SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
ค�ำน�ำ
	 หนังสือเทคนิคการพยากรณ์เพื่อการจัดการ ได้แต่งและเรียบเรียงเพื่อใช้ในการเรียนการสอน        
ในหลักสูตรบริหารธุรกิจ ทั้งระดับปริญญาตรีและปริญญาโท นอกจากนั้นหนังสือเล่มนี้ยังเหมาะกับ      
ผู้ที่เรียนในหลักสูตรหรือวิชาที่เกี่ยวข้อง เช่น เทคนิคการพยากรณ์ทางสถิติ การศึกษาความเป็นไปได้
ของโครงการการจัดท�ำแผนธุรกิจ เพราะการพยากรณ์เป็นส่วนหนึ่งของการน�ำไปใช้วางแผน ไม่ว่าการ
ท�ำแผนกลยุทธ์หรือแผนธุรกิจ
	 คาดหวังว่าหนังสือเล่มนี้นอกจากเป็นประโยชน์ต่อนิสิตนักศึกษาแล้ว ภาคธุรกิจก็สามารถน�ำ
แนวทางไปพยากรณ์เพื่อวางแผนธุรกิจอย่างมีแนวทางและหลักการ
	 หากมีข้อเสนอแนะกรุณาส่งมาที่ ศาสตราจารย์กิตติคุณ ร้อยโทหญิง ดร.อัจฉรา จันทร์ฉาย
หลักสูตร Technopreneurship & Innovation Management จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หรือที่
E-mail: achandrachai@gmail.com
ศาสตราจารย์กิตติคุณ ร้อยโทหญิง ดร.อัจฉรา จันทร์ฉาย
มกราคม 2557
สารบัญ
				 หน้า
ค�ำน�ำ
สารบัญ
สารบัญตาราง
สารบัญรูป
บทที่ 1	 ภาพรวมการพยากรณ์และการวางแผนธุรกิจ	 1
	 1.1 	บทน�ำ  	 1
	 1.2	 ความสัมพันธ์ระหว่างการวางแผนและการพยากรณ์ทางธุรกิจ	 2
	 	 1.2.1	 ความสัมพันธ์ระหว่างระดับการบริหารกับการพยากรณ์	 2
	 	 1.2.2	 ความสัมพันธ์ระหว่างการพยากรณ์ การวางแผน และผลการด�ำเนินงาน	 3
	 	 1.2.3	 อุปสงค์อิสระและอุปสงค์ตาม (Independent & Dependent Demand)	 5
	 1.3	 ภาพรวมการพยากรณ์ทางธุรกิจ	 6
	 	 1.3.1	 ประเภทของเทคนิคพยากรณ์	 7
	 1.4	 ภาพรวมการวางแผนธุรกิจ	 8
	 1.5	 ความจ�ำเป็นและความส�ำเร็จในการพยากรณ์และการวางแผน	 10
	 1.6	 บทส่งท้าย	 11
	 แบบฝึกหัด	 	 12
บทที่ 2	 การพยากรณ์ทางธุรกิจ	 15
	 2.1	 บทน�ำ		 15
	 2.2	 เกณฑ์ในการเลือกเทคนิคการพยากรณ์	 16
	 	 2.2.1	 ระยะเวลาในการพยากรณ์ไปข้างหน้า	 16
	 	 2.2.2 	ลักษณะของข้อมูล	 17
	 	 2.2.3 	การวัดความแม่นย�ำในการพยากรณ์	 19
	 2.3	 การเปรียบเทียบเทคนิคการพยากรณ์กับเกณฑ์การเลือกเทคนิค	 28
	 2.4	 ชนิดของเทคนิคการพยากรณ์กับวัฏจักรของสินค้า	 32
	 2.5	 การวิเคราะห์ลักษณะข้อมูล	 34
	 2.6	 การรวมเทคนิคพยากรณ์ (Combining Forecast)	 37
2.7	 นวัตกรรมและอนาคตของการพยากรณ์	 41
	 2.8	 โปรแกรมส�ำเร็จรูปเพื่อการพยากรณ์	 42
	 2.9	 บทส่งท้าย	 44
	 แบบฝึกหัด	 	 46
บทที่ 3	 เทคนิคการพยากรณ์เชิงคุณภาพ	 51
	 3.1	 บทน�ำ		 51
	 3.2	 เทคนิคที่ใช้วิจารณญาณ (Subjective Assessment Methods)	 53
	 	 3.2.1	 พนักงานขายท�ำการพยากรณ์ (Salesforce Estimate)	 53
	 	 3.2.2	 กลุ่มผู้บริหารท�ำการพยากรณ์ (Jury of Executive Opinion)	 54
	 	 3.2.3	 วิธีการส�ำรวจหรือการวิจัยตลาดหรือธุรกิจ	 55
	 	 3.2.4	 การทดสอบตลาด (Test Market)	 56
	 3.3	 วิธีการค้นหา (Exploratory)	 57
	 	 3.3.1  Scenario Analysis	 57
	 	 3.3.2	 Delphi	 59
	 	 3.3.3	 Cross-Impact Analysis	 62
	 	 3.3.4	 Analogy	 63
	 3.4	 เทคนิคด้าน Normative	 68
	 	 3.4.1	 Relevance Trees	 68
	 	 3.4.2	 System Dynamic	 68
	 3.5	 บทส่งท้าย	 70
	 แบบฝึกหัด	 	 71
บทที่ 4	 การพยากรณ์เทคนิคเชิงปริมาณ : เทคนิคอนุกรมเวลา	 73
	 4.1	 บทน�ำ		 73
	 4.2	 เทคนิคค่าถัวเฉลี่ยเคลื่อนที่แบบง่าย (Single Moving Average)	 76
	 4.3	 เทคนิคค่าถัวเฉลี่ยเคลื่อนที่แบบถ่วงน�้ำหนัก (Weighted Moving Average)	 82
	 4.4	 เทคนิคค่าถัวเฉลี่ยเคลื่อนที่แบบเส้นตรง (Linear Moving Average)	 85
	 4.5	 Single Exponential Smoothing	 88
	 4.6	 Adaptive-Response-Rate: Single Exponential Smoothing	 91
	 4.7	 Double Exponential Smoothing-Brown’s One-Parameter Linear
	 	 Model หรือ Linear Exponential Smoothing	 94
4.8	 Double Exponential Smoothing: Holt’s Two-Parameter Method	 97
	 4.9	 Triple Exponential Smoothing-Brown’s One-Parameter Quadratic
	 	 Method	 100
	 4.10	 Winters’ Three–Parameter Trend & Seasonality Method (Winters)	 104
	 4.11	 Classical Decomposition Method	 108
	 4.12	 บทส่งท้าย	 117
	 แบบฝึกหัด	 	 119
บทที่ 5	 การพยากรณ์เทคนิคเชิงปริมาณ : เทคนิคความสัมพันธ์ของข้อมูล	 127
	 5.1	 บทน�ำ		 127
	 5.2	 วิธีการถดถอยเชิงเดี่ยว (Simple Regression Model)	 129
	 5.3	 วิธีการถดถอยเชิงพหุคูณ (Multiple Regression Method)	 152
	 5.4	 Multicollinearity	 156
	 5.5	 ตัวแบบการถดถอยกับตัวแปรหุ่น (Dummy)	 158
	 5.6	 รูปแบบความสัมพันธ์ของตัวแปรแบบต่าง ๆ และการแปลงความสัมพันธ์	 162
	 5.7	 ประเด็นของการวิเคราะห์การถดถอย	 170
	 5.8	 บทส่งท้าย	 176
	 แบบฝึกหัด	 	 177
บทที่ 6	 ระบบข้อมูลเพื่อการพยากรณ์	 185
	 6.1	 บทน�ำ		 185
	 6.2	 ข้อค�ำนึงเกี่ยวกับข้อมูลเพื่อการพยากรณ์	 185
	 6.3	 การจัดหาข้อมูล	 187
	 	 6.3.1	 แหล่งที่มาของข้อมูล	 187
	 	 6.3.2	 จ�ำนวนข้อมูลที่ใช้ในการพยากรณ์	 188
	 6.4	 การจัดเตรียมข้อมูล	 189
	 	 6.4.1	 ปัญหาที่เกี่ยวกับการรวบรวมข้อมูล	 189
	 	 6.4.2	 การปรับปรุงข้อมูลเพื่อการพยากรณ์	 191
	 6.5	 บทส่งท้าย	 193
	 แบบฝึกหัด	 	 194
บทที่ 7	 การพยากรณ์และการวางแผนภาคปฏิบัติ	 197
	 7.1	 บทน�ำ		 197
	 7.2	 ทิศทางการบริหารเชิงกลยุทธ์ของบริษัทในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย	
	 	 2539-2540	 197
	 7.3	 ผลการส�ำรวจเทคนิคการพยากรณ์และการวางแผนปี 2541	 201
	 7.4	 การน�ำเทคนิคเชิงปริมาณในการพยากรณ์ทางธุรกิจ	 205
	 	 7.4.1	 การน�ำไปใช้พยากรณ์ปริมาณการขนส่ง	 205
	 	 7.4.2	 การน�ำไปใช้พยากรณ์จ�ำนวนห้องพักของโรงแรม	 206
	 7.5	 การเปรียบเทียบความแม่นย�ำโดย M-Competition	 208
	 7.6	 การพยากรณ์และการวางแผนในสภาวการณ์ไม่แน่นอน	 211
	 7.7	 บทส่งท้าย	 214
	 แบบฝึกหัด	 	 215
ภาคผนวก 1	แบบส�ำรวจการพยากรณ์และการวางแผนธุรกิจ	 217
ประวัติผู้เขียน		 225
สารบัญตาราง
		 หน้า
ตารางที่ 1.1	 อุปสงค์อิสระและอุปสงค์ตาม	 6
ตารางที่ 2.1	 การค�ำนวณความแม่นย�ำในการพยากรณ์	 21
ตารางที่ 2.2	 การค�ำนวณค่า Theil’s U-Statistic	 24
ตารางที่ 2.3	 การค�ำนวณค่า Durbin-Watson’s d-statistic	 26
ตารางที่ 2.4 	 การค�ำนวณหา Autocorrelation ของความผิดพลาด	 27
ตารางที่ 2.5 	 การเปรียบเทียบเทคนิคการพยากรณ์	 30
ตารางที่ 4.1	 การพยากรณ์โดยเทคนิคค่าถัวเฉลี่ยเคลื่อนที่แบบง่าย	 77
ตารางที่ 4.2	 การพยากรณ์โดยเทคนิคค่าถัวเฉลี่ยเคลื่อนที่แบบง่าย กรณีข้อมูลเป็นขั้นบันได	 79
ตารางที่ 4.3	 การพยากรณ์โดยเทคนิคค่าถัวเฉลี่ยเคลื่อนที่แบบง่าย กรณีข้อมูลเป็นแนวโน้ม
	 เส้นตรง	 81
ตารางที่ 4.4	 การพยากรณ์โดยเทคนิคค่าถัวเฉลี่ยเคลื่อนที่แบบถ่วงน�้ำหนัก	 83
ตารางที่ 4.5	 การพยากรณ์โดยเทคนิคค่าถัวเฉลี่ยเคลื่อนที่แบบเส้นตรง ให้ n = 4	 86
ตารางที่ 4.6	 การพยากรณ์โดยเทคนิค Single Exponential Smoothing
	 ให้ α = 0.1, α = 0.9	 89
ตารางที่ 4.7	 การพยากรณ์โดยเทคนิค Adaptive-Response-Rate: Single
	 Exponential Smoothing	 92
ตารางที่ 4.8	 การพยากรณ์โดยเทคนิค Double Exponential Smoothing ให้ α = 0.1	 96
ตารางที่ 4.9 	 การพยากรณ์โดยเทคนิค Holt’s Two-Parameter ให้ α = 0.2, δ = 0.3	 99
ตารางที่ 4.10	การพยากรณ์โดยเทคนิค Triple Exponential Smoothing ให้ α = 0.1	 102
ตารางที่ 4.11	การพยากรณ์โดยเทคนิค Winters ข้อมูลรายไตรมาส L = 4, ให้ α = 0.1,
	 β = 0.1, γ = 0.1	 107
ตารางที่ 4.12	การพยากรณ์โดยเทคนิค Multiplicative Decomposition	 111
ตารางที่ 5.1 	 ตัวอย่างตัวแปรที่ใช้พยากรณ์ทางธุรกิจ	 128
ตารางที่ 6.1 	 จ�ำนวนข้อมูลที่ใช้ในการพยากรณ์แต่ละตัวแบบ	 189
ตารางที่ 7.1	 การเปรียบเทียบความแม่นย�ำโดย M-Competition	 209
ตารางที่ 7.2	 อันดับความแม่นย�ำของเทคนิคพยากรณ์	 210
สารบัญรูป
		 หน้า
รูปที่ 1.1 	 ความสัมพันธ์ของการวางแผน การพยากรณ์ และการตัดสินใจ	 2
รูปที่ 1.2 	 บทบาทของการพยากรณ์และการวางแผน	 4
รูปที่ 1.3	 ขั้นตอนเทคนิคพยากรณ์และการวางแผน	 8
รูปที่ 1.4	 กระบวนการวางแผนกลยุทธ์	 10
รูปที่ 2.1	 ข้อมูลที่สม�่ำเสมอในแนวนอน	 17
รูปที่ 2.2	 ข้อมูลที่เป็นฤดูกาล	 17
รูปที่ 2.3	 ข้อมูลที่เป็นวัฏจักร	 18
รูปที่ 2.4	 ข้อมูลที่เป็นแนวโน้ม	 18
รูปที่ 2.5 	 ชนิดของเทคนิคการพยากรณ์ในระยะต่าง ๆ ของวัฏจักรสินค้า
	 (Product’s Life Cycle)	 33
รูปที่ 2.6	 ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูลดิบด้วยเทคนิค Autocorrelation	 35
รูปที่ 2.7	 แสดงให้เห็นข้อมูลดิบเป็นข้อมูลราบเรียบ	 35
รูปที่ 2.8	 ข้อมูลก่อนท�ำ Difference และหลังท�ำ Difference	 36
รูปที่ 2.9 	 ข้อมูลการท�ำ Difference 2 ครั้ง	 37
รูปที่ 3.1	 ตัวอย่างการสร้าง Scenario ของตลาดสินค้าอุปโภค-บริโภค	 58
รูปที่ 3.2	 การพัฒนาเทคโนโลยีใหม่เพื่อทดแทนเทคโนโลยีเก่า	 66
รูปที่ 3.3	 แสดงให้เห็นเหตุการณ์ส�ำคัญในประวัติศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรม
	 และเทคโนโลยีสารสนเทศ	 67
รูปที่ 3.4	 ตัวอย่างการน�ำ Relevance Trees ไปใช้ในการพัฒนาหลักสูตร MBA-Executive	 69
รูปที่ 4.1	 ขั้นตอนของเทคนิคปรับให้เรียบเส้นโค้ง (Smoothing)	 74
รูปที่ 4.2	 ลักษณะข้อมูลและเทคนิคการพยากรณ์	 76
รูปที่ 4.3	 การพยากรณ์โดยเทคนิคค่าถัวเฉลี่ยเคลื่อนที่แบบง่าย n = 3 และ n = 5	 79
รูปที่ 4.4	 ความไม่แม่นย�ำของเทคนิคค่าถัวเฉลี่ยเคลื่อนที่แบบง่าย เมื่อข้อมูลเป็นขั้นบันได	 80
รูปที่ 4.5	 ความไม่แม่นย�ำของเทคนิคค่าถัวเฉลี่ยเคลื่อนที่แบบง่าย เมื่อข้อมูลเป็นแนวโน้ม
	 เส้นตรง	 81
รูปที่ 4.6	 การพยากรณ์โดยเทคนิคค่าถัวเฉลี่ยเคลื่อนที่แบบถ่วงน�้ำหนัก	 84
รูปที่ 4.7	 การพยากรณ์โดยเทคนิคค่าถัวเฉลี่ยเคลื่อนที่แบบเส้นตรง
	 (Linear Moving Average)   	 87
รูปที่ 4.8 	 การพยากรณ์โดยเทคนิค Single Exponential Smoothing	 91
รูปที่ 4.9	 การพยากรณ์โดยเทคนิค Adaptive	 94
รูปที่ 4.10 	การพยากรณ์โดยเทคนิค Linear Exponential Smoothing	 97
รูปที่ 4.11	 การพยากรณ์โดยเทคนิค Holt	 100
รูปที่ 4.12	 การพยากรณ์โดยเทคนิค Triple Exponential Smoothing	 103
รูปที่ 4.13	 การพยากรณ์โดยเทคนิค Winters	 108
รูปที่ 4.14	 การพยากรณ์โดยเทคนิค Decomposition	 117
รูปที่ 4.15	 การปรับค่าที่พยากรณ์จากเทคนิคอนุกรมเวลา	 118
รูปที่ 5.1	 รูปแบบความสัมพันธ์ของตัวแปร	 163
รูปที่ 5.2	 แสดงว่าตัวแปรไม่มีความสัมพันธ์เป็นเส้นตรง	 174
รูปที่ 5.3	 ค่า Variance ของความผิดพลาดคงที่	 174
รูปที่ 5.4	 ค่า Variance ของความผิดพลาดไม่คงที่	 174
รูปที่ 5.5	 ค่าความผิดพลาดมีความสัมพันธ์กับเวลา	 175
รูปที่ 5.6	 มีข้อมูลผิดปกติเกิดขึ้น (Outlier)	 175
บ ท ที่
1.1	 บทน�ำ
	 บทบาทของผู้บริหารที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ คือ การวางแผน การน�ำแผนไปปฏิบัติ การติดตามและ
ประเมินผล ผู้บริหารระดับต่าง ๆ ขององค์กรมีหน้าที่ส�ำคัญ คือ การวางแผน โดยผู้บริหารระดับสูง      
เป็นผู้ก�ำหนดทิศทางขององค์กร หรือที่เรียกว่าวิสัยทัศน์ เพื่อเป็นแนวทางให้ทุกหน่วยงานด�ำเนินการ
เพื่อไปสู่ทิศทางเดียวกันในการบรรลุวิสัยทัศน์นั้นผู้บริหารจ�ำเป็นต้องวางเป้าหมายและวางแผนกลยุทธ์
ซึ่งเป็นแผนระยะยาวที่องค์กรจะด�ำเนินการ ในแต่ละฝ่ายจะมีการวางแผนในหน่วยงานของตน เช่น  
ฝ่ายการตลาดจ�ำเป็นต้องมีการวางแผนการตลาด ฝ่ายผลิตวางแผนการผลิต ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์
วางแผนด้านทรัพยากรมนุษย์ ฝ่ายการเงินมีหน้าที่วางแผนด้านการเงิน ซึ่งแผนต่าง ๆ ต้องประสานกัน
เพื่อก่อให้เกิดพลังไปสู่เป้าหมายที่องค์กรคาดหวังไว้
	 ในการวางแผนนั้น ปัจจัยที่ส�ำคัญ  คือ การพยากรณ์ ผู้บริหารระดับสูงต้องมีการคาดการณ์ หรือ
พยากรณ์การเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี เศรษฐกิจ สังคม และการเปลี่ยนแปลงสภาวะแวดล้อม           
ต่าง ๆ ในอนาคตที่มีผลกระทบต่อองค์กร ฝ่ายตลาดมีความจ�ำเป็นต้องพยากรณ์ขนาดของตลาด  
(Market Size) พยากรณ์อุปสงค์รวมของสินค้า/บริการ พยากรณ์พฤติกรรมผู้บริโภค เพื่อมาเป็น          
ปัจจัยในการวางแผนการตลาด ฝ่ายผลิตน�ำข้อมูลฝ่ายตลาดมาประกอบการวางแผนฝ่ายผลิต ส�ำหรับ
พยากรณ์ด้านการผลิต จะพยากรณ์ด้านราคาของวัตถุดิบ พยากรณ์การเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี
การผลิต เป็นต้น ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์มีหน้าที่วางแผนด้านทรัพยากรมนุษย์ ดังนั้น มีความจ�ำเป็นต้อง
พยากรณ์จ�ำนวนของทรัพยากรมนุษย์ในสาขาต่าง ๆ ส�ำหรับฝ่ายการเงินจะพยากรณ์กระแสเงินสด         
รับจ่าย พยากรณ์การเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน อัตราดอกเบี้ย เพื่อวางแผนการจัดการด้าน
การเงินให้เหมาะสม
	 ดังนั้น จะเห็นว่าไม่ว่าจะบริหารฝ่ายใดในองค์กร สิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ คือ การวางแผนและการ
พยากรณ์ทางธุรกิจ
1
ภาพรวมการพยากรณ์
และการวางแผนธุรกิจ
2
1.2	 ความสัมพันธ์ระหว่างการวางแผนและการพยากรณ์ทางธุรกิจ
1.2.1 ความสัมพันธ์ระหว่างระดับการบริหารกับการพยากรณ์
	 การวางแผน คือ การก�ำหนดอนาคตขององค์กรที่ต้องการและเลือกกลยุทธ์เพื่อไปสู่เป้าหมาย      
ที่ต้องการ ดังนั้น การวางแผนก็ถือเสมือนหนึ่งคือการควบคุมอนาคตของกิจการ ส่วนการพยากรณ์          
คือ การคาดการณ์ว่าอะไรจะเกิดขึ้นในอนาคต เช่น การพยากรณ์ด้านเศรษฐกิจ การพยากรณ์การ
เปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี ดังนั้น ความแตกต่างกันของการวางแผนและการพยากรณ์ คือ การวางแผน
เป็นสิ่งที่ผู้วางแผนต้องการให้เกิด ซึ่งขึ้นกับการตัดสินใจของผู้วางแผนที่เลือกเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
ส่วนการพยากรณ์ไม่สามารถเป็นสิ่งที่ควบคุมได้ เป็นการคาดการณ์สิ่งที่จะเกิด แล้วผู้วางแผนก็น�ำ            
ผลการพยากรณ์มาวางแผนเพื่อสามารถจัดการอนาคตให้ดีที่สุด
	 องค์กรจะมีการแบ่งระดับของการบริหาร โดยปกติจะแบ่งระดับได้ดังนี้ ผู้บริหารระดับสูง              
ผู้บริหารระดับกลาง ผู้บริหารระดับต้น และพนักงานปฏิบัติการ
	 ผู้บริหารระดับต่าง ๆ จะมีบทบาทหน้าที่ในความรับผิดชอบและการตัดสินใจที่แตกต่างกัน ดัง
แสดงในรูปที่ 1.1
	 การวางแผน	 การพยากรณ์		 การตัดสินใจ
แผนกลยุทธ์	 การพยากรณ์ระยะยาว	 ระดับ	 ก�ำหนดทิศทาง	
(Strategic Plan)	 3-20 ปี	 สูง	 เป้าหมายองค์กร
แผนปฏิบัติการแต่ละฝ่าย    การพยากรณ์ระยะกลาง	 	 ส่วนแบ่งของตลาด
(Managerial/	 3 เดือน-3 ปี	 ระดับ	 จัดการบริหารด้านต่าง ๆ
Functional Plan)	 	 กลาง	 เช่น การตลาด การผลิต
	 	 	 ทรัพยากรมนุษย์ การเงิน
แผนด�ำเนินการ	 การพยากรณ์ระยะสั้น	 	 จัดการและควบคุมระดับ
(Action Plan)	 1 เดือน-2 ปี	 ระดับ	 ปฏิบัติการ เช่น
วางแผนรายเดือน/	 	 ต้น	 การกระจายสินค้า
รายสัปดาห์	 	 	 ด�ำเนินการผลิต
ควบคุมการ	 การพยากรณ์ระยะสั้นมาก	 พนักงาน	 ควบคุม ด�ำเนินการ
ปฏิบัติงาน	 1 วัน-1 เดือน	 	 จัดซื้อ จดบันทึก
รูปที่ 1.1 ความสัมพันธ์ของการวางแผน การพยากรณ์ และการตัดสินใจ
3
	 จากรูป ผู้บริหารระดับสูง มีหน้าที่รับผิดชอบด้านการวางแผนกลยุทธ์ขององค์กร การพยากรณ์
เพื่อน�ำไปใช้ในการวางแผนกลยุทธ์ คือ การพยากรณ์ระยะยาว 3-20 ปี ผู้บริหารระดับสูงต้องตัดสินใจ
ในการก�ำหนดทิศทางเป้าหมายขององค์กร ซึ่งปกติองค์กรจะมีการก�ำหนดเป้าหมายด้านก�ำไร ส่วน   
แบ่งของตลาด เป็นต้น
	 ผู้บริหารระดับกลาง มีหน้าที่วางแผนในหน่วยงานของตน เช่น ผู้จัดการด้านการตลาดก็ท�ำ        
หน้าที่วางแผนการตลาด ผู้จัดการฝ่ายผลิตท�ำหน้าที่วางแผนการผลิต การพยากรณ์ที่น�ำไปประกอบ   
การวางแผน คือ การพยากรณ์ระยะกลาง ได้แก่ การพยากรณ์ระยะ 3 เดือน-3 ปี ซึ่งการตัดสินใจ          
ในการวางแผนการตลาด ก็จะเกี่ยวข้องกับกลยุทธ์ด้านการตลาดต่าง ๆ ได้แก่ ด้านการขยายสาขา        
การส่งเสริมการขาย
	 ผู้บริหารระดับต้นจะวางแผนเพื่อน�ำไปสู่การปฏิบัติ(ActionPlan)เพื่อเป็นการจัดสรรทรัพยากร
ให้มีประสิทธิภาพ การพยากรณ์จะเป็นการพยากรณ์ระยะสั้น คือ 1 เดือน-2 ปี เป็นต้น
	 ส่วนพนักงานจะเน้นปฏิบัติงานในหน้าที่งาน การพยากรณ์ที่ใช้จะเป็นระยะสั้นมาก 1 วัน-1  
เดือน การตัดสินใจที่เกี่ยวข้องกับการจัดซื้อ การจดบันทึกรายการ การจัดส่งสินค้าไปยังร้านค้าต่าง ๆ
เป็นต้น
	 ดังนั้น จะเห็นว่าการวางแผน การพยากรณ์ และการตัดสินใจ มีลักษณะส�ำคัญที่สรุปดังนี้
	 การบริหารระดับล่าง มีลักษณะของการวางแผน การพยากรณ์ และการตัดสินใจในลักษณะ
	 1.	 ไม่ใช่เป็นการวางแผนกลยุทธ์
	 2. 	ความเกี่ยวข้องของผู้บริหารระดับสูงลดลง
	 3.	 ระยะเวลาของการตัดสินใจลดลง
	 4.	 ระยะเวลาของการพยากรณ์สั้นลง
	 5. 	การตัดสินใจและการพยากรณ์มีลักษณะเป็นโปรแกรมแน่ชัด ไม่คลุมเครือ
	 6. 	รายละเอียดของการท�ำงานเพิ่มขึ้น
	 7. 	ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจที่ซ�้ำ ๆ กัน
1.2.2 ความสัมพันธ์ระหว่างการพยากรณ์ การวางแผน และผลการด�ำเนินงาน
	
	 บทบาทส�ำคัญของผู้บริหารที่จะวัดความส�ำเร็จในการบริหาร คือ การบริหารองค์กรให้มีผล      
การด�ำเนินงานที่ดีขึ้นกว่าอดีตและดีกว่าคู่แข่งในอุตสาหกรรม การพยากรณ์และการวางแผนจะเป็น         
เครื่องมือที่ช่วยให้ผู้บริหารสามารถคาดการณ์ผลการด�ำเนินงานในอนาคตได้ โดยการคาดการณ์        
สภาวะการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ที่มีผลกระทบต่อธุรกิจ วางแผนกลยุทธ์และปฏิบัติการเพื่อให้       
องค์กรมีข้อได้เปรียบด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน รูปที่ 1.2 จะแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของการ      
พยากรณ์ การวางแผน และการคาดการณ์ผลการด�ำเนินงานของธุรกิจในอนาคต
4
	 จากรูปที่ 1.2 องค์กรมีการวางแผนทั้งระยะสั้นและระยะยาว การพยากรณ์ที่ส�ำคัญทางธุรกิจ       
คือ การพยากรณ์ความต้องการสินค้าและบริการ (Market Demand) ทั้งระยะสั้นและระยะยาว            
เพื่อเป็นปัจจัยในการวางแผนระยะสั้นและระยะยาว จากการพยากรณ์ความต้องการสินค้าระยะสั้น         
ผู้บริหารต้องมาทบทวนกลยุทธ์การตลาดที่ใช้ในอดีต เพื่อศึกษาจุดแข็งและจุดอ่อนของกลยุทธ์เมื่อ
เปรียบเทียบคู่แข่ง จัดท�ำแผนการตลาด ซึ่งแผนการตลาดจะเกี่ยวข้องกับการคาดการณ์รายรับและ    
รูปที่ 1.2 บทบาทของการพยากรณ์และการวางแผน
	การพยากรณ์  	 การพยากรณ์
	 การขาย    	 การขาย
	 ระยะสั้น     	 ระยะยาว
ประเมินกลยุทธ์ทางการตลาด
ในอดีตและสภาวะแวดล้อม
ประมาณการ
รายรับ
ประมาณการ
รายรับ
งบประมาณรายจ่าย
ทางการตลาด
วางแผนการตลาด
โดยการเปลี่ยนแปลงกลยุทธ์
ทางการตลาดให้เหมาะสม
การวางแผนด้านการผลิต
การวางแผนด้านทรัพยากรมนุษย์
การวางแผนด้านการเงิน
การวางแผนด้านการบริหารจัดการ
การ
วางแผน
บริษัท
การวิจัย
และ
พัฒนา
• สินค้าใหม่
• ธุรกิจใหม่
• เทคโนโลยีใหม่
งบประมาณ
เงินทุน
ประมาณการ
งบประมาณเงินสด
การลงทุน โรงงาน
ทางด้านเทคโนโลยี
และก�ำลังผลิต ฯลฯ
ประมาณการ
งบการเงิน
	 • งบก�ำไรขาดทุน
	 • งบแสดงฐานะกิจการ
5
รายจ่ายด้านการตลาด จึงจ�ำเป็นต้องจัดท�ำงบประมาณรายจ่ายด้านการตลาดและประมาณการ        
รายรับ จากแผนการตลาดก็จะส่งต่อให้ฝ่ายต่าง ๆ ในองค์กร เช่น ฝ่ายผลิต ฝ่ายจัดซื้อ ฝ่ายทรัพยากร
มนุษย์ เพื่อจัดท�ำแผนงานในฝ่ายของตน รวมทั้งจัดท�ำงบประมาณรายจ่ายต่าง ๆ
	 การพยากรณ์การขายระยะยาวในอนาคต อาจมีการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี สภาวะ               
แวดล้อมต่าง ๆ พฤติกรรมผู้บริโภค การแข่งขันในอุตสาหกรรม ซึ่งข้อมูลดังกล่าวจะเป็นปัจจัยใน           
การวางแผนระยะยาว องค์กรจะต้องมีการวิจัยและพัฒนา เพื่อหาลู่ทางการลงทุนธุรกิจ การออก      
ผลิตภัณฑ์ใหม่ การขยายตลาด การตัดสินใจดังกล่าวจ�ำเป็นต้องมีการศึกษาความเป็นไปได้ของ        
โครงการ (Feasibility Study) เสียก่อนจึงจะศึกษาความเป็นไปได้ด้านการตลาด ทางด้านเทคโนโลยี
การจัดการและการเงิน คือ การท�ำงบประมาณเงินทุน (Capital Budgeting) เพื่อดูผลตอบแทนของ
โครงการ เป็นผลลัพธ์จากประมาณการกระแสเงินสดเข้าและออกของโครงการ
	 ดังนั้น แผนระยะสั้นและระยะยาวจะถูกจัดท�ำเป็นแผนที่เป็นตัวเงิน คือ การจัดท�ำประมาณการ
งบกระแสเงินสด และประมาณการงบการเงิน ได้แก่ งบก�ำไรขาดทุนและงบแสดงฐานะของกิจการ  
ท�ำให้องค์กรสามารถประเมินผลการด�ำเนินงาน ถ้าผลลัพธ์ที่คาดว่าจะเป็นยังไม่เป็นที่ยอมรับของ             
ผู้บริหารและผู้ที่เกี่ยวข้องกับองค์กร (Stakeholders) อื่น ๆ ซึ่งได้แก่ ผู้ถือหุ้น นักลงทุน ก็อาจกลับไป
ปรับปรุงแผนงานต่าง ๆ เพื่อให้ผลการด�ำเนินงานไปสู่เป้าหมายและวิสัยทัศน์ที่วางไว้
1.2.3 อุปสงค์อิสระและอุปสงค์ตาม (Independent & Dependent Demand)
	 การพยากรณ์ในองค์กรนั้น การพยากรณ์ของแต่ละหน่วยงานไม่ได้เป็นอิสระต่อกันทั้งหมด         
ผลของการพยากรณ์ของหน่วยงานหนึ่ง อาจเป็นปัจจัยในการคาดการณ์ความต้องการของอีกหน่วยงาน
หนึ่ง ดังนั้น การพยากรณ์ความต้องการของหน่วยงานที่เป็นจุดเริ่มต้นที่เป็นการพยากรณ์ เรียกว่า      
อุปสงค์อิสระ (Independent Demand) และการพยากรณ์/คาดการณ์ความต้องการที่ขึ้นกับการ
พยากรณ์ของหน่วยงานอื่น ๆ เรียกว่า อุปสงค์ตาม (Dependent Demand)
	 หน่วยงานในองค์กรหน่วยงานหลักที่พยากรณ์อุปสงค์อิสระเป็นหน่วยใดขึ้นกับแนวคิดทาง        
ธุรกิจว่าจะเน้นลูกค้าเป็นหลัก (Consumer Oriented หรือ Market Oriented) หรือเน้นด้านการ     
ผลิต (Production Oriented) ซึ่งในปัจจุบันแนวคิดจะเน้นที่ลูกค้าหรือการตลาดเป็นหลัก ดังนั้น          
การพยากรณ์อุปสงค์ของตลาด (Market Demand) ส่วนใหญ่จะเป็นการพยากรณ์ที่เรียกว่าเป็น         
อุปสงค์อิสระ (Independent Demand) เมื่อพยากรณ์ความต้องการได้แล้ว ก็จะเป็นปัจจัย (Input)
ที่ใช้ในการพยากรณ์ของฝ่ายอื่น ๆ การพยากรณ์ของฝ่ายอื่น ๆ เรียกว่า อุปสงค์ตาม (Dependent   
Demand)
6
	 จากตารางที่ 1.1 องค์กรที่เป็นอุตสาหกรรมท�ำการผลิต จ�ำเป็นต้องพยากรณ์อุปสงค์ของสินค้า
ก่อนซึ่งเป็นอุปสงค์อิสระจากอุปสงค์ของสินค้าที่จะน�ำไปคาดการณ์พยากรณ์ความต้องการของชิ้นส่วน
วัตถุดิบ ก�ำลังคน ซึ่งเรียกว่าเป็นอุปสงค์ตาม เป็นต้น
1.3	 ภาพรวมการพยากรณ์ทางธุรกิจ
​
	 การพยากรณ์ทางธุรกิจมีหลายวิธี เช่นเดียวกับหมอดูที่มีวิธีการท�ำนายพยากรณ์หลายวิธี โดย      
ใช้วิธีการดูลายมือ ดูไพ่ป๊อก ดูโหงวเฮ้ง เป็นต้น ซึ่งการพยากรณ์ก็ไม่ใช้ข้อมูลที่เป็นตัวเลขหรือใช้       
ข้อมูลเชิงคุณภาพ ในทางธุรกิจก็มีการคิดค้นและพัฒนาการพยากรณ์มาหลายวิธี เพื่อให้ได้เทคนิค         
การพยากรณ์ที่แม่นย�ำ ซึ่งความแม่นย�ำของแต่ละวิธีไม่คงที่แน่นอน เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว
ของสภาวะแวดล้อม อีกทั้งเป็นยุคของข้อมูลข่าวสารและกระแสของโลกาภิวัตน์ ซึ่งท�ำความยาก      
ล�ำบากในการพยากรณ์ทางธุรกิจเพิ่มขึ้น ดังนั้น การพยากรณ์ที่รวดเร็ว แม่นย�ำ และสามารถหา        
สัญญาณของการเปลี่ยนแปลง (Signal of Turning Point) จะท�ำให้ธุรกิจสามารถแก้ไขสถานการณ์
ฉกฉวยโอกาสในอนาคตได้ดี
ตารางที่ 1.1 อุปสงค์อิสระและอุปสงค์ตาม
	ชนิดขององค์กร	 การพยากรณ์อุปสงค์อิสระ	 การค�ำนวณหาอุปสงค์ตาม
อุตสาหกรรม	 อุปสงค์ของสินค้า	 • 	ความต้องการชิ้นส่วน/วัตถุดิบ
	 	 • 	ก�ำลังคน
ธุรกิจขายส่ง	 อุปสงค์ของสินค้า ณ ศูนย์กระจายสินค้า	 • 	ความต้องการสินค้าจากผู้จัดส่ง
ธุรกิจขายปลีก	 อุปสงค์ของสินค้า ณ ร้านค้าปลีก	 • 	ความต้องการสินค้า ณ
	 แต่ละแห่ง	 	 ศูนย์กระจายสินค้า
โรงพยาบาล	 พยากรณ์จ�ำนวนคนไข้	 • 	ความต้องการพยาบาล
	 	 	 จ�ำนวนเตียงคนไข้
มหาวิทยาลัย	 จ�ำนวนนิสิต	 • 	จ�ำนวนอาจารย์ ห้องเรียน
	 	 	 ห้องปฏิบัติการ
7
1.3.1 ประเภทของเทคนิคพยากรณ์
	 เทคนิคการพยากรณ์ มี 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
	 1.	 เทคนิคการพยากรณ์เชิงปริมาณ (Quantitative Forecasting Techniques)
	 2.	 เทคนิคการพยากรณ์เชิงคุณภาพ (Qualitative  Forecasting Techniques)
	 เทคนิคการพยากรณ์เชิงปริมาณ ประกอบด้วย 2 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ
	 เทคนิคอนุกรมเวลา (Time Series Techniques) ซึ่งได้แก่ เทคนิคค่าถัวเฉลี่ยเคลื่อนที่        
แบบต่าง ๆ และเทคนิคกลุ่ม พวกปรับเรียบเส้นโค้ง (Smoothing Techniques) ที่จะกล่าว                       
โดยละเอียดในบทที่ 4
	 เทคนิคความสัมพันธ์ของข้อมูล (Causal Models) ได้แก่ เทคนิคการวิเคราะห์การถดถอย
เชิงเดี่ยวแบบง่ายและแบบพหุคูณ ที่จะกล่าวในบทที่ 5
	 เทคนิคการพยากรณ์เชิงคุณภาพ
	 ในกรณีที่ไม่มีข้อมูล หรือกรณีที่การพยากรณ์ในอนาคตไกล ๆ ที่เชื่อว่าข้อมูลในอดีตไม่สามารถ
พยากรณ์ได้ดี เพราะสภาวะความไม่แน่นอนในอนาคต เทคนิคเชิงคุณภาพมีหลายวิธี ได้แก่ เทคนิค       
กลุ่มที่เป็นการพยากรณ์โดยใช้วิจารณญาณ (Subjective Forecasting Models) ได้แก่ เทคนิคที่ใช้
พนักงานท�ำการพยากรณ์ กลุ่มผู้บริหารพยากรณ์ หรือเทคนิคการส�ำรวจวิจัยทางการตลาด เทคนิค        
กลุ่มที่อธิบาย (Exploratory Forecasting Methods) ได้แก่ เทคนิค Scenario Analysis, Delphi,
Analogy เทคนิคกลุ่ม Normative Forecasting ได้แก่ Relevance Trees และเทคนิค S-Curve
Model ซึ่งจะกล่าวถึงการพยากรณ์เทคนิคเชิงคุณภาพในบทที่ 3
	 เนื่องจากมีเทคนิคพยากรณ์มากมาย ดังนั้น ในการพยากรณ์ทางธุรกิจจะน�ำเทคนิคประเภทใด     
ไปใช้ ซึ่งมีการก�ำหนดเกณฑ์ในการเลือกเทคนิคในการพยากรณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลและการเข้าถึง
ปัญหาในการพยากรณ์ รวมทั้งการรวมการพยากรณ์เข้าด้วยกัน ซึ่งจะกล่าวในบทที่ 2
	 ความสัมพันธ์และขั้นตอนการพยากรณ์และการวางแผนแสดงในรูปที่ 1.3 จากรูปจะเห็นว่า       
เริ่มจากการเลือกเทคนิคการพยากรณ์ อาจเลือกเทคนิคเชิงปริมาณ เทคนิคเชิงคุณภาพ หรือการรวม
เทคนิคเข้าด้วยกัน หลังจากนั้นจะท�ำการตรวจสอบความเหมาะสมของเทคนิค ถ้าเทคนิคเหมาะสม          
ก็น�ำไปพยากรณ์ ถ้าไม่เหมาะสมก็ปรับปรุงเลือกหาเทคนิคใหม่ ผลลัพธ์ที่ได้จากการพยากรณ์ก็จะ           
น�ำไปวางแผน
8
รูปที่ 1.3 ขั้นตอนเทคนิคพยากรณ์และการวางแผน
เทคนิคเชิงคุณภาพ
• 	พนักงานขายพยากรณ์
• 	วิจัยตลาด
• 	Delphi
• 	Scenario
• 	การพยากรณ์เทคโนโลยี    
	 ฯลฯ
เทคนิคเชิงปริมาณ
•	อนุกรมเวลา  (Time Series)
• 	ความสัมพันธ์ของข้อมูล (Causal)
รวมการพยากรณ์ (Combining)
เทคนิค
เหมาะสม
หรือไม่ ?ไม่ ไม่
เหมาะสม
พยากรณ์
การวางแผน
1.4	 ภาพรวมการวางแผนธุรกิจ
	 การวางแผนธุรกิจเป็นหน้าที่ของการจัดการ เป็นการวางทิศทางและกลยุทธ์เพื่ออนาคตของ
กิจการ การวางแผนที่ดีจะประกอบด้วย 3 ค�ำถามที่ผู้บริหารต้องตอบ คือ
	 1. 	ปัจจุบันธุรกิจของเราเป็นอย่างไร
	 การหาค�ำตอบดังกล่าวคือการวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมภายนอกอันได้แก่สภาวะทางเศรษฐกิจ
สังคม กฎหมาย เทคโนโลยี คู่แข่ง เพื่อศึกษาถึงโอกาสและอุปสรรคที่ธุรกิจจะเผชิญ อีกทั้งการ
9
วิเคราะห์สภาวะธุรกิจเพื่อศึกษาถึงจุดแข็งและจุดอ่อนขององค์กร ซึ่งการหาค�ำตอบดังกล่าว คือ          
การใช้เทคนิคที่เรียกว่า SWOT Analysis (Strengths, Weaknesses, Opportunities and Threats)
ซึ่งค�ำตอบที่ได้จะเป็นปัจจัยในการวางแผนต่อไป
	 2.	 อนาคตต้องการให้ธุรกิจของเราเป็นอย่างไร
	 ซึ่งเป็นบทบาทส�ำคัญของผู้บริหารที่จะต้องก�ำหนดทิศทางวิสัยทัศน์ ภารกิจ เป้าหมายของ        
บริษัท วิสัยทัศน์เป็นภาพที่ต้องการให้ธุรกิจของเราเป็นในอนาคต ภารกิจจะบอกถึงขอบข่ายที่ธุรกิจ      
จะเติบโตหรือด�ำเนินการ ส�ำหรับเป้าหมายและวัตถุประสงค์จะมีการก�ำหนดทั้งระยะสั้นและระยะ          
ยาว เพื่อสามารถวัดและประเมินความส�ำเร็จขององค์กรได้ในระยะเวลาต่าง ๆ ทั้งสั้นและยาว
	 3.	 ท�ำอย่างไรเราจึงจะไปสู่จุดที่เราต้องการ
	 ในขั้นตอนนี้คือ การวางแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการต่าง ๆ รวมทั้งงบประมาณที่เป็นแผนที่
เป็นตัวเงิน โดยที่กลยุทธ์และโครงการที่วางจะน�ำธุรกิจไปสู่อนาคตที่วางไว้ในข้อ 2
	 เมื่อวางแผนแล้ว หน้าที่ถัดไปของผู้บริหาร คือ การน�ำแผนไปปฏิบัติ (Implementation) แม้       
จะมีแผนดี แต่ไม่สามารถผลักดันให้น�ำไปปฏิบัติได้ก็เป็นความล้มเหลวขององค์กร ดังนั้น มีหลักการใน      
การน�ำแผนไปปฏิบัติให้มีประสิทธิผล อีกทั้งการควบคุมและการติดตามประเมินแผนจะกล่าวโดยใช้
เครื่องมือ BSC (Balanced Scorecard), KPI (Key Performance Indicator) และค่าอ้างอิง
(Benchmarking) ภาพรวมของกระบวนการวางแผนกลยุทธ์ดังที่กล่าวข้างต้นแสดงในรูปที่ 1.4
10
		 การน�ำแผนไปปฏิบัติ
	 	 	   	 •	 7S’s Model
	 	 	 Strategy Structure System
	 	 Staff Skill Style Shared Value
						 ปัจจุบันธุรกิจของเราเป็นอย่างไร
	 	 	 	 •	 การวิเคราะห์สภาวะแวดล้อม
	 	 •	 การวิเคราะห์การแข่งขัน
•	 การวิเคราะห์ธุรกิจ
						 อนาคตเราต้องการไปที่ใด
	 	 	 	 •	 ก�ำหนดวิสัยทัศน์
	 	 •	 ก�ำหนดภารกิจ
•	 ก�ำหนดเป้าหมายและวัตถุประสงค์
			 ท�ำอย่างไรเราจึงจะไปสู่จุดที่ต้องการได้
	 	 	 	 •	 วางแผนกลยุทธ์
	 	 •	 วางแผนธุรกิจ
•	 วางแผนปฏิบัติการ
รูปที่ 1.4 กระบวนการวางแผนกลยุทธ์
การติดตามและประเมินผล
การก�ำหนดดัชนีวัดความส�ำเร็จ(KPI)BSC
และค่าอ้างอิง(Benchmarking)
1.5	 ความจ�ำเป็นและความส�ำเร็จในการพยากรณ์และการวางแผน
	 การตัดสินใจจะสามารถฉกฉวยโอกาสหรือหลีกเลี่ยงปัญหาได้ถ้าเราทราบเหตุการณ์ในอนาคตได้
ล่วงหน้าอย่างแม่นย�ำ ดังนั้น การพยากรณ์/คาดการณ์ในอนาคตที่แม่นย�ำจะเป็นประโยชน์ต่อการ
วางแผนทางธุรกิจ เหตุผลความจ�ำเป็น/ประโยชน์ของการพยากรณ์และการวางแผนทางธุรกิจมีดังนี้
	 1. 	สามารถจัดสรรทรัพยากรได้อย่างเหมาะสม
	 2.	 เพิ่มประสิทธิภาพในการด�ำเนินงานของธุรกิจ
	 3. 	สามารถตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าได้
11
	 4. 	เพิ่มผลก�ำไรและผลตอบแทนให้ธุรกิจ
	 5. 	ลดความสูญเสียต่าง ๆ
	 6. 	เพิ่มการประสานการบริหารงานของฝ่ายต่าง ๆ ในองค์กร
	 การที่จะพยากรณ์ทางธุรกิจประสบความส�ำเร็จนั้นขึ้นกับ
	 1. 	การน�ำเทคโนโลยีไปช่วยในการพยากรณ์
	 2.	 วิเคราะห์สถานการณ์และตัวแปรด้วยความระมัดระวัง
	 3. 	มีระบบติดตามและประเมินผลการพยากรณ์ที่เหมาะสม
	 4. 	เข้าใจในลักษณะของการตัดสินใจที่การพยากรณ์จะน�ำไปเป็นส่วนประกอบการตัดสินใจ         
และการวางแผน
1.6	 บทส่งท้าย
	 ​สิ่งที่ได้เรียนในบทนี้คือ ภาพรวมของการพยากรณ์และการวางแผนธุรกิจ ซึ่งจะได้เห็นถึงความ
สัมพันธ์ของการพยากรณ์ การวางแผน และการตัดสินใจ นอกจากนั้นยังได้แสดงให้เห็นภาพรวมของ
เทคนิคพยากรณ์ทางธุรกิจอันได้แก่ เทคนิคเชิงปริมาณ และเทคนิคเชิงคุณภาพ กระบวนการขั้นตอน
การพยากรณ์ อีกทั้งได้กล่าวถึงกระบวนการวางแผนธุรกิจ ซึ่งจากบทนี้จะเป็นการน�ำไปสู่รายละเอียด
ของการศึกษาเรื่องการพยากรณ์ในบทต่อไป
สิ่งที่น่ารู้
กระบวนการวางแผนมีทั้งน�ำไปใช้ในกิจการและการวางแผนอุตสาหกรรม
	 การวางแผนและการพยากรณ์ภาคอุตสาหกรรมเป็นเรื่องส�ำคัญในการวางกลยุทธ์เพื่อเพิ่ม
ขีดความสามารถในการแข่งขัน ทางส�ำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมได้มีการวางแผนแม่บท
อุตสาหกรรม 14 อุตสาหกรรมหลักของประเทศ ได้แก่ อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรม       
เหล็ก อุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมปิโตรเคมี อุตสาหกรรมยาง อุตสาหกรรมเคมีภัณฑ์   
อุตสาหกรรมพลาสติก อุตสาหกรรมยา อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ อุตสาหกรรม           
เซรามิกส์และแก้ว อุตสาหกรรมรองเท้าและเครื่องหนัง อุตสาหกรรมไม้และเครื่องเรือน    
อุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ และอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม
	 ผู้สนใจดูรายละเอียดได้ที่ www.oie.go.th ซึ่งทางผู้เขียนและคณะฯ ได้มีบทบาทในการ
วางแผนแม่บทของอุตสาหกรรมไม้และเครื่องเรือน
12
แบบฝึกหัด
1. 	 ให้เลือกธุรกิจในกลุ่มอุตสาหกรรมบริการ แล้วท�ำการส�ำรวจถึงสภาพปัจจุบันของการพยากรณ์
	 และการวางแผนทางธุรกิจ รวมทั้งปัญหา อุปสรรคของการพยากรณ์และการวางแผน (ใช้
	 แบบฟอร์มการส�ำรวจในภาคผนวก)
2. 	 ค้นหาบทความเพื่อติดตามการพัฒนาของเทคนิคการพยากรณ์และการวางแผนให้แสดงความ
	 คิดเห็นถึงบทความนั้นๆ ในแง่ของการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงมีผลต่อเทคนิคการพยากรณ์
	 และการวางแผนในปัจจุบัน
3. 	 มีผู้กล่าวว่า สภาวะแวดล้อมเปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรง รวดเร็ว ท�ำให้การพยากรณ์ไม่แม่นย�ำ 
	 ดังนั้น ไม่มีความจ�ำเป็นต้องพยากรณ์ ให้วิจารณ์ค�ำกล่าวนี้
4. 	 การเรียนรู้เทคนิคการพยากรณ์และการวางแผนธุรกิจ มีความส�ำคัญและจ�ำเป็นอย่างไรต่อกลุ่ม
	 ต่าง ๆ ดังนี้
	 ก.	 กลุ่มนิสิตนักศึกษาสาขาบริหารธุรกิจ
	 ข.	 กลุ่มผู้บริหารระดับต่าง ๆ
	 ค.	 นักลงทุน
5. 	 ให้ยกตัวอย่างของอุปสงค์อิสระและอุปสงค์ตามของธุรกิจต่อไปนี้
	 ก.	 ร้านสะดวกซื้อ
	 ข.	 อุตสาหกรรมอาหารแปรรูป
	 ค.	 ธุรกิจโรงแรม
6. 	 อธิบายความสัมพันธ์ของการวางแผนและการพยากรณ์ทางธุรกิจ
7. 	 ระดับการบริหารมีความสัมพันธ์กับชนิดของแผนการพยากรณ์และการตัดสินใจอย่างไร
8. 	 การจัดท�ำแผนแม่บทอุตสาหกรรม ศึกษาเทคนิคพยากรณ์ที่ใช้ และวิเคราะห์ความสัมพันธ์
	 ของเทคนิคการพยากรณ์กับการวางแผน
9. 	 เปรียบเทียบจุดเด่น จุดด้อยของเทคนิคการพยากรณ์เชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ
13
บรรณานุกรม
อัจฉราจันทร์ฉาย.คู่มือการวางแผนกลยุทธ์/นโยบายธุรกิจ.พิมพ์ครั้งที่13.กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพ์
	 แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555.
Adams, Scott. The Dilbert Future: Thriving on Stupidity in the 21st
Century. New
	 York: Harper Collins, 1997.
Bowerman, Bruce L. and O’Connell, Richard T. Forecasting and Time Series: An
	 Applied Approach. 3rd
ed. California: Duxbury Press, 1993.
Hanke, John E. and Reitsch, Arthur G. Business Forecasting. 6th
ed. NJ: Prentice-Hall
	 International Inc., 1998.
Kaplan, R. S. and Norton, D. P. The Strategic Focused Organization. Boston: Harvard
	 Business School Press, 2001.
Makridakis, Spyros, Wheelwright, Steven C., and McGee, Victor E. Forecasting: Methods
	 and Applications. 2nd
ed. New York: John Wiley & Sons Inc., 1983.
Mintzberg, Henry. The Rise and Fall of Strategic Planning. New York: The Free Press,
	 1994.
Newbold, Paul and Bos, Theodore. Introductory Business & Economic Forecasting.
	 2nd
ed. Cincinnati. Ohio: South-Western Publishing Co., 1994.
Vernon-Wortzel, Heidi and Wortzel, Lawrence H. Strategic Management in Global
	 Economy. 3rd
ed. New York: John Wiley & Sons Inc., 1997.
http://www.oie.go.th

More Related Content

What's hot

ใบงานโครงงาน
ใบงานโครงงานใบงานโครงงาน
ใบงานโครงงานKrooIndy Csaru
 
Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)
Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)
Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)Thanaphat Tachaphan
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1guychaipk
 
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์Thanaphat Tachaphan
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุวิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุTutor Ferry
 
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิตบทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิตTeetut Tresirichod
 
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริงค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริงAon Narinchoti
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1Sivagon Soontong
 
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานSAKANAN ANANTASOOK
 
ใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วน
ใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วนใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วน
ใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วนkanjana2536
 
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานบทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานOrnkapat Bualom
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลkrurutsamee
 
เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์
เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์
เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์waranyuati
 
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1Manas Panjai
 
อัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละอัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละ8752584
 
การแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามการแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามAon Narinchoti
 

What's hot (20)

ใบงานโครงงาน
ใบงานโครงงานใบงานโครงงาน
ใบงานโครงงาน
 
Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)
Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)
Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)
 
กรด เบส 6
กรด เบส 6กรด เบส 6
กรด เบส 6
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
 
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
 
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุวิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ
 
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิตบทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
 
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริงค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
 
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
 
คิดเลขเร็วแข่งขันป.6
คิดเลขเร็วแข่งขันป.6คิดเลขเร็วแข่งขันป.6
คิดเลขเร็วแข่งขันป.6
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
 
ใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วน
ใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วนใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วน
ใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วน
 
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานบทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
 
เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์
เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์
เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์
 
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
 
อัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละอัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละ
 
การแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามการแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนาม
 

Viewers also liked

Reigniting Saffola Masala Oats
Reigniting Saffola Masala OatsReigniting Saffola Masala Oats
Reigniting Saffola Masala OatsRAHUL SINGH
 
Kelloggs Integrated Marketing Communication
Kelloggs Integrated Marketing CommunicationKelloggs Integrated Marketing Communication
Kelloggs Integrated Marketing CommunicationUdit Goel
 
Kellogg's final ppt
Kellogg's final pptKellogg's final ppt
Kellogg's final pptMonali Bhoir
 

Viewers also liked (7)

Kellogg's chocos
Kellogg's chocosKellogg's chocos
Kellogg's chocos
 
Reigniting Saffola Masala Oats
Reigniting Saffola Masala OatsReigniting Saffola Masala Oats
Reigniting Saffola Masala Oats
 
Kelloggs
KelloggsKelloggs
Kelloggs
 
Ppt on kellogg's
Ppt on kellogg'sPpt on kellogg's
Ppt on kellogg's
 
Kelloggs Integrated Marketing Communication
Kelloggs Integrated Marketing CommunicationKelloggs Integrated Marketing Communication
Kelloggs Integrated Marketing Communication
 
Kellogg's
Kellogg'sKellogg's
Kellogg's
 
Kellogg's final ppt
Kellogg's final pptKellogg's final ppt
Kellogg's final ppt
 

Similar to 9789740331858

โครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (2)โครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (2)peeranat
 
โครงงาน โปรแกรมช วยต ดเกรด (1)
โครงงาน โปรแกรมช วยต ดเกรด (1)โครงงาน โปรแกรมช วยต ดเกรด (1)
โครงงาน โปรแกรมช วยต ดเกรด (1)Supamongkol Chomchuen
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5krunuy5
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5krunuy5
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5krunuy5
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5krunuy5
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5krunuy5
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...Nattapon
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
แบบทดสอบ เทคโน ม.3
แบบทดสอบ เทคโน ม.3แบบทดสอบ เทคโน ม.3
แบบทดสอบ เทคโน ม.3teerachon
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้นหลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้นApichaya Savetvijit
 
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุดแผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุดlookgade
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4krunuy5
 

Similar to 9789740331858 (20)

โครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (2)โครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
 
Front math m2 _2_
Front math m2 _2_Front math m2 _2_
Front math m2 _2_
 
Front math m2 _2_
Front math m2 _2_Front math m2 _2_
Front math m2 _2_
 
โครงงาน โปรแกรมช วยต ดเกรด (1)
โครงงาน โปรแกรมช วยต ดเกรด (1)โครงงาน โปรแกรมช วยต ดเกรด (1)
โครงงาน โปรแกรมช วยต ดเกรด (1)
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
 
111
111111
111
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
แบบทดสอบ เทคโน ม.3
แบบทดสอบ เทคโน ม.3แบบทดสอบ เทคโน ม.3
แบบทดสอบ เทคโน ม.3
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
ประเมินค่างาน สุรินทร์
ประเมินค่างาน สุรินทร์ประเมินค่างาน สุรินทร์
ประเมินค่างาน สุรินทร์
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้นหลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
 
Research report2
Research report2Research report2
Research report2
 
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุดแผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 

More from CUPress

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737CUPress
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560CUPress
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478CUPress
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270CUPress
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102CUPress
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096CUPress
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072CUPress
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027CUPress
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914CUPress
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907CUPress
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686CUPress
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457CUPress
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440CUPress
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389CUPress
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280CUPress
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365CUPress
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303CUPress
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242CUPress
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235CUPress
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099CUPress
 

More from CUPress (20)

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
 

9789740331858

  • 1. ค�ำน�ำ หนังสือเทคนิคการพยากรณ์เพื่อการจัดการ ได้แต่งและเรียบเรียงเพื่อใช้ในการเรียนการสอน ในหลักสูตรบริหารธุรกิจ ทั้งระดับปริญญาตรีและปริญญาโท นอกจากนั้นหนังสือเล่มนี้ยังเหมาะกับ ผู้ที่เรียนในหลักสูตรหรือวิชาที่เกี่ยวข้อง เช่น เทคนิคการพยากรณ์ทางสถิติ การศึกษาความเป็นไปได้ ของโครงการการจัดท�ำแผนธุรกิจ เพราะการพยากรณ์เป็นส่วนหนึ่งของการน�ำไปใช้วางแผน ไม่ว่าการ ท�ำแผนกลยุทธ์หรือแผนธุรกิจ คาดหวังว่าหนังสือเล่มนี้นอกจากเป็นประโยชน์ต่อนิสิตนักศึกษาแล้ว ภาคธุรกิจก็สามารถน�ำ แนวทางไปพยากรณ์เพื่อวางแผนธุรกิจอย่างมีแนวทางและหลักการ หากมีข้อเสนอแนะกรุณาส่งมาที่ ศาสตราจารย์กิตติคุณ ร้อยโทหญิง ดร.อัจฉรา จันทร์ฉาย หลักสูตร Technopreneurship & Innovation Management จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หรือที่ E-mail: achandrachai@gmail.com ศาสตราจารย์กิตติคุณ ร้อยโทหญิง ดร.อัจฉรา จันทร์ฉาย มกราคม 2557
  • 2. สารบัญ หน้า ค�ำน�ำ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญรูป บทที่ 1 ภาพรวมการพยากรณ์และการวางแผนธุรกิจ 1 1.1 บทน�ำ 1 1.2 ความสัมพันธ์ระหว่างการวางแผนและการพยากรณ์ทางธุรกิจ 2 1.2.1 ความสัมพันธ์ระหว่างระดับการบริหารกับการพยากรณ์ 2 1.2.2 ความสัมพันธ์ระหว่างการพยากรณ์ การวางแผน และผลการด�ำเนินงาน 3 1.2.3 อุปสงค์อิสระและอุปสงค์ตาม (Independent & Dependent Demand) 5 1.3 ภาพรวมการพยากรณ์ทางธุรกิจ 6 1.3.1 ประเภทของเทคนิคพยากรณ์ 7 1.4 ภาพรวมการวางแผนธุรกิจ 8 1.5 ความจ�ำเป็นและความส�ำเร็จในการพยากรณ์และการวางแผน 10 1.6 บทส่งท้าย 11 แบบฝึกหัด 12 บทที่ 2 การพยากรณ์ทางธุรกิจ 15 2.1 บทน�ำ 15 2.2 เกณฑ์ในการเลือกเทคนิคการพยากรณ์ 16 2.2.1 ระยะเวลาในการพยากรณ์ไปข้างหน้า 16 2.2.2 ลักษณะของข้อมูล 17 2.2.3 การวัดความแม่นย�ำในการพยากรณ์ 19 2.3 การเปรียบเทียบเทคนิคการพยากรณ์กับเกณฑ์การเลือกเทคนิค 28 2.4 ชนิดของเทคนิคการพยากรณ์กับวัฏจักรของสินค้า 32 2.5 การวิเคราะห์ลักษณะข้อมูล 34 2.6 การรวมเทคนิคพยากรณ์ (Combining Forecast) 37
  • 3. 2.7 นวัตกรรมและอนาคตของการพยากรณ์ 41 2.8 โปรแกรมส�ำเร็จรูปเพื่อการพยากรณ์ 42 2.9 บทส่งท้าย 44 แบบฝึกหัด 46 บทที่ 3 เทคนิคการพยากรณ์เชิงคุณภาพ 51 3.1 บทน�ำ 51 3.2 เทคนิคที่ใช้วิจารณญาณ (Subjective Assessment Methods) 53 3.2.1 พนักงานขายท�ำการพยากรณ์ (Salesforce Estimate) 53 3.2.2 กลุ่มผู้บริหารท�ำการพยากรณ์ (Jury of Executive Opinion) 54 3.2.3 วิธีการส�ำรวจหรือการวิจัยตลาดหรือธุรกิจ 55 3.2.4 การทดสอบตลาด (Test Market) 56 3.3 วิธีการค้นหา (Exploratory) 57 3.3.1 Scenario Analysis 57 3.3.2 Delphi 59 3.3.3 Cross-Impact Analysis 62 3.3.4 Analogy 63 3.4 เทคนิคด้าน Normative 68 3.4.1 Relevance Trees 68 3.4.2 System Dynamic 68 3.5 บทส่งท้าย 70 แบบฝึกหัด 71 บทที่ 4 การพยากรณ์เทคนิคเชิงปริมาณ : เทคนิคอนุกรมเวลา 73 4.1 บทน�ำ 73 4.2 เทคนิคค่าถัวเฉลี่ยเคลื่อนที่แบบง่าย (Single Moving Average) 76 4.3 เทคนิคค่าถัวเฉลี่ยเคลื่อนที่แบบถ่วงน�้ำหนัก (Weighted Moving Average) 82 4.4 เทคนิคค่าถัวเฉลี่ยเคลื่อนที่แบบเส้นตรง (Linear Moving Average) 85 4.5 Single Exponential Smoothing 88 4.6 Adaptive-Response-Rate: Single Exponential Smoothing 91 4.7 Double Exponential Smoothing-Brown’s One-Parameter Linear Model หรือ Linear Exponential Smoothing 94
  • 4. 4.8 Double Exponential Smoothing: Holt’s Two-Parameter Method 97 4.9 Triple Exponential Smoothing-Brown’s One-Parameter Quadratic Method 100 4.10 Winters’ Three–Parameter Trend & Seasonality Method (Winters) 104 4.11 Classical Decomposition Method 108 4.12 บทส่งท้าย 117 แบบฝึกหัด 119 บทที่ 5 การพยากรณ์เทคนิคเชิงปริมาณ : เทคนิคความสัมพันธ์ของข้อมูล 127 5.1 บทน�ำ 127 5.2 วิธีการถดถอยเชิงเดี่ยว (Simple Regression Model) 129 5.3 วิธีการถดถอยเชิงพหุคูณ (Multiple Regression Method) 152 5.4 Multicollinearity 156 5.5 ตัวแบบการถดถอยกับตัวแปรหุ่น (Dummy) 158 5.6 รูปแบบความสัมพันธ์ของตัวแปรแบบต่าง ๆ และการแปลงความสัมพันธ์ 162 5.7 ประเด็นของการวิเคราะห์การถดถอย 170 5.8 บทส่งท้าย 176 แบบฝึกหัด 177 บทที่ 6 ระบบข้อมูลเพื่อการพยากรณ์ 185 6.1 บทน�ำ 185 6.2 ข้อค�ำนึงเกี่ยวกับข้อมูลเพื่อการพยากรณ์ 185 6.3 การจัดหาข้อมูล 187 6.3.1 แหล่งที่มาของข้อมูล 187 6.3.2 จ�ำนวนข้อมูลที่ใช้ในการพยากรณ์ 188 6.4 การจัดเตรียมข้อมูล 189 6.4.1 ปัญหาที่เกี่ยวกับการรวบรวมข้อมูล 189 6.4.2 การปรับปรุงข้อมูลเพื่อการพยากรณ์ 191 6.5 บทส่งท้าย 193 แบบฝึกหัด 194
  • 5. บทที่ 7 การพยากรณ์และการวางแผนภาคปฏิบัติ 197 7.1 บทน�ำ 197 7.2 ทิศทางการบริหารเชิงกลยุทธ์ของบริษัทในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2539-2540 197 7.3 ผลการส�ำรวจเทคนิคการพยากรณ์และการวางแผนปี 2541 201 7.4 การน�ำเทคนิคเชิงปริมาณในการพยากรณ์ทางธุรกิจ 205 7.4.1 การน�ำไปใช้พยากรณ์ปริมาณการขนส่ง 205 7.4.2 การน�ำไปใช้พยากรณ์จ�ำนวนห้องพักของโรงแรม 206 7.5 การเปรียบเทียบความแม่นย�ำโดย M-Competition 208 7.6 การพยากรณ์และการวางแผนในสภาวการณ์ไม่แน่นอน 211 7.7 บทส่งท้าย 214 แบบฝึกหัด 215 ภาคผนวก 1 แบบส�ำรวจการพยากรณ์และการวางแผนธุรกิจ 217 ประวัติผู้เขียน 225
  • 6. สารบัญตาราง หน้า ตารางที่ 1.1 อุปสงค์อิสระและอุปสงค์ตาม 6 ตารางที่ 2.1 การค�ำนวณความแม่นย�ำในการพยากรณ์ 21 ตารางที่ 2.2 การค�ำนวณค่า Theil’s U-Statistic 24 ตารางที่ 2.3 การค�ำนวณค่า Durbin-Watson’s d-statistic 26 ตารางที่ 2.4 การค�ำนวณหา Autocorrelation ของความผิดพลาด 27 ตารางที่ 2.5 การเปรียบเทียบเทคนิคการพยากรณ์ 30 ตารางที่ 4.1 การพยากรณ์โดยเทคนิคค่าถัวเฉลี่ยเคลื่อนที่แบบง่าย 77 ตารางที่ 4.2 การพยากรณ์โดยเทคนิคค่าถัวเฉลี่ยเคลื่อนที่แบบง่าย กรณีข้อมูลเป็นขั้นบันได 79 ตารางที่ 4.3 การพยากรณ์โดยเทคนิคค่าถัวเฉลี่ยเคลื่อนที่แบบง่าย กรณีข้อมูลเป็นแนวโน้ม เส้นตรง 81 ตารางที่ 4.4 การพยากรณ์โดยเทคนิคค่าถัวเฉลี่ยเคลื่อนที่แบบถ่วงน�้ำหนัก 83 ตารางที่ 4.5 การพยากรณ์โดยเทคนิคค่าถัวเฉลี่ยเคลื่อนที่แบบเส้นตรง ให้ n = 4 86 ตารางที่ 4.6 การพยากรณ์โดยเทคนิค Single Exponential Smoothing ให้ α = 0.1, α = 0.9 89 ตารางที่ 4.7 การพยากรณ์โดยเทคนิค Adaptive-Response-Rate: Single Exponential Smoothing 92 ตารางที่ 4.8 การพยากรณ์โดยเทคนิค Double Exponential Smoothing ให้ α = 0.1 96 ตารางที่ 4.9 การพยากรณ์โดยเทคนิค Holt’s Two-Parameter ให้ α = 0.2, δ = 0.3 99 ตารางที่ 4.10 การพยากรณ์โดยเทคนิค Triple Exponential Smoothing ให้ α = 0.1 102 ตารางที่ 4.11 การพยากรณ์โดยเทคนิค Winters ข้อมูลรายไตรมาส L = 4, ให้ α = 0.1, β = 0.1, γ = 0.1 107 ตารางที่ 4.12 การพยากรณ์โดยเทคนิค Multiplicative Decomposition 111 ตารางที่ 5.1 ตัวอย่างตัวแปรที่ใช้พยากรณ์ทางธุรกิจ 128 ตารางที่ 6.1 จ�ำนวนข้อมูลที่ใช้ในการพยากรณ์แต่ละตัวแบบ 189 ตารางที่ 7.1 การเปรียบเทียบความแม่นย�ำโดย M-Competition 209 ตารางที่ 7.2 อันดับความแม่นย�ำของเทคนิคพยากรณ์ 210
  • 7. สารบัญรูป หน้า รูปที่ 1.1 ความสัมพันธ์ของการวางแผน การพยากรณ์ และการตัดสินใจ 2 รูปที่ 1.2 บทบาทของการพยากรณ์และการวางแผน 4 รูปที่ 1.3 ขั้นตอนเทคนิคพยากรณ์และการวางแผน 8 รูปที่ 1.4 กระบวนการวางแผนกลยุทธ์ 10 รูปที่ 2.1 ข้อมูลที่สม�่ำเสมอในแนวนอน 17 รูปที่ 2.2 ข้อมูลที่เป็นฤดูกาล 17 รูปที่ 2.3 ข้อมูลที่เป็นวัฏจักร 18 รูปที่ 2.4 ข้อมูลที่เป็นแนวโน้ม 18 รูปที่ 2.5 ชนิดของเทคนิคการพยากรณ์ในระยะต่าง ๆ ของวัฏจักรสินค้า (Product’s Life Cycle) 33 รูปที่ 2.6 ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูลดิบด้วยเทคนิค Autocorrelation 35 รูปที่ 2.7 แสดงให้เห็นข้อมูลดิบเป็นข้อมูลราบเรียบ 35 รูปที่ 2.8 ข้อมูลก่อนท�ำ Difference และหลังท�ำ Difference 36 รูปที่ 2.9 ข้อมูลการท�ำ Difference 2 ครั้ง 37 รูปที่ 3.1 ตัวอย่างการสร้าง Scenario ของตลาดสินค้าอุปโภค-บริโภค 58 รูปที่ 3.2 การพัฒนาเทคโนโลยีใหม่เพื่อทดแทนเทคโนโลยีเก่า 66 รูปที่ 3.3 แสดงให้เห็นเหตุการณ์ส�ำคัญในประวัติศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศ 67 รูปที่ 3.4 ตัวอย่างการน�ำ Relevance Trees ไปใช้ในการพัฒนาหลักสูตร MBA-Executive 69 รูปที่ 4.1 ขั้นตอนของเทคนิคปรับให้เรียบเส้นโค้ง (Smoothing) 74 รูปที่ 4.2 ลักษณะข้อมูลและเทคนิคการพยากรณ์ 76 รูปที่ 4.3 การพยากรณ์โดยเทคนิคค่าถัวเฉลี่ยเคลื่อนที่แบบง่าย n = 3 และ n = 5 79 รูปที่ 4.4 ความไม่แม่นย�ำของเทคนิคค่าถัวเฉลี่ยเคลื่อนที่แบบง่าย เมื่อข้อมูลเป็นขั้นบันได 80 รูปที่ 4.5 ความไม่แม่นย�ำของเทคนิคค่าถัวเฉลี่ยเคลื่อนที่แบบง่าย เมื่อข้อมูลเป็นแนวโน้ม เส้นตรง 81 รูปที่ 4.6 การพยากรณ์โดยเทคนิคค่าถัวเฉลี่ยเคลื่อนที่แบบถ่วงน�้ำหนัก 84
  • 8. รูปที่ 4.7 การพยากรณ์โดยเทคนิคค่าถัวเฉลี่ยเคลื่อนที่แบบเส้นตรง (Linear Moving Average) 87 รูปที่ 4.8 การพยากรณ์โดยเทคนิค Single Exponential Smoothing 91 รูปที่ 4.9 การพยากรณ์โดยเทคนิค Adaptive 94 รูปที่ 4.10 การพยากรณ์โดยเทคนิค Linear Exponential Smoothing 97 รูปที่ 4.11 การพยากรณ์โดยเทคนิค Holt 100 รูปที่ 4.12 การพยากรณ์โดยเทคนิค Triple Exponential Smoothing 103 รูปที่ 4.13 การพยากรณ์โดยเทคนิค Winters 108 รูปที่ 4.14 การพยากรณ์โดยเทคนิค Decomposition 117 รูปที่ 4.15 การปรับค่าที่พยากรณ์จากเทคนิคอนุกรมเวลา 118 รูปที่ 5.1 รูปแบบความสัมพันธ์ของตัวแปร 163 รูปที่ 5.2 แสดงว่าตัวแปรไม่มีความสัมพันธ์เป็นเส้นตรง 174 รูปที่ 5.3 ค่า Variance ของความผิดพลาดคงที่ 174 รูปที่ 5.4 ค่า Variance ของความผิดพลาดไม่คงที่ 174 รูปที่ 5.5 ค่าความผิดพลาดมีความสัมพันธ์กับเวลา 175 รูปที่ 5.6 มีข้อมูลผิดปกติเกิดขึ้น (Outlier) 175
  • 9. บ ท ที่ 1.1 บทน�ำ บทบาทของผู้บริหารที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ คือ การวางแผน การน�ำแผนไปปฏิบัติ การติดตามและ ประเมินผล ผู้บริหารระดับต่าง ๆ ขององค์กรมีหน้าที่ส�ำคัญ คือ การวางแผน โดยผู้บริหารระดับสูง เป็นผู้ก�ำหนดทิศทางขององค์กร หรือที่เรียกว่าวิสัยทัศน์ เพื่อเป็นแนวทางให้ทุกหน่วยงานด�ำเนินการ เพื่อไปสู่ทิศทางเดียวกันในการบรรลุวิสัยทัศน์นั้นผู้บริหารจ�ำเป็นต้องวางเป้าหมายและวางแผนกลยุทธ์ ซึ่งเป็นแผนระยะยาวที่องค์กรจะด�ำเนินการ ในแต่ละฝ่ายจะมีการวางแผนในหน่วยงานของตน เช่น ฝ่ายการตลาดจ�ำเป็นต้องมีการวางแผนการตลาด ฝ่ายผลิตวางแผนการผลิต ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ วางแผนด้านทรัพยากรมนุษย์ ฝ่ายการเงินมีหน้าที่วางแผนด้านการเงิน ซึ่งแผนต่าง ๆ ต้องประสานกัน เพื่อก่อให้เกิดพลังไปสู่เป้าหมายที่องค์กรคาดหวังไว้ ในการวางแผนนั้น ปัจจัยที่ส�ำคัญ คือ การพยากรณ์ ผู้บริหารระดับสูงต้องมีการคาดการณ์ หรือ พยากรณ์การเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี เศรษฐกิจ สังคม และการเปลี่ยนแปลงสภาวะแวดล้อม ต่าง ๆ ในอนาคตที่มีผลกระทบต่อองค์กร ฝ่ายตลาดมีความจ�ำเป็นต้องพยากรณ์ขนาดของตลาด (Market Size) พยากรณ์อุปสงค์รวมของสินค้า/บริการ พยากรณ์พฤติกรรมผู้บริโภค เพื่อมาเป็น ปัจจัยในการวางแผนการตลาด ฝ่ายผลิตน�ำข้อมูลฝ่ายตลาดมาประกอบการวางแผนฝ่ายผลิต ส�ำหรับ พยากรณ์ด้านการผลิต จะพยากรณ์ด้านราคาของวัตถุดิบ พยากรณ์การเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี การผลิต เป็นต้น ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์มีหน้าที่วางแผนด้านทรัพยากรมนุษย์ ดังนั้น มีความจ�ำเป็นต้อง พยากรณ์จ�ำนวนของทรัพยากรมนุษย์ในสาขาต่าง ๆ ส�ำหรับฝ่ายการเงินจะพยากรณ์กระแสเงินสด รับจ่าย พยากรณ์การเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน อัตราดอกเบี้ย เพื่อวางแผนการจัดการด้าน การเงินให้เหมาะสม ดังนั้น จะเห็นว่าไม่ว่าจะบริหารฝ่ายใดในองค์กร สิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ คือ การวางแผนและการ พยากรณ์ทางธุรกิจ 1 ภาพรวมการพยากรณ์ และการวางแผนธุรกิจ
  • 10. 2 1.2 ความสัมพันธ์ระหว่างการวางแผนและการพยากรณ์ทางธุรกิจ 1.2.1 ความสัมพันธ์ระหว่างระดับการบริหารกับการพยากรณ์ การวางแผน คือ การก�ำหนดอนาคตขององค์กรที่ต้องการและเลือกกลยุทธ์เพื่อไปสู่เป้าหมาย ที่ต้องการ ดังนั้น การวางแผนก็ถือเสมือนหนึ่งคือการควบคุมอนาคตของกิจการ ส่วนการพยากรณ์ คือ การคาดการณ์ว่าอะไรจะเกิดขึ้นในอนาคต เช่น การพยากรณ์ด้านเศรษฐกิจ การพยากรณ์การ เปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี ดังนั้น ความแตกต่างกันของการวางแผนและการพยากรณ์ คือ การวางแผน เป็นสิ่งที่ผู้วางแผนต้องการให้เกิด ซึ่งขึ้นกับการตัดสินใจของผู้วางแผนที่เลือกเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ส่วนการพยากรณ์ไม่สามารถเป็นสิ่งที่ควบคุมได้ เป็นการคาดการณ์สิ่งที่จะเกิด แล้วผู้วางแผนก็น�ำ ผลการพยากรณ์มาวางแผนเพื่อสามารถจัดการอนาคตให้ดีที่สุด องค์กรจะมีการแบ่งระดับของการบริหาร โดยปกติจะแบ่งระดับได้ดังนี้ ผู้บริหารระดับสูง ผู้บริหารระดับกลาง ผู้บริหารระดับต้น และพนักงานปฏิบัติการ ผู้บริหารระดับต่าง ๆ จะมีบทบาทหน้าที่ในความรับผิดชอบและการตัดสินใจที่แตกต่างกัน ดัง แสดงในรูปที่ 1.1 การวางแผน การพยากรณ์ การตัดสินใจ แผนกลยุทธ์ การพยากรณ์ระยะยาว ระดับ ก�ำหนดทิศทาง (Strategic Plan) 3-20 ปี สูง เป้าหมายองค์กร แผนปฏิบัติการแต่ละฝ่าย การพยากรณ์ระยะกลาง ส่วนแบ่งของตลาด (Managerial/ 3 เดือน-3 ปี ระดับ จัดการบริหารด้านต่าง ๆ Functional Plan) กลาง เช่น การตลาด การผลิต ทรัพยากรมนุษย์ การเงิน แผนด�ำเนินการ การพยากรณ์ระยะสั้น จัดการและควบคุมระดับ (Action Plan) 1 เดือน-2 ปี ระดับ ปฏิบัติการ เช่น วางแผนรายเดือน/ ต้น การกระจายสินค้า รายสัปดาห์ ด�ำเนินการผลิต ควบคุมการ การพยากรณ์ระยะสั้นมาก พนักงาน ควบคุม ด�ำเนินการ ปฏิบัติงาน 1 วัน-1 เดือน จัดซื้อ จดบันทึก รูปที่ 1.1 ความสัมพันธ์ของการวางแผน การพยากรณ์ และการตัดสินใจ
  • 11. 3 จากรูป ผู้บริหารระดับสูง มีหน้าที่รับผิดชอบด้านการวางแผนกลยุทธ์ขององค์กร การพยากรณ์ เพื่อน�ำไปใช้ในการวางแผนกลยุทธ์ คือ การพยากรณ์ระยะยาว 3-20 ปี ผู้บริหารระดับสูงต้องตัดสินใจ ในการก�ำหนดทิศทางเป้าหมายขององค์กร ซึ่งปกติองค์กรจะมีการก�ำหนดเป้าหมายด้านก�ำไร ส่วน แบ่งของตลาด เป็นต้น ผู้บริหารระดับกลาง มีหน้าที่วางแผนในหน่วยงานของตน เช่น ผู้จัดการด้านการตลาดก็ท�ำ หน้าที่วางแผนการตลาด ผู้จัดการฝ่ายผลิตท�ำหน้าที่วางแผนการผลิต การพยากรณ์ที่น�ำไปประกอบ การวางแผน คือ การพยากรณ์ระยะกลาง ได้แก่ การพยากรณ์ระยะ 3 เดือน-3 ปี ซึ่งการตัดสินใจ ในการวางแผนการตลาด ก็จะเกี่ยวข้องกับกลยุทธ์ด้านการตลาดต่าง ๆ ได้แก่ ด้านการขยายสาขา การส่งเสริมการขาย ผู้บริหารระดับต้นจะวางแผนเพื่อน�ำไปสู่การปฏิบัติ(ActionPlan)เพื่อเป็นการจัดสรรทรัพยากร ให้มีประสิทธิภาพ การพยากรณ์จะเป็นการพยากรณ์ระยะสั้น คือ 1 เดือน-2 ปี เป็นต้น ส่วนพนักงานจะเน้นปฏิบัติงานในหน้าที่งาน การพยากรณ์ที่ใช้จะเป็นระยะสั้นมาก 1 วัน-1 เดือน การตัดสินใจที่เกี่ยวข้องกับการจัดซื้อ การจดบันทึกรายการ การจัดส่งสินค้าไปยังร้านค้าต่าง ๆ เป็นต้น ดังนั้น จะเห็นว่าการวางแผน การพยากรณ์ และการตัดสินใจ มีลักษณะส�ำคัญที่สรุปดังนี้ การบริหารระดับล่าง มีลักษณะของการวางแผน การพยากรณ์ และการตัดสินใจในลักษณะ 1. ไม่ใช่เป็นการวางแผนกลยุทธ์ 2. ความเกี่ยวข้องของผู้บริหารระดับสูงลดลง 3. ระยะเวลาของการตัดสินใจลดลง 4. ระยะเวลาของการพยากรณ์สั้นลง 5. การตัดสินใจและการพยากรณ์มีลักษณะเป็นโปรแกรมแน่ชัด ไม่คลุมเครือ 6. รายละเอียดของการท�ำงานเพิ่มขึ้น 7. ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจที่ซ�้ำ ๆ กัน 1.2.2 ความสัมพันธ์ระหว่างการพยากรณ์ การวางแผน และผลการด�ำเนินงาน บทบาทส�ำคัญของผู้บริหารที่จะวัดความส�ำเร็จในการบริหาร คือ การบริหารองค์กรให้มีผล การด�ำเนินงานที่ดีขึ้นกว่าอดีตและดีกว่าคู่แข่งในอุตสาหกรรม การพยากรณ์และการวางแผนจะเป็น เครื่องมือที่ช่วยให้ผู้บริหารสามารถคาดการณ์ผลการด�ำเนินงานในอนาคตได้ โดยการคาดการณ์ สภาวะการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ที่มีผลกระทบต่อธุรกิจ วางแผนกลยุทธ์และปฏิบัติการเพื่อให้ องค์กรมีข้อได้เปรียบด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน รูปที่ 1.2 จะแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของการ พยากรณ์ การวางแผน และการคาดการณ์ผลการด�ำเนินงานของธุรกิจในอนาคต
  • 12. 4 จากรูปที่ 1.2 องค์กรมีการวางแผนทั้งระยะสั้นและระยะยาว การพยากรณ์ที่ส�ำคัญทางธุรกิจ คือ การพยากรณ์ความต้องการสินค้าและบริการ (Market Demand) ทั้งระยะสั้นและระยะยาว เพื่อเป็นปัจจัยในการวางแผนระยะสั้นและระยะยาว จากการพยากรณ์ความต้องการสินค้าระยะสั้น ผู้บริหารต้องมาทบทวนกลยุทธ์การตลาดที่ใช้ในอดีต เพื่อศึกษาจุดแข็งและจุดอ่อนของกลยุทธ์เมื่อ เปรียบเทียบคู่แข่ง จัดท�ำแผนการตลาด ซึ่งแผนการตลาดจะเกี่ยวข้องกับการคาดการณ์รายรับและ รูปที่ 1.2 บทบาทของการพยากรณ์และการวางแผน การพยากรณ์ การพยากรณ์ การขาย การขาย ระยะสั้น ระยะยาว ประเมินกลยุทธ์ทางการตลาด ในอดีตและสภาวะแวดล้อม ประมาณการ รายรับ ประมาณการ รายรับ งบประมาณรายจ่าย ทางการตลาด วางแผนการตลาด โดยการเปลี่ยนแปลงกลยุทธ์ ทางการตลาดให้เหมาะสม การวางแผนด้านการผลิต การวางแผนด้านทรัพยากรมนุษย์ การวางแผนด้านการเงิน การวางแผนด้านการบริหารจัดการ การ วางแผน บริษัท การวิจัย และ พัฒนา • สินค้าใหม่ • ธุรกิจใหม่ • เทคโนโลยีใหม่ งบประมาณ เงินทุน ประมาณการ งบประมาณเงินสด การลงทุน โรงงาน ทางด้านเทคโนโลยี และก�ำลังผลิต ฯลฯ ประมาณการ งบการเงิน • งบก�ำไรขาดทุน • งบแสดงฐานะกิจการ
  • 13. 5 รายจ่ายด้านการตลาด จึงจ�ำเป็นต้องจัดท�ำงบประมาณรายจ่ายด้านการตลาดและประมาณการ รายรับ จากแผนการตลาดก็จะส่งต่อให้ฝ่ายต่าง ๆ ในองค์กร เช่น ฝ่ายผลิต ฝ่ายจัดซื้อ ฝ่ายทรัพยากร มนุษย์ เพื่อจัดท�ำแผนงานในฝ่ายของตน รวมทั้งจัดท�ำงบประมาณรายจ่ายต่าง ๆ การพยากรณ์การขายระยะยาวในอนาคต อาจมีการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี สภาวะ แวดล้อมต่าง ๆ พฤติกรรมผู้บริโภค การแข่งขันในอุตสาหกรรม ซึ่งข้อมูลดังกล่าวจะเป็นปัจจัยใน การวางแผนระยะยาว องค์กรจะต้องมีการวิจัยและพัฒนา เพื่อหาลู่ทางการลงทุนธุรกิจ การออก ผลิตภัณฑ์ใหม่ การขยายตลาด การตัดสินใจดังกล่าวจ�ำเป็นต้องมีการศึกษาความเป็นไปได้ของ โครงการ (Feasibility Study) เสียก่อนจึงจะศึกษาความเป็นไปได้ด้านการตลาด ทางด้านเทคโนโลยี การจัดการและการเงิน คือ การท�ำงบประมาณเงินทุน (Capital Budgeting) เพื่อดูผลตอบแทนของ โครงการ เป็นผลลัพธ์จากประมาณการกระแสเงินสดเข้าและออกของโครงการ ดังนั้น แผนระยะสั้นและระยะยาวจะถูกจัดท�ำเป็นแผนที่เป็นตัวเงิน คือ การจัดท�ำประมาณการ งบกระแสเงินสด และประมาณการงบการเงิน ได้แก่ งบก�ำไรขาดทุนและงบแสดงฐานะของกิจการ ท�ำให้องค์กรสามารถประเมินผลการด�ำเนินงาน ถ้าผลลัพธ์ที่คาดว่าจะเป็นยังไม่เป็นที่ยอมรับของ ผู้บริหารและผู้ที่เกี่ยวข้องกับองค์กร (Stakeholders) อื่น ๆ ซึ่งได้แก่ ผู้ถือหุ้น นักลงทุน ก็อาจกลับไป ปรับปรุงแผนงานต่าง ๆ เพื่อให้ผลการด�ำเนินงานไปสู่เป้าหมายและวิสัยทัศน์ที่วางไว้ 1.2.3 อุปสงค์อิสระและอุปสงค์ตาม (Independent & Dependent Demand) การพยากรณ์ในองค์กรนั้น การพยากรณ์ของแต่ละหน่วยงานไม่ได้เป็นอิสระต่อกันทั้งหมด ผลของการพยากรณ์ของหน่วยงานหนึ่ง อาจเป็นปัจจัยในการคาดการณ์ความต้องการของอีกหน่วยงาน หนึ่ง ดังนั้น การพยากรณ์ความต้องการของหน่วยงานที่เป็นจุดเริ่มต้นที่เป็นการพยากรณ์ เรียกว่า อุปสงค์อิสระ (Independent Demand) และการพยากรณ์/คาดการณ์ความต้องการที่ขึ้นกับการ พยากรณ์ของหน่วยงานอื่น ๆ เรียกว่า อุปสงค์ตาม (Dependent Demand) หน่วยงานในองค์กรหน่วยงานหลักที่พยากรณ์อุปสงค์อิสระเป็นหน่วยใดขึ้นกับแนวคิดทาง ธุรกิจว่าจะเน้นลูกค้าเป็นหลัก (Consumer Oriented หรือ Market Oriented) หรือเน้นด้านการ ผลิต (Production Oriented) ซึ่งในปัจจุบันแนวคิดจะเน้นที่ลูกค้าหรือการตลาดเป็นหลัก ดังนั้น การพยากรณ์อุปสงค์ของตลาด (Market Demand) ส่วนใหญ่จะเป็นการพยากรณ์ที่เรียกว่าเป็น อุปสงค์อิสระ (Independent Demand) เมื่อพยากรณ์ความต้องการได้แล้ว ก็จะเป็นปัจจัย (Input) ที่ใช้ในการพยากรณ์ของฝ่ายอื่น ๆ การพยากรณ์ของฝ่ายอื่น ๆ เรียกว่า อุปสงค์ตาม (Dependent Demand)
  • 14. 6 จากตารางที่ 1.1 องค์กรที่เป็นอุตสาหกรรมท�ำการผลิต จ�ำเป็นต้องพยากรณ์อุปสงค์ของสินค้า ก่อนซึ่งเป็นอุปสงค์อิสระจากอุปสงค์ของสินค้าที่จะน�ำไปคาดการณ์พยากรณ์ความต้องการของชิ้นส่วน วัตถุดิบ ก�ำลังคน ซึ่งเรียกว่าเป็นอุปสงค์ตาม เป็นต้น 1.3 ภาพรวมการพยากรณ์ทางธุรกิจ ​ การพยากรณ์ทางธุรกิจมีหลายวิธี เช่นเดียวกับหมอดูที่มีวิธีการท�ำนายพยากรณ์หลายวิธี โดย ใช้วิธีการดูลายมือ ดูไพ่ป๊อก ดูโหงวเฮ้ง เป็นต้น ซึ่งการพยากรณ์ก็ไม่ใช้ข้อมูลที่เป็นตัวเลขหรือใช้ ข้อมูลเชิงคุณภาพ ในทางธุรกิจก็มีการคิดค้นและพัฒนาการพยากรณ์มาหลายวิธี เพื่อให้ได้เทคนิค การพยากรณ์ที่แม่นย�ำ ซึ่งความแม่นย�ำของแต่ละวิธีไม่คงที่แน่นอน เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว ของสภาวะแวดล้อม อีกทั้งเป็นยุคของข้อมูลข่าวสารและกระแสของโลกาภิวัตน์ ซึ่งท�ำความยาก ล�ำบากในการพยากรณ์ทางธุรกิจเพิ่มขึ้น ดังนั้น การพยากรณ์ที่รวดเร็ว แม่นย�ำ และสามารถหา สัญญาณของการเปลี่ยนแปลง (Signal of Turning Point) จะท�ำให้ธุรกิจสามารถแก้ไขสถานการณ์ ฉกฉวยโอกาสในอนาคตได้ดี ตารางที่ 1.1 อุปสงค์อิสระและอุปสงค์ตาม ชนิดขององค์กร การพยากรณ์อุปสงค์อิสระ การค�ำนวณหาอุปสงค์ตาม อุตสาหกรรม อุปสงค์ของสินค้า • ความต้องการชิ้นส่วน/วัตถุดิบ • ก�ำลังคน ธุรกิจขายส่ง อุปสงค์ของสินค้า ณ ศูนย์กระจายสินค้า • ความต้องการสินค้าจากผู้จัดส่ง ธุรกิจขายปลีก อุปสงค์ของสินค้า ณ ร้านค้าปลีก • ความต้องการสินค้า ณ แต่ละแห่ง ศูนย์กระจายสินค้า โรงพยาบาล พยากรณ์จ�ำนวนคนไข้ • ความต้องการพยาบาล จ�ำนวนเตียงคนไข้ มหาวิทยาลัย จ�ำนวนนิสิต • จ�ำนวนอาจารย์ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ
  • 15. 7 1.3.1 ประเภทของเทคนิคพยากรณ์ เทคนิคการพยากรณ์ มี 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 1. เทคนิคการพยากรณ์เชิงปริมาณ (Quantitative Forecasting Techniques) 2. เทคนิคการพยากรณ์เชิงคุณภาพ (Qualitative Forecasting Techniques) เทคนิคการพยากรณ์เชิงปริมาณ ประกอบด้วย 2 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ เทคนิคอนุกรมเวลา (Time Series Techniques) ซึ่งได้แก่ เทคนิคค่าถัวเฉลี่ยเคลื่อนที่ แบบต่าง ๆ และเทคนิคกลุ่ม พวกปรับเรียบเส้นโค้ง (Smoothing Techniques) ที่จะกล่าว โดยละเอียดในบทที่ 4 เทคนิคความสัมพันธ์ของข้อมูล (Causal Models) ได้แก่ เทคนิคการวิเคราะห์การถดถอย เชิงเดี่ยวแบบง่ายและแบบพหุคูณ ที่จะกล่าวในบทที่ 5 เทคนิคการพยากรณ์เชิงคุณภาพ ในกรณีที่ไม่มีข้อมูล หรือกรณีที่การพยากรณ์ในอนาคตไกล ๆ ที่เชื่อว่าข้อมูลในอดีตไม่สามารถ พยากรณ์ได้ดี เพราะสภาวะความไม่แน่นอนในอนาคต เทคนิคเชิงคุณภาพมีหลายวิธี ได้แก่ เทคนิค กลุ่มที่เป็นการพยากรณ์โดยใช้วิจารณญาณ (Subjective Forecasting Models) ได้แก่ เทคนิคที่ใช้ พนักงานท�ำการพยากรณ์ กลุ่มผู้บริหารพยากรณ์ หรือเทคนิคการส�ำรวจวิจัยทางการตลาด เทคนิค กลุ่มที่อธิบาย (Exploratory Forecasting Methods) ได้แก่ เทคนิค Scenario Analysis, Delphi, Analogy เทคนิคกลุ่ม Normative Forecasting ได้แก่ Relevance Trees และเทคนิค S-Curve Model ซึ่งจะกล่าวถึงการพยากรณ์เทคนิคเชิงคุณภาพในบทที่ 3 เนื่องจากมีเทคนิคพยากรณ์มากมาย ดังนั้น ในการพยากรณ์ทางธุรกิจจะน�ำเทคนิคประเภทใด ไปใช้ ซึ่งมีการก�ำหนดเกณฑ์ในการเลือกเทคนิคในการพยากรณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลและการเข้าถึง ปัญหาในการพยากรณ์ รวมทั้งการรวมการพยากรณ์เข้าด้วยกัน ซึ่งจะกล่าวในบทที่ 2 ความสัมพันธ์และขั้นตอนการพยากรณ์และการวางแผนแสดงในรูปที่ 1.3 จากรูปจะเห็นว่า เริ่มจากการเลือกเทคนิคการพยากรณ์ อาจเลือกเทคนิคเชิงปริมาณ เทคนิคเชิงคุณภาพ หรือการรวม เทคนิคเข้าด้วยกัน หลังจากนั้นจะท�ำการตรวจสอบความเหมาะสมของเทคนิค ถ้าเทคนิคเหมาะสม ก็น�ำไปพยากรณ์ ถ้าไม่เหมาะสมก็ปรับปรุงเลือกหาเทคนิคใหม่ ผลลัพธ์ที่ได้จากการพยากรณ์ก็จะ น�ำไปวางแผน
  • 16. 8 รูปที่ 1.3 ขั้นตอนเทคนิคพยากรณ์และการวางแผน เทคนิคเชิงคุณภาพ • พนักงานขายพยากรณ์ • วิจัยตลาด • Delphi • Scenario • การพยากรณ์เทคโนโลยี ฯลฯ เทคนิคเชิงปริมาณ • อนุกรมเวลา (Time Series) • ความสัมพันธ์ของข้อมูล (Causal) รวมการพยากรณ์ (Combining) เทคนิค เหมาะสม หรือไม่ ?ไม่ ไม่ เหมาะสม พยากรณ์ การวางแผน 1.4 ภาพรวมการวางแผนธุรกิจ การวางแผนธุรกิจเป็นหน้าที่ของการจัดการ เป็นการวางทิศทางและกลยุทธ์เพื่ออนาคตของ กิจการ การวางแผนที่ดีจะประกอบด้วย 3 ค�ำถามที่ผู้บริหารต้องตอบ คือ 1. ปัจจุบันธุรกิจของเราเป็นอย่างไร การหาค�ำตอบดังกล่าวคือการวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมภายนอกอันได้แก่สภาวะทางเศรษฐกิจ สังคม กฎหมาย เทคโนโลยี คู่แข่ง เพื่อศึกษาถึงโอกาสและอุปสรรคที่ธุรกิจจะเผชิญ อีกทั้งการ
  • 17. 9 วิเคราะห์สภาวะธุรกิจเพื่อศึกษาถึงจุดแข็งและจุดอ่อนขององค์กร ซึ่งการหาค�ำตอบดังกล่าว คือ การใช้เทคนิคที่เรียกว่า SWOT Analysis (Strengths, Weaknesses, Opportunities and Threats) ซึ่งค�ำตอบที่ได้จะเป็นปัจจัยในการวางแผนต่อไป 2. อนาคตต้องการให้ธุรกิจของเราเป็นอย่างไร ซึ่งเป็นบทบาทส�ำคัญของผู้บริหารที่จะต้องก�ำหนดทิศทางวิสัยทัศน์ ภารกิจ เป้าหมายของ บริษัท วิสัยทัศน์เป็นภาพที่ต้องการให้ธุรกิจของเราเป็นในอนาคต ภารกิจจะบอกถึงขอบข่ายที่ธุรกิจ จะเติบโตหรือด�ำเนินการ ส�ำหรับเป้าหมายและวัตถุประสงค์จะมีการก�ำหนดทั้งระยะสั้นและระยะ ยาว เพื่อสามารถวัดและประเมินความส�ำเร็จขององค์กรได้ในระยะเวลาต่าง ๆ ทั้งสั้นและยาว 3. ท�ำอย่างไรเราจึงจะไปสู่จุดที่เราต้องการ ในขั้นตอนนี้คือ การวางแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการต่าง ๆ รวมทั้งงบประมาณที่เป็นแผนที่ เป็นตัวเงิน โดยที่กลยุทธ์และโครงการที่วางจะน�ำธุรกิจไปสู่อนาคตที่วางไว้ในข้อ 2 เมื่อวางแผนแล้ว หน้าที่ถัดไปของผู้บริหาร คือ การน�ำแผนไปปฏิบัติ (Implementation) แม้ จะมีแผนดี แต่ไม่สามารถผลักดันให้น�ำไปปฏิบัติได้ก็เป็นความล้มเหลวขององค์กร ดังนั้น มีหลักการใน การน�ำแผนไปปฏิบัติให้มีประสิทธิผล อีกทั้งการควบคุมและการติดตามประเมินแผนจะกล่าวโดยใช้ เครื่องมือ BSC (Balanced Scorecard), KPI (Key Performance Indicator) และค่าอ้างอิง (Benchmarking) ภาพรวมของกระบวนการวางแผนกลยุทธ์ดังที่กล่าวข้างต้นแสดงในรูปที่ 1.4
  • 18. 10 การน�ำแผนไปปฏิบัติ • 7S’s Model Strategy Structure System Staff Skill Style Shared Value ปัจจุบันธุรกิจของเราเป็นอย่างไร • การวิเคราะห์สภาวะแวดล้อม • การวิเคราะห์การแข่งขัน • การวิเคราะห์ธุรกิจ อนาคตเราต้องการไปที่ใด • ก�ำหนดวิสัยทัศน์ • ก�ำหนดภารกิจ • ก�ำหนดเป้าหมายและวัตถุประสงค์ ท�ำอย่างไรเราจึงจะไปสู่จุดที่ต้องการได้ • วางแผนกลยุทธ์ • วางแผนธุรกิจ • วางแผนปฏิบัติการ รูปที่ 1.4 กระบวนการวางแผนกลยุทธ์ การติดตามและประเมินผล การก�ำหนดดัชนีวัดความส�ำเร็จ(KPI)BSC และค่าอ้างอิง(Benchmarking) 1.5 ความจ�ำเป็นและความส�ำเร็จในการพยากรณ์และการวางแผน การตัดสินใจจะสามารถฉกฉวยโอกาสหรือหลีกเลี่ยงปัญหาได้ถ้าเราทราบเหตุการณ์ในอนาคตได้ ล่วงหน้าอย่างแม่นย�ำ ดังนั้น การพยากรณ์/คาดการณ์ในอนาคตที่แม่นย�ำจะเป็นประโยชน์ต่อการ วางแผนทางธุรกิจ เหตุผลความจ�ำเป็น/ประโยชน์ของการพยากรณ์และการวางแผนทางธุรกิจมีดังนี้ 1. สามารถจัดสรรทรัพยากรได้อย่างเหมาะสม 2. เพิ่มประสิทธิภาพในการด�ำเนินงานของธุรกิจ 3. สามารถตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าได้
  • 19. 11 4. เพิ่มผลก�ำไรและผลตอบแทนให้ธุรกิจ 5. ลดความสูญเสียต่าง ๆ 6. เพิ่มการประสานการบริหารงานของฝ่ายต่าง ๆ ในองค์กร การที่จะพยากรณ์ทางธุรกิจประสบความส�ำเร็จนั้นขึ้นกับ 1. การน�ำเทคโนโลยีไปช่วยในการพยากรณ์ 2. วิเคราะห์สถานการณ์และตัวแปรด้วยความระมัดระวัง 3. มีระบบติดตามและประเมินผลการพยากรณ์ที่เหมาะสม 4. เข้าใจในลักษณะของการตัดสินใจที่การพยากรณ์จะน�ำไปเป็นส่วนประกอบการตัดสินใจ และการวางแผน 1.6 บทส่งท้าย ​สิ่งที่ได้เรียนในบทนี้คือ ภาพรวมของการพยากรณ์และการวางแผนธุรกิจ ซึ่งจะได้เห็นถึงความ สัมพันธ์ของการพยากรณ์ การวางแผน และการตัดสินใจ นอกจากนั้นยังได้แสดงให้เห็นภาพรวมของ เทคนิคพยากรณ์ทางธุรกิจอันได้แก่ เทคนิคเชิงปริมาณ และเทคนิคเชิงคุณภาพ กระบวนการขั้นตอน การพยากรณ์ อีกทั้งได้กล่าวถึงกระบวนการวางแผนธุรกิจ ซึ่งจากบทนี้จะเป็นการน�ำไปสู่รายละเอียด ของการศึกษาเรื่องการพยากรณ์ในบทต่อไป สิ่งที่น่ารู้ กระบวนการวางแผนมีทั้งน�ำไปใช้ในกิจการและการวางแผนอุตสาหกรรม การวางแผนและการพยากรณ์ภาคอุตสาหกรรมเป็นเรื่องส�ำคัญในการวางกลยุทธ์เพื่อเพิ่ม ขีดความสามารถในการแข่งขัน ทางส�ำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมได้มีการวางแผนแม่บท อุตสาหกรรม 14 อุตสาหกรรมหลักของประเทศ ได้แก่ อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรม เหล็ก อุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมปิโตรเคมี อุตสาหกรรมยาง อุตสาหกรรมเคมีภัณฑ์ อุตสาหกรรมพลาสติก อุตสาหกรรมยา อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ อุตสาหกรรม เซรามิกส์และแก้ว อุตสาหกรรมรองเท้าและเครื่องหนัง อุตสาหกรรมไม้และเครื่องเรือน อุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ และอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม ผู้สนใจดูรายละเอียดได้ที่ www.oie.go.th ซึ่งทางผู้เขียนและคณะฯ ได้มีบทบาทในการ วางแผนแม่บทของอุตสาหกรรมไม้และเครื่องเรือน
  • 20. 12 แบบฝึกหัด 1. ให้เลือกธุรกิจในกลุ่มอุตสาหกรรมบริการ แล้วท�ำการส�ำรวจถึงสภาพปัจจุบันของการพยากรณ์ และการวางแผนทางธุรกิจ รวมทั้งปัญหา อุปสรรคของการพยากรณ์และการวางแผน (ใช้ แบบฟอร์มการส�ำรวจในภาคผนวก) 2. ค้นหาบทความเพื่อติดตามการพัฒนาของเทคนิคการพยากรณ์และการวางแผนให้แสดงความ คิดเห็นถึงบทความนั้นๆ ในแง่ของการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงมีผลต่อเทคนิคการพยากรณ์ และการวางแผนในปัจจุบัน 3. มีผู้กล่าวว่า สภาวะแวดล้อมเปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรง รวดเร็ว ท�ำให้การพยากรณ์ไม่แม่นย�ำ ดังนั้น ไม่มีความจ�ำเป็นต้องพยากรณ์ ให้วิจารณ์ค�ำกล่าวนี้ 4. การเรียนรู้เทคนิคการพยากรณ์และการวางแผนธุรกิจ มีความส�ำคัญและจ�ำเป็นอย่างไรต่อกลุ่ม ต่าง ๆ ดังนี้ ก. กลุ่มนิสิตนักศึกษาสาขาบริหารธุรกิจ ข. กลุ่มผู้บริหารระดับต่าง ๆ ค. นักลงทุน 5. ให้ยกตัวอย่างของอุปสงค์อิสระและอุปสงค์ตามของธุรกิจต่อไปนี้ ก. ร้านสะดวกซื้อ ข. อุตสาหกรรมอาหารแปรรูป ค. ธุรกิจโรงแรม 6. อธิบายความสัมพันธ์ของการวางแผนและการพยากรณ์ทางธุรกิจ 7. ระดับการบริหารมีความสัมพันธ์กับชนิดของแผนการพยากรณ์และการตัดสินใจอย่างไร 8. การจัดท�ำแผนแม่บทอุตสาหกรรม ศึกษาเทคนิคพยากรณ์ที่ใช้ และวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ของเทคนิคการพยากรณ์กับการวางแผน 9. เปรียบเทียบจุดเด่น จุดด้อยของเทคนิคการพยากรณ์เชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ
  • 21. 13 บรรณานุกรม อัจฉราจันทร์ฉาย.คู่มือการวางแผนกลยุทธ์/นโยบายธุรกิจ.พิมพ์ครั้งที่13.กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพ์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555. Adams, Scott. The Dilbert Future: Thriving on Stupidity in the 21st Century. New York: Harper Collins, 1997. Bowerman, Bruce L. and O’Connell, Richard T. Forecasting and Time Series: An Applied Approach. 3rd ed. California: Duxbury Press, 1993. Hanke, John E. and Reitsch, Arthur G. Business Forecasting. 6th ed. NJ: Prentice-Hall International Inc., 1998. Kaplan, R. S. and Norton, D. P. The Strategic Focused Organization. Boston: Harvard Business School Press, 2001. Makridakis, Spyros, Wheelwright, Steven C., and McGee, Victor E. Forecasting: Methods and Applications. 2nd ed. New York: John Wiley & Sons Inc., 1983. Mintzberg, Henry. The Rise and Fall of Strategic Planning. New York: The Free Press, 1994. Newbold, Paul and Bos, Theodore. Introductory Business & Economic Forecasting. 2nd ed. Cincinnati. Ohio: South-Western Publishing Co., 1994. Vernon-Wortzel, Heidi and Wortzel, Lawrence H. Strategic Management in Global Economy. 3rd ed. New York: John Wiley & Sons Inc., 1997. http://www.oie.go.th