NAT reactive samples
HIV-1 HCV HBV
Procleix Ultrio eSAS 53,435 0 0 41
Cobas s201 and TagScreen MPX 51,964 2 0 65
Total 105,399 2 0 106
NAT Yield rate 1:52,699 0 1:994
Table 1 Summary of NAT reactive sample
Table 2 Testing of follow-up samples from the HIV-1 window-period donor
Table 3 Serologic study of the HBV NAT result samples
* anti-HBs มีคาระหวาง 12.41–209.50 mIU/ml
Case Visit Date
Procleix Ultrio S/CO
(IDT)
Cobas TagScreen
MPX Ct (pool)
Architect HIV
Ag/Ab Combo
CAP/CTM
HIV viral
load
(Copies/mL)
1 1 Jan 31, 2009 15.06 (+) 30.5 (+) 0.16 (-) 386
2 Feb 14, 2009 18.87 (+) 23.7 (+) 20.27 (+) 483,000
2 1 May 19, 2010 18.14 (+) 25.5 (+) 0.64 (-) 35,100
2 Jun 18, 2010 19.83 (+) 19.4 (+) 12.47(+) 270,000
Results
Total number of
samples
HBV Profile
Anti-HBc
(%)
Anti-HBs*
(%)
Anti-HBc +Anti-HBs
(%)
Negative
(%)
Cobas TagScreen
MPX reactive
65 35 (53.8) 6 (9.2) 9 (13.8) 15 (23.1)
Procleix Ultrio
reactive
41 10 (24.4) 9 (21.9) 5 (12.2) 17 (41.5)
Total 106 45 (42.4) 15 (14.1) 14 (13.2) 32 (30.2)
41ปที่ 45 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม 2555
ผูบริจาคโลหิตที่ตรวจพบ HBV จํานวน 106 ราย มี
ผูกลับมาตรวจติดตามจํานวน 64 ราย คิดเปนรอยละ 60.4 มี
ผูบริจาคโลหิตที่ใหผลการตรวจหา HBV profile เปนลบเพียง
9 ราย ที่กลับมาตรวจติดตามและพบ HBsAg ทุกรายดวย
วิธีซีโรโลยีที่ใชในงานประจํา (Architect Abbott, Wies-baden,
Germany) จึงถือเปนการติดเชื้อในระยะแรก (window period)
และการตรวจ NAT ทั้งสองวิธีใหผลสอดคลองกัน นอกจากนี้
ยังตรวจพบ HBeAg ในผูบริจาคโลหิตทั้ง 9 รายในตัวอยาง
ติดตามดังกลาว มีผูบริจาคโลหิตจํานวน 4 ราย ที่ตรวจพบ
ทั้ง anti-HBc และ HBeAg และตรวจพบ HBeAg เพียงอยาง
เดียวจํานวน 5 ราย (ตารางที่ 4)
อัตราการตรวจพบผลบวกในการตรวจครั้งแรก
Donor Visit Date
Procleix
Ultrio
(S/C0)
Cobas
TagScreen
MPX
Architect
HBsAg
Anti-HBs
mIU/ml
Anti-HBc
IgM
Anti-HBc
IgG
HBeAg Anti-HBe
HBV
Viral
load
IU/ml
1 1
Nov 15,
2008
15.45
(+)
35.0
(+)
(-) (-) (-) (-) (-) (-) <12
2
Dec 22,
2008
15.67
(+)
11.0
(+)
250
(+)
(-) (-) (+) (+) (-) ND
2 1
21 Aug,
2009
14.31
(+)
33.5
(+)
(-) (-) (-) (-) (-) (-) 109
2
11 Nov,
2009
13.85
(+)
10.6
(+)
250
(+)
(-) (+) (+) (+) (-) ND
3 1
Sep 7,
2009
11.84
(+)
30.0
(+)
(-) (-) (-) (-) (-) (-) ND
2
Oct 12,
2009
13.89(+) 12.7(+)
250
(+)
(-) (-) (-) (+) (-) ND
4 1
Oct 12,
2009
14.32
(+)
36.6
(+)
(-) (-) (-) (-) (-) (-) 18.5
2
Nov 10,
2009
14.25
(+)
28.7
(+)
0.06
(+)
(-) (-) (-) (+) (-) ND
5 1
Dec 1,
2009
13.15
(+)
37.3
(+)
(-) (-) (-) (-) (-) (-) <12
2
Jan 13,
2010
13.26
(+)
10.7
(+)
2232.5
(+)
(-) (+) (+) (+) (-) ND
6 1
Dec 16,
2009
13.83
(+)
30.7
(+)
(-) (-) (-) (-) (-) (-) ND
2
Jan 13,
2010
14.35
(+)
27.2
(+)
4.68
(+)
(-) (-) (-) (+) (-) ND
7 1
Jan 17,
2010
14.53
(+)
31.2
(+)
(-) (-) (-) (-) (-) (-) ND
2
Feb 12,
2010
13.86
(+)
30.2
(+)
458.1
(+)
(-) (-) (-) (+) (-) ND
8 1
Feb 4,
2010
13.18
(+)
33.1
(+)
(-) (-) (-) (-) (-) (-) 189
2
Mar 18,
2010
14.55
(+)
33.9
(+)
3,038.48
(+)
(-) (-) (-) (+) (-) ND
9 1
Jun
23,2010
14.64
(+)
32.3
(+)
(-) (-) (-) (-) (-) (-) ND
2
Aug 4,
2010
15.66
(+)
26.8
(+)
46.54
(+)
(-) (+) (+) (+) (-) ND
Table 4 Testing of follow-up sample from the HBV window-period donor
42 วารสารเทคนิคการแพทยเชียงใหม
(initial-reactive) ดวยวิธี Procleix Ultrio test และ Cobas
TagScreen MPX test คิดเปนรอยละ 0.33 และ 2.20 ตาม
ลําดับ และตรวจพบผลบวกในการทดสอบซ้ํา (repeat-reac-
tive) ของทั้งสองระบบเทากับรอยละ 0.25 และ 0.24 ตัวอยาง
ที่ทดสอบซ้ําแลวใหผลเปนบวก จะนําตัวอยางพลาสมาจาก
ในถุงมาทดสอบซ้ําอีกครั้งทั้งสองวิธีเพื่อยืนยันผลบวก พบผล
บวกจริงรอยละ 0.07 และผลบวกปลอมรอยละ 0.18 ในระบบ
Procleix Ultrio test ในขณะที่พบผลบวกจริงรอยละ 0.12
และผลบวกปลอมรอยละ 0.11 ในระบบ Cobas TaqScreen
MPX test คิดเปนความจําเพาะทางคลินิกของระบบ Chiron
Procleix Ultrio test เทากับรอยละ 99.82 และระบบ Roche
Cobas TaqScreen MPX test เทากับรอยละ 99.89 แต
เนื่องจากทั้งสองระบบไมไดทดสอบในตัวอยางเดียวกัน จึงไม
สามารถเปรียบเทียบเพื่อหานัยสําคัญได (ตารางที่ 5) สวนผล
การทดสอบความจําเพาะของทั้งสองระบบอยางละ 300 ราย
พบวาใหผลลบสอดคลองกัน
วิจารณ
การประเมินการทดสอบหาการติดเชื้อหลายชนิด
พรอมกันในหลอดเดียวดวยวิธี NAT ทั้ง 2 ระบบ ในตัวอยาง
โลหิตบริจาค ดวยวิธี Procleix Ultrio test และ Cobas
TagScreen MPX test สามารถตรวจพบการติดเชื้อ HIV ใน
ระยะแรก (window period) จํานวน 2 ราย (1:52,699) และ
เมื่อตรวจในตัวอยางติดตามดวยวิธีซีโรโลยีพบวาใหผลบวก
ชัดเจนกับน้ํายาที่ใชตรวจในงานประจําและมีคา HIV viral
load ในระดับที่สูงมากเชนกัน ผูบริจาคโลหิตทั้งสองราย
เปนผูบริจาคโลหิตประจํา เมื่อซักประวัติเพิ่มเติมในการ
ตรวจติดตามพบวามีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศทั้งสองราย แต
Results Procleix Ultrio eSAS Cobas TagScreen MPX
Number of samples tested 53,435 51,964 samples (8,749 pools)
Initial-reactive samples 179 (0.33%) 193 pools (2.20 %)
Reactive samples by
discriminatory test
138 (0.25%) 125 (0.24%)
Duplicate, repeat sample from
plasma bag
41 (0.07%) 65 (0.12%)
False-reactive sample rate 97 (0.18%) 60 (0.11%)
Clinical specificity (95% CI) 99.82 % (99.81% - 99.83%) 99.89 % (99.88% - 99.90%)
ผูบริจาคโลหิตทั้งสองรายไมไดตอบลงไปในแบบสอบถาม
ในการมาบริจาคโลหิตในครั้งกอนหนานี้ จึงเห็นไดวาแมวา
จะเปนผูบริจาคประจําก็มิไดหมายความวาการรับเลือดจาก
ผูบริจาคกลุมนี้จะมีความปลอดภัย อยางไรก็ตาม การตรวจ
พบในครั้งนี้เปนอัตราการพบที่สูงมากเมื่อเปรียบเทียบกับ
การศึกษาของศูนยบริการโลหิตแหงชาติ สภากาชาดไทย ที่
รายงานไวในป พ.ศ. 2552 พบวามีอัตราการตรวจพบ HIV
ที่ถือเปนการติดเชื้อในระยะแรกเพียง 1 ราย (1:490,000)
เมื่อศึกษาขอมูลผลการตรวจดวยวิธีทางซีโรโลยีประกอบการ
พิจารณา7
การตรวจพบ HBV จํานวน 106 ราย (1:994) ให
ผลสอดคลองกับรายงานการศึกษาของนิเวศน นันทจิตและ
คณะ คือ 1:8006
และรายงานของศูนยบริการโลหิตแหง
ชาติ สภากาชาดไทยในป พ.ศ. 2551 ซึ่งพบ HBV ในอัตรา
1:2,800 เห็นไดวาสวนใหญตัวอยางที่พบเปนการติดเชื้อแบบ
occult HBV ผูบริจาคโลหิตจํานวน 32 ราย ที่ใหผลการตรวจ
HBV markers ทุกชนิดเปนลบแตกลับมาตรวจติดตามในระยะ
เวลาที่กําหนดเพียง 9 รายที่สามารถบงชี้วาเปนการติดเชื้อใน
ระยะแรก (window period) จากการตรวจพบ HBsAg และ
HBeAg ในตัวอยางติดตาม และเนื่องจากมีผูบริจาคโลหิตบาง
รายกลับมาตรวจติดตามในเวลาที่ชามากเกินไปจึงตรวจไม
พบ HBsAg แตยังคงตรวจพบ anti-HBs และ anti-HBc การ
ตรวจพบ HBV เปนจํานวนมากในการศึกษาครั้งนี้สอดคลอง
กับผลการตรวจพบ HBsAg ในผูบริจาคโลหิตของภาคเหนือ
ระหวางป พ.ศ. 2533-2544 โดยพบรอยละ 3.8-9.6 ในผู
บริจาคโลหิตเพศชาย และรอยละ 4.0-12.6 ในผูบริจาคโลหิต
เพศหญิง ซึ่งเปนจํานวนที่สูงมากเมื่อเทียบกับภาคอื่นของ
ประเทศ11
เปนที่นาสังเกตวาในตัวอยางของผูบริจาคโลหิต
Table 5 Initial-reactive rates and repeat-reactive rates
43ปที่ 45 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม 2555
จํานวน 15 รายที่สวนใหญมีอายุระหวาง 18-22 ป ใหผล
NAT reactive แมจะมีผล anti-HBs เปนบวก (ตารางที่ 3) ผล
การตรวจ NAT ทั้งสองวิธีใหผลสอดคลองกันซึ่งทั้งสองวิธีใช
primer และ probe ที่ตําแหนงตางกัน เนื่องจากประเทศไทย
มีนโยบายระดับชาติที่ใหทารกทุกรายไดรับวัคซีนปองกันเชื้อ
HBV ตั้งแตแรกคลอดมาตั้งแตป พ.ศ 2535 เปนตนมา12
ดัง
นั้นอาจกลาวไดวาผูบริจาคกลุมนี้อาจเคยไดรับวัคซีนมากอน
หรือไดรับวัคซีนแลวแตยังคงมีการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี
ได (Vaccine breakthrough infection) เนื่องจากตรวจพบ
ระดับ anti-HBs มีคาต่ําๆ หรืออาจเกิดจากไดรับวัคซีนที่ไม
ครอบคลุมทุก subtypes ของ HBV โดยเฉพาะอยางยิ่งผูที่มี
พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ13
จากการทดสอบความจําเพาะของทั้งสองระบบพบ
วาใหผลสอดคลองกับการศึกษาของศูนยบริการโลหิตแหง
ชาติ สภากาชาดไทยและตางประเทศ7,14
ในระยะแรกของ
การนํา NAT ทั้งสองระบบมาทดสอบพบปญหาการเกิดผล
บวกปลอมเปนจํานวนมาก จากความไมคุนชินกับระบบของ
ผูปฏิบัติงานและเกิดจากการปนเปอนในขั้นตอนการเก็บ
หลอดตัวอยางเลือด จึงตองมีการฝกอบรมและปรับปรุงวิธี
การเก็บตัวอยางเลือด หรือเปลี่ยนใชถุงบรรจุโลหิตชนิดที่มี
ถุงเล็กเปนกระเปาะแยกเก็บตัวอยางเลือด (diversion pouch)
เพื่อลดการปนเปอน และตรวจยืนยันผลบวกโดยใชตัวอยาง
จากถุงพลาสมาและในตัวอยางติดตามในกรณีที่ผูบริจาค
โลหิตกลับมาตรวจซ้ํา จากการศึกษาจะเห็นไดวา การนํา
NAT ทั้งสองระบบมาใชในงานตรวจความปลอดภัยในโลหิต
บริจาค ชวยเพิ่มความปลอดภัยและลดความเสี่ยงของผูปวย
ที่มีความจําเปนตองรับการรักษาโดยการใหเลือดไดเปนอยาง
มากเพราะสามารถตรวจพบเชื้อ HIV-1 และ HBV ในระยะ
แรก (window period) และ HBV ในระยะ occult hepatitis
ในอัตราที่สูงมากเมื่อเทียบกับการศึกษาของศูนยบริการโลหิต
แหงชาติ สภากาชาดไทย โดยเฉพาะอยางยิ่งเชื้อ HBV การ
ใชเทคนิค NAT ในระบบอัตโนมัติที่มีความไวสูงทําใหพบเชื้อ
ที่มีปริมาณต่ําๆ ในโลหิตบริจาคไดมากขึ้นในทองถิ่นที่มีการ
ระบาดสูงมากเชนภาคเหนือของไทย
44 วารสารเทคนิคการแพทยเชียงใหม
เอกสารอางอิง
1. Busch MP, Lee LL, Satten GA, et al. Time course of detection of viral and serological markers
preceding human immunodeficiency virus type 1 Seroconversion; Implications for screening blood
and tissue donors. Transfusion 1995; 35:91-7.
2. Roth WK, Bush MP, Schuller A, et al. International survey on NAT testing of blood donations: ex
panding implementation and yield from 1999 to 2009. Vox Sang 2012; 102: 82-90.
3. Phelps R, Robbins K, Liberti T, et al. Window-period human immunodeficiency virus transmission
to two recipients by an adolescent blood donor. Transfusion 2004; 44: 929-33.
4. Schuttler CG, Caspari G, Jursch CA, et al. Hepatitis C virus transmission by blood donation
negative in nucleic acid amplification tests for viral RNA [letter]. Lancet 2000; 355: 41-2.
5. Tirawatnapong T. Screening of donated blood by NAT. J Hematol Transfus Med 2007; 17: 107-10
(In Thai).
6. Nantachit N, Thaikruea L, Thongsawat S, et al. Evaluation of multriplex human immunodeficiency
virus-1, hepatitis C virus and hepatitis B virus nucleic acid testing assay to detect viremic blood
donors in northern Thailand. Transfusion 2007; 47: 1803-8.
7. Pikulsod S, Oota S, Tirawatanapong T, et al. One-year experience of nucleic acid technology testing
for human immunodeficiency virus Type I, hepatitis C virus, and hepatitis B virus in Thai blood
donations. Transfusion 2009; 49: 1126-35.
8. Thaikruea L, Nantachit N, Leetrakool N, et al. Assessment of a self-deferral form for screening blood
donors, Chiang mai university hospital, Thailand. Southeast Asian J Trop Med Public Health 2008;
39: 906-12.
9. Ishida T, Takao S, Settheetham-Ishida W, Tiwawech D. Prevalence of hepatitis B and C virus
infection in rural ethnic populations of Northern Thailand. J Clin Virol 2002; 24: 31-5.
10. Luksamijarulkul P, Kaepan W, Klamphakorn S. Hepatitis B virus sero-makers, hepatitis C virus
antibody and risk behaviors among middle age and older Thai males. Southeast Asian J Trop Med
Public Health 2007; 38: 45-52.

More Related Content

Viewers also liked

Manual de tecnoloxia
Manual de tecnoloxiaManual de tecnoloxia
Manual de tecnoloxiaCousasdoCole
 
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน มกราคม 2555
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน มกราคม 2555รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน มกราคม 2555
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน มกราคม 2555Humanities Information Center
 
El ectiva 3 (programacion)
El ectiva 3 (programacion) El ectiva 3 (programacion)
El ectiva 3 (programacion) Edison Marrufo
 
The pictures all Australia has been waiting to see: Sean Abbott shows he's re...
The pictures all Australia has been waiting to see: Sean Abbott shows he's re...The pictures all Australia has been waiting to see: Sean Abbott shows he's re...
The pictures all Australia has been waiting to see: Sean Abbott shows he's re...alivefatherland71
 
Show case001 by Powerpoint Architect
Show case001 by  Powerpoint ArchitectShow case001 by  Powerpoint Architect
Show case001 by Powerpoint ArchitectTanin Tumth
 
Saginaw 2015 keynote
Saginaw 2015 keynoteSaginaw 2015 keynote
Saginaw 2015 keynotejgross811
 
Siriwat Wittaya Primary Section
Siriwat Wittaya Primary SectionSiriwat Wittaya Primary Section
Siriwat Wittaya Primary Sectionsiriwatwittaya
 
Preparedness for retail drug store business development before ASEAN ECONOMI...
Preparedness for retail drug store  business development before ASEAN ECONOMI...Preparedness for retail drug store  business development before ASEAN ECONOMI...
Preparedness for retail drug store business development before ASEAN ECONOMI...Burin T. Sriwong
 
Spatial analysis of topography and river watershed factors for leptospirosis ...
Spatial analysis of topography and river watershed factors for leptospirosis ...Spatial analysis of topography and river watershed factors for leptospirosis ...
Spatial analysis of topography and river watershed factors for leptospirosis ...ILRI
 
NEWS & VIEWS, HEC Pakistan, December 2011
NEWS & VIEWS, HEC Pakistan, December 2011NEWS & VIEWS, HEC Pakistan, December 2011
NEWS & VIEWS, HEC Pakistan, December 2011Shujaul Mulk Khan
 

Viewers also liked (14)

Manual de tecnoloxia
Manual de tecnoloxiaManual de tecnoloxia
Manual de tecnoloxia
 
Lydia Rabinovich Resume
Lydia Rabinovich ResumeLydia Rabinovich Resume
Lydia Rabinovich Resume
 
Silvers, David CV
Silvers, David CVSilvers, David CV
Silvers, David CV
 
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน มกราคม 2555
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน มกราคม 2555รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน มกราคม 2555
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน มกราคม 2555
 
El ectiva 3 (programacion)
El ectiva 3 (programacion) El ectiva 3 (programacion)
El ectiva 3 (programacion)
 
The pictures all Australia has been waiting to see: Sean Abbott shows he's re...
The pictures all Australia has been waiting to see: Sean Abbott shows he's re...The pictures all Australia has been waiting to see: Sean Abbott shows he's re...
The pictures all Australia has been waiting to see: Sean Abbott shows he's re...
 
Show case001 by Powerpoint Architect
Show case001 by  Powerpoint ArchitectShow case001 by  Powerpoint Architect
Show case001 by Powerpoint Architect
 
Ovarian Cancer: Three sides of the Story: Yuko Abbott, LCSW
Ovarian Cancer: Three sides of the Story: Yuko Abbott, LCSW  Ovarian Cancer: Three sides of the Story: Yuko Abbott, LCSW
Ovarian Cancer: Three sides of the Story: Yuko Abbott, LCSW
 
Saginaw 2015 keynote
Saginaw 2015 keynoteSaginaw 2015 keynote
Saginaw 2015 keynote
 
Hạt lười ươi bay Quảng Nam
Hạt lười ươi bay Quảng NamHạt lười ươi bay Quảng Nam
Hạt lười ươi bay Quảng Nam
 
Siriwat Wittaya Primary Section
Siriwat Wittaya Primary SectionSiriwat Wittaya Primary Section
Siriwat Wittaya Primary Section
 
Preparedness for retail drug store business development before ASEAN ECONOMI...
Preparedness for retail drug store  business development before ASEAN ECONOMI...Preparedness for retail drug store  business development before ASEAN ECONOMI...
Preparedness for retail drug store business development before ASEAN ECONOMI...
 
Spatial analysis of topography and river watershed factors for leptospirosis ...
Spatial analysis of topography and river watershed factors for leptospirosis ...Spatial analysis of topography and river watershed factors for leptospirosis ...
Spatial analysis of topography and river watershed factors for leptospirosis ...
 
NEWS & VIEWS, HEC Pakistan, December 2011
NEWS & VIEWS, HEC Pakistan, December 2011NEWS & VIEWS, HEC Pakistan, December 2011
NEWS & VIEWS, HEC Pakistan, December 2011
 

Similar to Screening donated blood cmu

Antimicrobial stewardship(asp)and mdr
Antimicrobial stewardship(asp)and mdrAntimicrobial stewardship(asp)and mdr
Antimicrobial stewardship(asp)and mdrDel Del
 
Definitions of nosocomial infection
Definitions of nosocomial infectionDefinitions of nosocomial infection
Definitions of nosocomial infectionChananart Yuakyen
 
Improvement of clinical outcome in kidney diseases via on line thai glomerula...
Improvement of clinical outcome in kidney diseases via on line thai glomerula...Improvement of clinical outcome in kidney diseases via on line thai glomerula...
Improvement of clinical outcome in kidney diseases via on line thai glomerula...Boonyarit Cheunsuchon
 
Prognosis (Evidence-Based Medicine for Year 5 Ramathibodi Medical Students) (...
Prognosis (Evidence-Based Medicine for Year 5 Ramathibodi Medical Students) (...Prognosis (Evidence-Based Medicine for Year 5 Ramathibodi Medical Students) (...
Prognosis (Evidence-Based Medicine for Year 5 Ramathibodi Medical Students) (...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออก
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออกสอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออก
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออกนายสามารถ เฮียงสุข
 
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portug...
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portug...การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portug...
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portug...Utai Sukviwatsirikul
 
Predictive Validity of 4-Level Triage In Emergency Department of Chaophayaa...
Predictive Validity of 4-Level Triage  In Emergency Department of  Chaophayaa...Predictive Validity of 4-Level Triage  In Emergency Department of  Chaophayaa...
Predictive Validity of 4-Level Triage In Emergency Department of Chaophayaa...Narenthorn EMS Center
 
Anti-Jka that are detected by solid-phase red blood cell adherence but missed...
Anti-Jka that are detected by solid-phase red blood cell adherence but missed...Anti-Jka that are detected by solid-phase red blood cell adherence but missed...
Anti-Jka that are detected by solid-phase red blood cell adherence but missed...Kallaya Kerdkaewngam
 

Similar to Screening donated blood cmu (20)

Laboratory diagnosis of viral infection
Laboratory diagnosis of viral infectionLaboratory diagnosis of viral infection
Laboratory diagnosis of viral infection
 
Hemoto 65.ppt
Hemoto 65.pptHemoto 65.ppt
Hemoto 65.ppt
 
Aids medical-and-preventive-treatment-powerpoint-templates-standard
Aids medical-and-preventive-treatment-powerpoint-templates-standardAids medical-and-preventive-treatment-powerpoint-templates-standard
Aids medical-and-preventive-treatment-powerpoint-templates-standard
 
Antimicrobial stewardship(asp)and mdr
Antimicrobial stewardship(asp)and mdrAntimicrobial stewardship(asp)and mdr
Antimicrobial stewardship(asp)and mdr
 
Evidence-Based Medicine: Prognosis
Evidence-Based Medicine: PrognosisEvidence-Based Medicine: Prognosis
Evidence-Based Medicine: Prognosis
 
Definitions of nosocomial infection
Definitions of nosocomial infectionDefinitions of nosocomial infection
Definitions of nosocomial infection
 
Definitions of nosocomial infection
Definitions of nosocomial infectionDefinitions of nosocomial infection
Definitions of nosocomial infection
 
Mdr icp 13 มิย 57
Mdr icp 13 มิย 57Mdr icp 13 มิย 57
Mdr icp 13 มิย 57
 
Mdr icp 13 มิย 57
Mdr icp 13 มิย 57Mdr icp 13 มิย 57
Mdr icp 13 มิย 57
 
Cx ca
Cx caCx ca
Cx ca
 
Cx ca
Cx caCx ca
Cx ca
 
Management of tb ppt
Management of tb pptManagement of tb ppt
Management of tb ppt
 
Project proposal msd rbc 050957
Project proposal msd rbc 050957Project proposal msd rbc 050957
Project proposal msd rbc 050957
 
Improvement of clinical outcome in kidney diseases via on line thai glomerula...
Improvement of clinical outcome in kidney diseases via on line thai glomerula...Improvement of clinical outcome in kidney diseases via on line thai glomerula...
Improvement of clinical outcome in kidney diseases via on line thai glomerula...
 
Prognosis (Evidence-Based Medicine for Year 5 Ramathibodi Medical Students) (...
Prognosis (Evidence-Based Medicine for Year 5 Ramathibodi Medical Students) (...Prognosis (Evidence-Based Medicine for Year 5 Ramathibodi Medical Students) (...
Prognosis (Evidence-Based Medicine for Year 5 Ramathibodi Medical Students) (...
 
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออก
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออกสอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออก
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้เลือดออก
 
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portug...
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portug...การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portug...
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portug...
 
Predictive Validity of 4-Level Triage In Emergency Department of Chaophayaa...
Predictive Validity of 4-Level Triage  In Emergency Department of  Chaophayaa...Predictive Validity of 4-Level Triage  In Emergency Department of  Chaophayaa...
Predictive Validity of 4-Level Triage In Emergency Department of Chaophayaa...
 
Anti-Jka that are detected by solid-phase red blood cell adherence but missed...
Anti-Jka that are detected by solid-phase red blood cell adherence but missed...Anti-Jka that are detected by solid-phase red blood cell adherence but missed...
Anti-Jka that are detected by solid-phase red blood cell adherence but missed...
 
Dangue fever pp
Dangue fever ppDangue fever pp
Dangue fever pp
 

Screening donated blood cmu

  • 1. 36 วารสารเทคนิคการแพทยเชียงใหม นิภาพรรณ ลี้ตระกูล1* ลัดดา ฟองสถิตยกุล1 Nipapan Leetrakool1* Ladda Fongsatitkul1 ไพรจิตร ตานัน1 ประกาย สมพาน1 นิเวศน นันทจิต2 Praijitr Tanan1 Prakai Sompan1 Niwes Nantachit2 1 งานธนาคารเลือด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม 2 ภาควิชาอายุรศาสตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม 1 Blood Bank Section, Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital 2 Department of Internal Medicine, Faculty of Medicine, Chiang Mai University, Thailand * ผูรับผิดชอบ * Corresponding author การตรวจกรองการติดเชื้อในโลหิตบริจาค ของโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม: ประสบการณ 4 ปของการตรวจโดยวิธี Nucleic Acid Technology (NAT) Screening donated blood for infectious agents in Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital: Four-year experience of Nucleic Acid Technology (NAT) บทคัดยอ บทนํา: การตรวจกรองการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี ไวรัสตับอักเสบซีและเชื้อเอชไอวี ดวยวิธีชีววิทยา ระดับโมเลกุล Nucleic Acid Amplification Technology (NAT) ถูกนํามาใชตรวจกรองโลหิตบริจาคของโรงพยาบาล มหาราชนครเชียงใหมเพื่อลดความเสี่ยงและเพิ่มความปลอดภัยในการใหบริการโลหิต ผูวิจัยประเมินประสิทธิภาพ ในการตรวจกรองโลหิตโดยวิธี eSAS Procleix Ultrio test (Ultrio test) ของ Chiron และ Cobas® s201 automated platform และ Cobas TaqScreen MPX test (MPX test) ของ Roche วิธีการศึกษา: ตัวอยางโลหิตที่ผานการตรวจกรองการติดเชื้อดวยวิธีซีโรโลยีดวยหลักการ Chemilu- minescent micro-particle immunoassay (Architect Abbott, Wies-baden, Germany) ที่ใหผลการตรวจเปน non-reactive ระหวางเดือนสิงหาคม 2551 ถึงเดือนมีนาคม 2555 จํานวน 105,399 ตัวอยาง นํามาตรวจหา เชื้อไวรัสตับอักเสบบี ไวรัสตับอักเสบซีและเชื้อเอชไอวีแบบตัวอยางเดียวดวย Procleix Ultrio Assay หลักการ Transcription Mediated Amplification (TMA: Chiron Corporation, Emeryville, CA) ใชเครื่องกึ่งอัตโนมัติ eSAS จํานวน 53,435 ตัวอยาง และตรวจแบบรวม 6 ตัวอยางดวย Cobas TaqScreen MPX test หลักการ Polymerase Chain Reaction (PCR: Roche Molecular Systems. Pleasanton, CA) ดวยเครื่องอัตโนมัติ Cobas s201 จํานวน 51,964 ตัวอยาง ตัวอยางที่ใหผล reactive โดยวิธีใดวิธีหนึ่ง ตัวอยางพลาสมาในถุงจะถูกนํามาตรวจซ้ําทั้ง 2 วิธี หากตัวอยางใดใหผล reactive จะนําไปทดสอบแยกชนิดของเชื้อไวรัส และติดตามผูบริจาคโลหิตเพื่อเจาะเลือด และตรวจซ้ําทั้ง 2 วิธีสําหรับยืนยันการติดเชื้อ ผลการศึกษา: ความจําเพาะในการตรวจดวยวิธี Procleix Ultrio และ Cobas TaqScreen เทากับ 99.82 % และ 99.89% ตามลําดับ พบเชื้อเอชไอวี จํานวน 2 ตัวอยาง และสามารถตรวจพบในระยะ window period ไดทั้ง 2 ระบบ พบเชื้อไวรัสตับอักเสบบี จํานวนรวม 106 ตัวอยาง ซึ่งตรวจพบดวย Cobas TaqScreen จํานวน 65 ตัวอยาง และตรวจพบดวยวิธี Procleix Ultrio จํานวน 41 ตัวอยาง ตรวจไมพบเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซีจากการศึกษาในครั้งนี้ อัตราการพบเชื้อเอชไอวีโดยวิธี NAT เทากับ 1:52,699 และพบเชื้อไวรัสตับอักเสบบี เทากับ 1:994 ในระยะ occult hepatitis
  • 2. 37ปที่ 45 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม 2555 Abstract Background: The Nucleic Acid Amplification Technology (NAT) was used to screen the hepatitis B, hepatitis C and HIV in blood donations at Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital in order to decrease the risk of blood transfusion and enhance the safety of the blood supply. We aim to evaluate the performance of two commercial multiplex NAT tests, the Chiron eSAS Procleix Ultrio test (Ultrio test) and the Roche Cobas® s201 automated platform and the Cobas TaqScreen MPX test (MPX test). Methods: A total of 105,399 seronegative samples tested by Chemiluminescent micro-particle immunoassay (Architect Abbott, Wies-baden, Germany) during August 2008–March 2012 was performed by NAT. The 53,435 samples were tested individually on the Procleix Ultrio Assay, Transcription Mediated Amplification (TMA: Chiron Corporation, Emeryville, CA) for the simultaneous detection of HBV, HCV and HIV-1. On the alternate day 51,964 samples were tested in pools of 6 with the MPX test of The Roche Cobas s201 platform which was an automated platform for blood screening and the MPX test which was a multiplex NAT test for the simultaneous detection of HBV, HCV, HIV-1 and HIV-2. All reactive samples were retested by duplicate testing, using sample taken from the plasma bag and checked by both Nat test, to calculate the test specificity. The donors were then followed up and new blood samples were repeated by both methods to confirm the infectivity. Results: Test specificity was 99.82% and 99.89% for the Procleix Ultrio and Cobas TaqScreen tests, respectively. Two HIV-1 NAT- reactive donors were detected by the Cobas MPX test in pools of 6. These two samples were also detected when tested individually with the Ultrio test. One hundred and six positive cases of HBV were found, with 65 samples detected by the MPX test, and 41 detected individu- ally with the Ultrio test. No HCV was positive in this study. The NAT yield rate for HIV-1 and HBV were 1:52,699 and 1:994, respectively. Follow up of the donors showed that several of the HBV yield samples were from donors with occult HBV. Conclusions: Both NAT assays were able to detect infectious samples that were missed by routine serological assays. Window period HIV-1 and HBV donations, as well as donations from donors with occult HBV were detected by both assays. The specifically and sensitively NAT showed the increas- ing rate of detection especially for HBV. The assay features of automation and multiple target detection of NAT greatly improved the efficiency of the screening and greatly increase blood safety. It is imperative that blood transfusion services have effective screening system especially in the highly endemic region such as northern Thailand. สรุป: การตรวจกรองโลหิตบริจาคโดยวิธี NAT ทั้งสองวิธีเหมาะสําหรับนํามาตรวจหาเชื้อไวรัสที่มีปริ มาณนอยๆ และไมสามารถตรวจพบดวยวิธีซีโรโลยี ได จากการศึกษาตรวจพบเชื้อ HIV-1 และ HBV ในชวง window period ในผูบริจาคโลหิตรวมทั้งการตรวจพบ occult HBV เทคโนโลยี NAT มีความจําเพาะและความ ไวสูงสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการตรวจกรองการติดเชื้อในผูบริจาคโลหิตโดยเฉพาะอยางยิ่ง HBV เปนการเพิ่ม ความปลอดภัยในผูปวยที่ตองรับการรักษาโดยการใหโลหิต จึงเปนความจําเปนที่งานบริการโลหิตควรมีวิธีการ ตรวจกรอง NAT ที่มีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะในทองถิ่นที่มีการระบาดสูงเชนภาคเหนือของประเทศไทย
  • 3. 38 วารสารเทคนิคการแพทยเชียงใหม บทนํา การบริการโลหิตใหมีปริมาณเพียงพอ มีคุณภาพ เปนเลิศและมีความปลอดภัยสูงสุดเปนเปาหมายของ ทุกองคกรที่ใหบริการโลหิตสําหรับผูปวยที่มีความจําเปน ตองเขารับการรักษาโดยการใหเลือดและสวนประกอบ ของเลือด การปองกันการติดเชื้อจากการรับโลหิตเปน งานที่มีความสําคัญอยางยิ่ง โลหิตทุกยูนิตตองผานการ ตรวจกรองการติดเชื้อสําคัญที่สามารถติดตอไดทางโลหิต แมวาในปจจุบันความเสี่ยงในการติดเชื้อลดลงมากเมื่อ เทียบกับในอดีต เนื่องจากมีมาตรการการคัดกรองผู บริจาคโลหิตที่เขมงวดและใหความรูที่ถูกตองและทันสมัย แกประชาชนทั่วไปเกี่ยวกับคุณสมบัติของผูที่สามารถ บริจาคโลหิตได มีการตรวจกรองการติดเชื้อโดยวิธีการทาง ซีโรโลยีที่ใชน้ํายาที่มีความไวและความจําเพาะสูงเพื่อ ตรวจหา anti-HIV1/2, p24 antigen, anti-HCV, HBsAg และ Syphilis แตอยางไรก็ตาม ความเสี่ยงจากการติดเชื้อ จากการรับโลหิตก็ยังคงมีอยู เนื่องจากขอจํากัดของน้ํายา และวิธีการที่ใชในการตรวจที่ไมสามารถตรวจพบแอนติเจน หรือแอนติบอดีที่มีปริมาณนอยๆ จากการติดเชื้อในระยะ แรก (Primary infection) ระยะ window period หรือระยะ pre-seroconversion1 ในปจจุบันผูผลิตน้ํายาไดพัฒนาหาวิธีการตรวจหา เชื้อสําคัญซึ่งทําใหเกิดการติดเชื้อในระยะ window period ไดแก HIV, HCV และ HBV โดยใชเทคนิคทางดานชีวโมเลกุล เพื่อตรวจหากรดนิวคลีอิกของไวรัสดังกลาวดวยวิธี Nucleic Acid Testing (NAT) ในประเทศที่พัฒนาแลวไดนําเทคนิค NAT มาใชในการตรวจกรองโลหิตบริจาคเพื่อลดความเสี่ยง จากการรับเลือดและผลิตภัณฑของเลือดตั้งแตป พ.ศ. 25422 แตเนื่องจากวิธีการตรวจมีความซับซอนมักมีการปนเปอน งาย ทําใหเกิดผลบวกปลอมและที่สําคัญมีราคาแพงมาก การตรวจในระยะแรกจึงใชวิธีการรวมตัวอยางตั้งแต 96-500 ตัวอยาง และลดขนาดของการรวมตัวอยางลงเรื่อยๆ หลัง จากพบวาแมวาจะนํา NAT มาใชในการตรวจกรองโลหิต บริจาค ก็ยังไมสามารถปด window period ไดหากมีการ รวมตัวอยางตรวจเปนจํานวนมากและตัวอยางเลือดถูกเก็บ ไวนานในอุณหภูมิที่ไมเหมาะสม แตอยางไรก็ตามแมวาจะมี การตรวจ NAT โดยใชการรวมตัวอยางขนาดเล็ก (minipool, 16-24) ก็ยังคงมีรายงานการตรวจไมพบ HIV และ HCV ใน โลหิตบริจาคจากการตรวจโดยวิธี NAT หากผูบริจาคราย นั้นมีปริมาณไวรัสในรางกายต่ํา3,4 หนวยงานที่รับผิดชอบใน หลายประเทศจึงเปลี่ยนมาใชการตรวจแบบตัวอยางเดี่ยว (individual) หรือตัวอยางรวมขนาดเล็ก (minipool 6) เพื่อลด ความเสี่ยงลงใหมากที่สุด สําหรับประเทศไทยเริ่มมีการทดลองใช NAT ในการ ตรวจกรองโลหิตบริจาคในป พ.ศ. 2544 โดยศูนยบริการโลหิต แหงชาติ สภากาชาดไทย ดวยหลักการ Polymerase Chain Reaction (PCR: Roche Molecular Systems. Pleasanton, CA) โดยใช COBAS AmpliScreen HIV-1 and HCV assays ทําการตรวจในขนาด minipool 24 พบ HIV-1 window period จํานวน 1 ราย จากการตรวจโลหิตบริจาคประมาณ 100,000 ยูนิต5 และในป พ.ศ. 2548 งานธนาคารเลือดโรงพยาบาล มหาราชนครเชียงใหมไดทดลองตรวจกรองโลหิตบริจาค โดยหลักการ Transcription Mediated Amplification (TMA: Chiron Corporation, Emeryville, CA) โดยใช Procleix Ultrio, Gen-Probe, Inc พบ HBV จํานวน 7 ราย ที่ผล HBsAg เปน ลบ จากการตรวจโลหิตบริจาคจํานวน 5,083 ราย6 ในปจจุบัน น้ํายาที่ใชในการตรวจกรองโลหิตบริจาคในประเทศไทยโดย วิธี NAT assays ตองผานการรับรองคุณภาพจาก FDA ของ ประเทศสหรัฐอเมริกาเพื่อเปนการประกันคุณภาพน้ํายาที่ นํามาใชในการตรวจวิเคราะห ในขณะเดียวกันน้ํายาของทุก บริษัทตองผานการประเมินคุณภาพจากศูนยบริการโลหิตแหง ชาติ สภากาชาดไทยรวมกับสํานักงานคณะกรรมการอาหาร และยา กรมวิทยาศาสตรการแพทยกระทรวงสาธารณสุข สําหรับเปนแนวทางใหหนวยงานที่เกี่ยวของกับงานบริการ โลหิตของประเทศพิจารณาถึงความเหมาะสมในการนํา วิธี NAT assays มาใชเปนมาตรฐานงานบริการโลหิตระดับ ชาติตามนโยบายบริการโลหิตแหงชาติ พ.ศ. 2553 จาก การประเมินพบวาระบบ Roche MPX test มีคาความไวเชิง วิเคราะหของ HBV, HCV และ HIV-1 ที่ความเขมขน 3, 10 และ 50 IU/mL ตามลําดับ สวนของระบบ Ultrio test มีคา ความไวเชิงวิเคราะหของ HBV, HCV และ HIV-1 ที่ความเขม ขน 10, 3 และ 30 IU/mL ตามลําดับ และพบวาทั้งสองระบบ สามารถตรวจพบเชื้อทั้ง 3 ชนิดไดมากกวารอยละ 95 ของ ตัวอยางที่ทดสอบ7 จากรายงานของ Thaikruea L และคณะ8 พบเชื้อ HIV รอยละ 0.3, HCV รอยละ 0.7 และ HBV รอยละ 5.7 ใน โลหิตบริจาคจํานวน 5,083 ราย ของโรงพยาบาลมหาราชนคร เชียงใหม และมากกวารอยละ 80 เปนโลหิตที่ไดรับมาจากการ บริจาคทดแทน เห็นไดวาการติดเชื้อ HBV ในผูบริจาคโลหิตยัง คงสูงมากและเปนปญหาที่สําคัญของภาคเหนือของประเทศ และประเทศในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต9-10 งานธนาคาร เลือด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหมจึงนําวิธี NAT assays ของ Procleix Ultrio test และ Cobas TaqScreen MPX test มาศึกษาและทดลองใชในการตรวจกรองโลหิตบริจาคทุกยูนิต
  • 4. 39ปที่ 45 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม 2555 ตั้งแตเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2551 เพื่อประเมินประสิทธิภาพใน การตรวจกรองโลหิต วัสดุและวิธีการ ตัวอยางโลหิตบริจาคของงานธนาคารเลือด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม ระหวางวันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2551 ถึงวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2555 ที่ผานการตรวจ กรองการติดเชื้อดวยวิธีซีโรโลยี เพื่อหา anti-HIV1/2, p24 antigen, anti-HCV, HBsAg และ Syphilis ดวยหลักการ Chemiluminescent micro-particle immunoassay (Architect Abbott, Wies-baden, Germany) ใหผล non-reactive จํานวน 105,399 ตัวอยาง ถูกนํามาตรวจกรองอีกครั้งโดยวิธี NAT assays เพื่อหาเชื้อไวรัส HIV-1 RNA, HCV RNA และ HBV DNA พรอมกันในหลอดเดียวดวยการตรวจแบบตัวอยางเดี่ยว ดวย Procleix Ultrio test (Gen-Probe, Inc., San Diego, CA) ใชหลักการ Transcription Mediated Amplification (TMA: Chiron Corporation, Emeryville, CA) ซึ่งเปนเครื่องกึ่ง อัตโนมัติ eSAS (Chiron, Emeryville, CA) จํานวน 53,435 ตัวอยาง หากตัวอยางใหผลบวก (reactive) ทดสอบเพิ่มเพื่อ แยกหาชนิดของเชื้อ HIV-1, HCV และ HBV ในแตละตัวอยาง ดวยชุดตรวจแยกของ Procleix test ดวยหลักการเดียวกัน ยกเวน probe ที่นํามาใชจําเพาะกับเชื้อ HIV-1, HCV หรือ HBV แตละชนิด ตัวอยางโลหิตจํานวน 51,964 ตัวอยาง ถูกนําไป ตรวจแบบรวม 6 ตัวอยางดวย Cobas TaqScreen MPX test (Roche Molecular Systems, Branchburg, NJ) โดยใชหลัก การ Polymerase Chain Reaction (PCR: Roche Molecular Systems. Pleasanton, CA) ดวยเครื่องอัตโนมัติ Cobas s201 (Roche Instrument Center, Rotkreuz, Switzerland) ที่ประกอบดวยเครื่องรวมตัวอยางโลหิตดวยเครื่อง Hamilton Microlab STAR pipettor (Hamilton, Reno, NV) สกัดตัวอยาง โลหิตเพื่อใหไดสารพันธุกรรมดวยเครื่อง Cobas AmpliPrep และเพิ่มปริมาณสารพันธุกรรมพรอมตรวจวัดปริมาณสาร พันธุกรรมแบบ real-time PCR ดวยเครื่อง Cobas TaqMan analyzer ทุกขั้นตอนมีโปรแกรมควบคุมการทํางานและแปล ผล (data manager software) ตัวอยางพลาสมาจากถุง (plasma bag) ที่ใหผลบวก (reactive) ดวย MPX test จะถูก สงไปที่ศูนยบริการโลหิตแหงชาติ สภากาชาดไทยและภาค วิชาเวชศาสตรการธนาคารเลือด คณะแพทยศาสตรศิริราช พยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล เพื่อแยกชนิดของเชื้อ HIV-1, HCV และ HBV ดวยน้ํายา Roche Cobas AmpliScreen test (Roche Molecular Systems, Inc.) ตัวอยางที่ใหผล reactive โดยวิธีใดวิธีหนึ่งหรือทั้ง สองวิธี ตัวอยางเดิมที่เปน index ในถุงพลาสมา จะถูกนํามา ตรวจซ้ําทั้ง 2 วิธีเพื่อยืนยันผลบวก สําหรับตัวอยางที่ใหผล บวกจากการทดสอบแบบตัวอยางเดี่ยวดวย Procleix Ultrio test ระบบกึ่งอัตโนมัติ เมื่อนํามาทดสอบซ้ําดวย Cobas TaqScreen MPX test ระบบอัตโนมัติ Cobas s201 จะตอง เจือจางตัวอยางใหเปน 1:6 ดวยพลาสมาที่ใหผลลบทั้งสองวิธี และนําไปตรวจเพิ่มเติมโดยวิธีซีโรโลยีเพื่อหาระยะของการ ติดเชื้อควบคูกันไป โดยการตรวจ HIV-1 ใชชุดตรวจ HIV Ag/ Ab combination testing จาก Architect HIV Ag/Ab Combo (Abbott) และสําหรับ HBV ตัวอยางเดิมที่ใหผลบวก นํามา ทดสอบเพิ่มเติมดวย Architect anti-HBc immunoglobulin M (IgM), anti-HBc Immunoglobulin G (IgG), anti-hepatitis B e antigen (anti-HBe) และ anti-hepatitis B surface anti- gen (anti-HBs) tests (Abbott Diagnostics, Sligo, Ireland) ตัวอยางที่ทดสอบซ้ําจากถุงพลาสมาใหผลบวกเชนเดียว กับผลการตรวจแยกชนิดของเชื้อใหถือวาเปนผลบวก หาก ตัวอยางที่ใหผลการทดสอบซ้ําเปนลบใหถือวาเปนลบและ ไมไดทดสอบแยกชนิดของเชื้อใหถือวาเปนผลบวกปลอมและ ศึกษาความจําเพาะของชุดตรวจทั้งสองระบบ โดยใชตัวอยาง ที่ใหผลลบของระบบหนึ่งไปทดสอบสลับกับอีกระบบจํานวน ระบบละ 300 ตัวอยาง โลหิตบริจาคที่ตรวจยืนยันแลวใหผลบวกทั้งหมด จะมีการติดตาม (follow up) ผูบริจาคโลหิตจนกระทั่งเกิด seroconversion หรือสามารถสรุประยะการติดเชื้อของผู บริจาคโลหิตได โดยตัวอยางติดตามจะถูกนําไปทดสอบทั้ง สองวิธี แบบตัวอยางเดี่ยวดวย Procleix Ultrio test ระบบกึ่ง อัตโนมัติ eSAS และ Cobas TaqScreen MPX test ระบบ อัตโนมัติ Cobas s201 และทดสอบดวยวิธีทางซีโรโลยีที่ใช ทดสอบในงานประจําวัน สําหรับตัวอยางติดตามที่ติดเชื้อ HBV จะถูกทดสอบหา HBV profile เชนเดียวกับตัวอยางที่ เปน index เพื่อดูระยะของการติดเชื้อ ผลการศึกษา จากการทดสอบโลหิตบริจาคจํานวน 105,399 ยูนิต แบงเปนการทดสอบแบบตัวอยางเดี่ยวดวยระบบ Procleix Ultrio eSAS จํานวน 53,435 ตัวอยาง พบ HBV จํานวน 41 ราย และทดสอบแบบรวม 6 ตัวอยางดวยระบบ Cobas s201 TaqScreen MPX test จํานวน 51,964 ตัวอยาง พบ HIV 2 ราย HBV 65 ราย การศึกษาในครั้งนี้ตรวจไมพบ HCV ทั้ง 2 ระบบ คิดเปนอัตราการตรวจพบ HIV และ HBV โดยวิธี NAT เทากับ 1:52,699 และ 1:994 ตามลําดับ (ตารางที่ 1) ตัวอยาง
  • 5. 40 วารสารเทคนิคการแพทยเชียงใหม โลหิตที่ตรวจพบ HIV โดยวิธี NAT ทั้งสองราย เมื่อนําตัวอยาง พลาสมาในถุงมาทดสอบซ้ําพบวาใหผลบวกทั้งสองวิธี แตเมื่อ ทดสอบดวยวิธี ซีโรโลยี ดวยชุดตรวจ HIV Ag/Ab combina- tion testing จาก Architect HIV Ag/Ab Combo (Abbott) พบ วาใหผลลบ โดยตัวอยางรายที่ 1 และรายที่ 2 มีคา HIV viral load 386 copies/ml และ 30,100 copies/ml ตามลําดับ ใน ตัวอยางติดตามของผูบริจาคโลหิตทั้งสองรายพบวาใหผลบวก กับชุดตรวจ HIV Ag/Ab combination testing และตัวอยาง ติดตามรายที่ 1 มีคา HIV viral load 483,000 copies/ml รายที่ 2 มีคา 270,000 copies/ml (ตารางที่ 2) สําหรับตัวอยาง โลหิตที่ตรวจพบ HBV จํานวน 106 ราย เปนการตรวจพบ ดวยระบบ Cobas s201 TaqScreen MPX test จํานวน 65 ราย และระบบ Procleix Ultrio eSAS จํานวน 41 ราย เมื่อ นําไปตรวจเพิ่มเติมทางดานซีโรโลยีโดยการตรวจหา HBV profile เพื่อศึกษาหาระยะการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี ใน ตัวอยางที่ตรวจพบดวยระบบ Cobas s201 TaqScreen MPX test พบ anti-HBc รอยละ 53.8, anti-HBs รอยละ 9.2, anti-HBc+anti-HBsรอยละ13.8และตรวจไมพบHBVmarkers รอยละ 23.1 สําหรับตัวอยางตรวจที่พบ HBV ดวยระบบ Procleix Ultrio eSAS พบ anti-HBc รอยละ 24.4, anti-HBs รอยละ 21.9, anti-HBc+ anti-HBs รอยละ 12.2 และให ผลลบรอยละ 41.5 ซึ่งผลการตรวจ HBV profile ที่ตรวจ พบรวมทั้งสองวิธีพบ anti-HBc รอยละ 42.4, anti-HBs รอยละ 14.1, anti-HBc+ anti-HBs รอยละ 13.2 และตรวจ ไมพบ HBV markers รอยละ 30.2 ตามลําดับ ในรายที่ตรวจ พบ anti-HBs มีคาผลการตรวจอยูระหวาง 12.41-209.50 mIU/ml (ตารางที่ 3) System No. of sample tested No. of NAT reactive samples HIV-1 HCV HBV Procleix Ultrio eSAS 53,435 0 0 41 Cobas s201 and TagScreen MPX 51,964 2 0 65 Total 105,399 2 0 106 NAT Yield rate 1:52,699 0 1:994 Table 1 Summary of NAT reactive sample Table 2 Testing of follow-up samples from the HIV-1 window-period donor Table 3 Serologic study of the HBV NAT result samples * anti-HBs มีคาระหวาง 12.41–209.50 mIU/ml Case Visit Date Procleix Ultrio S/CO (IDT) Cobas TagScreen MPX Ct (pool) Architect HIV Ag/Ab Combo CAP/CTM HIV viral load (Copies/mL) 1 1 Jan 31, 2009 15.06 (+) 30.5 (+) 0.16 (-) 386 2 Feb 14, 2009 18.87 (+) 23.7 (+) 20.27 (+) 483,000 2 1 May 19, 2010 18.14 (+) 25.5 (+) 0.64 (-) 35,100 2 Jun 18, 2010 19.83 (+) 19.4 (+) 12.47(+) 270,000 Results Total number of samples HBV Profile Anti-HBc (%) Anti-HBs* (%) Anti-HBc +Anti-HBs (%) Negative (%) Cobas TagScreen MPX reactive 65 35 (53.8) 6 (9.2) 9 (13.8) 15 (23.1) Procleix Ultrio reactive 41 10 (24.4) 9 (21.9) 5 (12.2) 17 (41.5) Total 106 45 (42.4) 15 (14.1) 14 (13.2) 32 (30.2)
  • 6. 41ปที่ 45 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม 2555 ผูบริจาคโลหิตที่ตรวจพบ HBV จํานวน 106 ราย มี ผูกลับมาตรวจติดตามจํานวน 64 ราย คิดเปนรอยละ 60.4 มี ผูบริจาคโลหิตที่ใหผลการตรวจหา HBV profile เปนลบเพียง 9 ราย ที่กลับมาตรวจติดตามและพบ HBsAg ทุกรายดวย วิธีซีโรโลยีที่ใชในงานประจํา (Architect Abbott, Wies-baden, Germany) จึงถือเปนการติดเชื้อในระยะแรก (window period) และการตรวจ NAT ทั้งสองวิธีใหผลสอดคลองกัน นอกจากนี้ ยังตรวจพบ HBeAg ในผูบริจาคโลหิตทั้ง 9 รายในตัวอยาง ติดตามดังกลาว มีผูบริจาคโลหิตจํานวน 4 ราย ที่ตรวจพบ ทั้ง anti-HBc และ HBeAg และตรวจพบ HBeAg เพียงอยาง เดียวจํานวน 5 ราย (ตารางที่ 4) อัตราการตรวจพบผลบวกในการตรวจครั้งแรก Donor Visit Date Procleix Ultrio (S/C0) Cobas TagScreen MPX Architect HBsAg Anti-HBs mIU/ml Anti-HBc IgM Anti-HBc IgG HBeAg Anti-HBe HBV Viral load IU/ml 1 1 Nov 15, 2008 15.45 (+) 35.0 (+) (-) (-) (-) (-) (-) (-) <12 2 Dec 22, 2008 15.67 (+) 11.0 (+) 250 (+) (-) (-) (+) (+) (-) ND 2 1 21 Aug, 2009 14.31 (+) 33.5 (+) (-) (-) (-) (-) (-) (-) 109 2 11 Nov, 2009 13.85 (+) 10.6 (+) 250 (+) (-) (+) (+) (+) (-) ND 3 1 Sep 7, 2009 11.84 (+) 30.0 (+) (-) (-) (-) (-) (-) (-) ND 2 Oct 12, 2009 13.89(+) 12.7(+) 250 (+) (-) (-) (-) (+) (-) ND 4 1 Oct 12, 2009 14.32 (+) 36.6 (+) (-) (-) (-) (-) (-) (-) 18.5 2 Nov 10, 2009 14.25 (+) 28.7 (+) 0.06 (+) (-) (-) (-) (+) (-) ND 5 1 Dec 1, 2009 13.15 (+) 37.3 (+) (-) (-) (-) (-) (-) (-) <12 2 Jan 13, 2010 13.26 (+) 10.7 (+) 2232.5 (+) (-) (+) (+) (+) (-) ND 6 1 Dec 16, 2009 13.83 (+) 30.7 (+) (-) (-) (-) (-) (-) (-) ND 2 Jan 13, 2010 14.35 (+) 27.2 (+) 4.68 (+) (-) (-) (-) (+) (-) ND 7 1 Jan 17, 2010 14.53 (+) 31.2 (+) (-) (-) (-) (-) (-) (-) ND 2 Feb 12, 2010 13.86 (+) 30.2 (+) 458.1 (+) (-) (-) (-) (+) (-) ND 8 1 Feb 4, 2010 13.18 (+) 33.1 (+) (-) (-) (-) (-) (-) (-) 189 2 Mar 18, 2010 14.55 (+) 33.9 (+) 3,038.48 (+) (-) (-) (-) (+) (-) ND 9 1 Jun 23,2010 14.64 (+) 32.3 (+) (-) (-) (-) (-) (-) (-) ND 2 Aug 4, 2010 15.66 (+) 26.8 (+) 46.54 (+) (-) (+) (+) (+) (-) ND Table 4 Testing of follow-up sample from the HBV window-period donor
  • 7. 42 วารสารเทคนิคการแพทยเชียงใหม (initial-reactive) ดวยวิธี Procleix Ultrio test และ Cobas TagScreen MPX test คิดเปนรอยละ 0.33 และ 2.20 ตาม ลําดับ และตรวจพบผลบวกในการทดสอบซ้ํา (repeat-reac- tive) ของทั้งสองระบบเทากับรอยละ 0.25 และ 0.24 ตัวอยาง ที่ทดสอบซ้ําแลวใหผลเปนบวก จะนําตัวอยางพลาสมาจาก ในถุงมาทดสอบซ้ําอีกครั้งทั้งสองวิธีเพื่อยืนยันผลบวก พบผล บวกจริงรอยละ 0.07 และผลบวกปลอมรอยละ 0.18 ในระบบ Procleix Ultrio test ในขณะที่พบผลบวกจริงรอยละ 0.12 และผลบวกปลอมรอยละ 0.11 ในระบบ Cobas TaqScreen MPX test คิดเปนความจําเพาะทางคลินิกของระบบ Chiron Procleix Ultrio test เทากับรอยละ 99.82 และระบบ Roche Cobas TaqScreen MPX test เทากับรอยละ 99.89 แต เนื่องจากทั้งสองระบบไมไดทดสอบในตัวอยางเดียวกัน จึงไม สามารถเปรียบเทียบเพื่อหานัยสําคัญได (ตารางที่ 5) สวนผล การทดสอบความจําเพาะของทั้งสองระบบอยางละ 300 ราย พบวาใหผลลบสอดคลองกัน วิจารณ การประเมินการทดสอบหาการติดเชื้อหลายชนิด พรอมกันในหลอดเดียวดวยวิธี NAT ทั้ง 2 ระบบ ในตัวอยาง โลหิตบริจาค ดวยวิธี Procleix Ultrio test และ Cobas TagScreen MPX test สามารถตรวจพบการติดเชื้อ HIV ใน ระยะแรก (window period) จํานวน 2 ราย (1:52,699) และ เมื่อตรวจในตัวอยางติดตามดวยวิธีซีโรโลยีพบวาใหผลบวก ชัดเจนกับน้ํายาที่ใชตรวจในงานประจําและมีคา HIV viral load ในระดับที่สูงมากเชนกัน ผูบริจาคโลหิตทั้งสองราย เปนผูบริจาคโลหิตประจํา เมื่อซักประวัติเพิ่มเติมในการ ตรวจติดตามพบวามีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศทั้งสองราย แต Results Procleix Ultrio eSAS Cobas TagScreen MPX Number of samples tested 53,435 51,964 samples (8,749 pools) Initial-reactive samples 179 (0.33%) 193 pools (2.20 %) Reactive samples by discriminatory test 138 (0.25%) 125 (0.24%) Duplicate, repeat sample from plasma bag 41 (0.07%) 65 (0.12%) False-reactive sample rate 97 (0.18%) 60 (0.11%) Clinical specificity (95% CI) 99.82 % (99.81% - 99.83%) 99.89 % (99.88% - 99.90%) ผูบริจาคโลหิตทั้งสองรายไมไดตอบลงไปในแบบสอบถาม ในการมาบริจาคโลหิตในครั้งกอนหนานี้ จึงเห็นไดวาแมวา จะเปนผูบริจาคประจําก็มิไดหมายความวาการรับเลือดจาก ผูบริจาคกลุมนี้จะมีความปลอดภัย อยางไรก็ตาม การตรวจ พบในครั้งนี้เปนอัตราการพบที่สูงมากเมื่อเปรียบเทียบกับ การศึกษาของศูนยบริการโลหิตแหงชาติ สภากาชาดไทย ที่ รายงานไวในป พ.ศ. 2552 พบวามีอัตราการตรวจพบ HIV ที่ถือเปนการติดเชื้อในระยะแรกเพียง 1 ราย (1:490,000) เมื่อศึกษาขอมูลผลการตรวจดวยวิธีทางซีโรโลยีประกอบการ พิจารณา7 การตรวจพบ HBV จํานวน 106 ราย (1:994) ให ผลสอดคลองกับรายงานการศึกษาของนิเวศน นันทจิตและ คณะ คือ 1:8006 และรายงานของศูนยบริการโลหิตแหง ชาติ สภากาชาดไทยในป พ.ศ. 2551 ซึ่งพบ HBV ในอัตรา 1:2,800 เห็นไดวาสวนใหญตัวอยางที่พบเปนการติดเชื้อแบบ occult HBV ผูบริจาคโลหิตจํานวน 32 ราย ที่ใหผลการตรวจ HBV markers ทุกชนิดเปนลบแตกลับมาตรวจติดตามในระยะ เวลาที่กําหนดเพียง 9 รายที่สามารถบงชี้วาเปนการติดเชื้อใน ระยะแรก (window period) จากการตรวจพบ HBsAg และ HBeAg ในตัวอยางติดตาม และเนื่องจากมีผูบริจาคโลหิตบาง รายกลับมาตรวจติดตามในเวลาที่ชามากเกินไปจึงตรวจไม พบ HBsAg แตยังคงตรวจพบ anti-HBs และ anti-HBc การ ตรวจพบ HBV เปนจํานวนมากในการศึกษาครั้งนี้สอดคลอง กับผลการตรวจพบ HBsAg ในผูบริจาคโลหิตของภาคเหนือ ระหวางป พ.ศ. 2533-2544 โดยพบรอยละ 3.8-9.6 ในผู บริจาคโลหิตเพศชาย และรอยละ 4.0-12.6 ในผูบริจาคโลหิต เพศหญิง ซึ่งเปนจํานวนที่สูงมากเมื่อเทียบกับภาคอื่นของ ประเทศ11 เปนที่นาสังเกตวาในตัวอยางของผูบริจาคโลหิต Table 5 Initial-reactive rates and repeat-reactive rates
  • 8. 43ปที่ 45 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม 2555 จํานวน 15 รายที่สวนใหญมีอายุระหวาง 18-22 ป ใหผล NAT reactive แมจะมีผล anti-HBs เปนบวก (ตารางที่ 3) ผล การตรวจ NAT ทั้งสองวิธีใหผลสอดคลองกันซึ่งทั้งสองวิธีใช primer และ probe ที่ตําแหนงตางกัน เนื่องจากประเทศไทย มีนโยบายระดับชาติที่ใหทารกทุกรายไดรับวัคซีนปองกันเชื้อ HBV ตั้งแตแรกคลอดมาตั้งแตป พ.ศ 2535 เปนตนมา12 ดัง นั้นอาจกลาวไดวาผูบริจาคกลุมนี้อาจเคยไดรับวัคซีนมากอน หรือไดรับวัคซีนแลวแตยังคงมีการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี ได (Vaccine breakthrough infection) เนื่องจากตรวจพบ ระดับ anti-HBs มีคาต่ําๆ หรืออาจเกิดจากไดรับวัคซีนที่ไม ครอบคลุมทุก subtypes ของ HBV โดยเฉพาะอยางยิ่งผูที่มี พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ13 จากการทดสอบความจําเพาะของทั้งสองระบบพบ วาใหผลสอดคลองกับการศึกษาของศูนยบริการโลหิตแหง ชาติ สภากาชาดไทยและตางประเทศ7,14 ในระยะแรกของ การนํา NAT ทั้งสองระบบมาทดสอบพบปญหาการเกิดผล บวกปลอมเปนจํานวนมาก จากความไมคุนชินกับระบบของ ผูปฏิบัติงานและเกิดจากการปนเปอนในขั้นตอนการเก็บ หลอดตัวอยางเลือด จึงตองมีการฝกอบรมและปรับปรุงวิธี การเก็บตัวอยางเลือด หรือเปลี่ยนใชถุงบรรจุโลหิตชนิดที่มี ถุงเล็กเปนกระเปาะแยกเก็บตัวอยางเลือด (diversion pouch) เพื่อลดการปนเปอน และตรวจยืนยันผลบวกโดยใชตัวอยาง จากถุงพลาสมาและในตัวอยางติดตามในกรณีที่ผูบริจาค โลหิตกลับมาตรวจซ้ํา จากการศึกษาจะเห็นไดวา การนํา NAT ทั้งสองระบบมาใชในงานตรวจความปลอดภัยในโลหิต บริจาค ชวยเพิ่มความปลอดภัยและลดความเสี่ยงของผูปวย ที่มีความจําเปนตองรับการรักษาโดยการใหเลือดไดเปนอยาง มากเพราะสามารถตรวจพบเชื้อ HIV-1 และ HBV ในระยะ แรก (window period) และ HBV ในระยะ occult hepatitis ในอัตราที่สูงมากเมื่อเทียบกับการศึกษาของศูนยบริการโลหิต แหงชาติ สภากาชาดไทย โดยเฉพาะอยางยิ่งเชื้อ HBV การ ใชเทคนิค NAT ในระบบอัตโนมัติที่มีความไวสูงทําใหพบเชื้อ ที่มีปริมาณต่ําๆ ในโลหิตบริจาคไดมากขึ้นในทองถิ่นที่มีการ ระบาดสูงมากเชนภาคเหนือของไทย
  • 9. 44 วารสารเทคนิคการแพทยเชียงใหม เอกสารอางอิง 1. Busch MP, Lee LL, Satten GA, et al. Time course of detection of viral and serological markers preceding human immunodeficiency virus type 1 Seroconversion; Implications for screening blood and tissue donors. Transfusion 1995; 35:91-7. 2. Roth WK, Bush MP, Schuller A, et al. International survey on NAT testing of blood donations: ex panding implementation and yield from 1999 to 2009. Vox Sang 2012; 102: 82-90. 3. Phelps R, Robbins K, Liberti T, et al. Window-period human immunodeficiency virus transmission to two recipients by an adolescent blood donor. Transfusion 2004; 44: 929-33. 4. Schuttler CG, Caspari G, Jursch CA, et al. Hepatitis C virus transmission by blood donation negative in nucleic acid amplification tests for viral RNA [letter]. Lancet 2000; 355: 41-2. 5. Tirawatnapong T. Screening of donated blood by NAT. J Hematol Transfus Med 2007; 17: 107-10 (In Thai). 6. Nantachit N, Thaikruea L, Thongsawat S, et al. Evaluation of multriplex human immunodeficiency virus-1, hepatitis C virus and hepatitis B virus nucleic acid testing assay to detect viremic blood donors in northern Thailand. Transfusion 2007; 47: 1803-8. 7. Pikulsod S, Oota S, Tirawatanapong T, et al. One-year experience of nucleic acid technology testing for human immunodeficiency virus Type I, hepatitis C virus, and hepatitis B virus in Thai blood donations. Transfusion 2009; 49: 1126-35. 8. Thaikruea L, Nantachit N, Leetrakool N, et al. Assessment of a self-deferral form for screening blood donors, Chiang mai university hospital, Thailand. Southeast Asian J Trop Med Public Health 2008; 39: 906-12. 9. Ishida T, Takao S, Settheetham-Ishida W, Tiwawech D. Prevalence of hepatitis B and C virus infection in rural ethnic populations of Northern Thailand. J Clin Virol 2002; 24: 31-5. 10. Luksamijarulkul P, Kaepan W, Klamphakorn S. Hepatitis B virus sero-makers, hepatitis C virus antibody and risk behaviors among middle age and older Thai males. Southeast Asian J Trop Med Public Health 2007; 38: 45-52.