SlideShare a Scribd company logo
1 of 52
PSYCHOACTIVE  SUBSTANCE  USE  DISORDER รศ . พญ . วันเพ็ญ  ธุรกิตต์วัณณการ
PSYCHOACTIVE  SUBSTANCE   USE  DISORDER ------------------------------------------ DEFINITION  OF  TERMS PSYCHOACTIVE  SUBSTANCE  USE  DISORDER  มีลักษณะ  2  ประการ ก .  PATTERN  OF  PATHOLOGICAL  USE  ไม่สามารถลดหรือหยุดได้มี  intoxication  ตลอดทั้งวัน  ใช้สารเกือบทุกวันเป็นอย่างน้อย  1  เดือนที่  intoxication  จะมีความบกพร่องของการทำหน้าที่ของจิตใจ ข .  ความบกพร่องของร่างกาย  สังคม  อาชีพ  เนื่องจากกการใช้สารเสพติด
TOLERANCE CROSS-TOLERANCE  การเกิด  TOLERANCE  ต่อยาตัวหนึ่ง  ซึ่งเป็นผลจากใช้ยาอีกตัวหนึ่ง Psychoactive  substance  use  disorder   แบ่งเป็น   1.  Psychoactive  substance  dependence 2.  Psychoactive  substance  abuse
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
6.  ใช้ต่อแม้รู้ว่าเป็นผลเสียต่อสังคม  จิตใจ  ร่างกาย 7.  marked  tolerance 8.  Characteristic  withdrawal  sym 9.  ใช้สารเพื่อบรรเทาหรือหลีกเลี่ยง  withdrawal ข .  มีอาการมากกว่าหรือเท่ากับ  1  เดือน
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
สาเหตุ 1.  มีความผิดปกติทางด้านจิตใจ 2.  Low  socioeconomic  group 3.  Curiosity 4.  มีปัญหาในครอบครัว 5.  Learned  conditioning
ชนิดของยาหรือสารที่ใช้  แบ่งตามการออกฤทธิ์เป็น 1.  ออกฤทธิ์กดประสาท  ได้แก่  ฝิ่น  มอร์ฟีน เฮโรอีน  secobarbital 2.   ออกฤทธิ์กระตุ้นประสาท  ได้แก่  แอมเฟตามีน  โคเคน 3.  ออกฤทธิ์หลายอย่าง  ได้แก่  กัญชา  ใบกระท่อม    ใช้น้อยจะกระตุ้นประสาท  ใช้มากขึ้นจะกดประสาท  และถ้าใช้มากขึ้นอีกเกิดประสาทหลอน
 
 
 
OPIOID  DEPENDENCE กลไกการแกฤทธิ์  จับกับ  opioid  receptors  ในปี  1974  พบสารเคมีในร่างกายซึ่งมีฤทธิ์คล้าย  opioids  คือ  pentapeptide  enkephalin ,  endorphins  ซึ่ง  endorphins  เกี่ยวกับการสื่อสารทางประสาทและระงับปวดไข้  ซึ่งมีการหลั่งออกมาตามธรรมชาติ  เมื่อบุคคลได้รับอันตรายพบกับความเจ็บปวด   Tolerance  และ  dependence  การเปลี่ยนแปลงของจำนวน  opioid  receptor  เป็นผลจากการใช้  opioids  ติดต่อกันทำให้เกิด  dependence  การเปลี่ยนแปลงของแคลเซี่ยม  ,  cyclic  amp ,  adenyl  nucleotides  ในเซลล์ก็เป็นผลจากการใช้ยาเป็นเวลานาน
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
OVERDOSE   มีลักษณะ  คือ  pinpoint  pupils ,  coma  และหายใจช้าอุณหภูมิต่ำ  (hypothermia)  ความดันโลหิตต่ำ  ช๊อคและหัวใจเต้นช้า  สิ่งที่จะเตือนให้ทราบว่าสาเหตุจาก  opioids  คือ  รอยเข็ม การรักษา  OVERDOSE   -  ดูแลทางเดินหายใจและ  vital  sign -  naloxone  0.4  มก .  เข้าเส้น -  ต้องสังเกตอาการผู้ป่วยเพราะอาจ  coma  อีกใน  4-5  ชั่วโมง Withdrawal  เกิดขึ้น  6-8  ชั่วโมงหลังจาก  dose  สุดท้ายอละอาการหายไปภายใน  7-10  วัน  ส่วน methadone  withdrawal  เริ่ม  1-3  วัน  หลังจาก  dose  สุดท้าย และอาการหายไป  10-14  วัน
DIAGNOSTIC  CRITERIA  FOR  OPIOID  WITHDRAWAL   ก .  หยุดหรือลดปริมาณการใช้แล้วมีอาการต่อไปนี้ 1)  มีความอยากและต้องแสวงหามาใช้    ( CRVING FOR) 2)   คลื่นไส้หรืออาเจียน 3)  ปวดกล้ามเนื้อ 4)  น้ำตาไหลหรือน้ำมูกไหล 5)  รูม่านตาขยาย  ขนลุก  หรือ  เหงื่อออก 6)  ท้องเสีย 7)  หาวนอน 8)  มีไข้ 9)  นอนไม่หลับ  ( INSOMNIA)
ข .  ไม่ได้เกิดจากความผิดปกติทางร่างกายหรือจิตใจอย่างอื่น การรักษา  OPIOID  WITHDRAWAL 1.  DETOXIFICATION METHADONE   ขนาด  20-80  มก .  ต่อวัน  ( อาจขึ้นถึง  120  มก ./ วัน ) CLONIDINE   ขนาดที่ให้  0.1-0.3  มก .  3-4  ครั้งต่อวัน LAMM   (LEVO - & - ACETYLMETHADOL)  30-80  มก .  3  ครั้ง / สัปดาห์ METHADONE  MAINTENANCE   มีประโยชน์หลายอย่าง  ทำให้สามารถเลิกเฮโรอีนแบบฉีดได้  ไม่ผิดกฎหมาย  ทำให้เกิด  EUPHORIA  เล็กน้อย  และไม่ทำให้ง่วงซึมหรือซึมเศร้า  เมื่อใช้ไปนาน ๆ  และทำงานได้ไม่ก่ออาชญากรรม  ข้อเสียของมันคืออย่างไรก็ตามก็ยังติด  METHODONE  อยู่
 
2.  การฟื้นฟูทางด้านจิตใจและสังคม  (REHABILITATION) ก .  จิตบำบัด  (INDIVIDUAL  PSYCHOTHERAPY) ข .  GROUP  PSYCHOTHERAPY  นิยมแบบ   SELF-HELP  GROUP ค .  อาชีวบำบัด  (OCCUPATIONAL  THERAPY)  ฝึกอาชีพ ง .  ชุมชนบำบัด  (THERAPEUTIC  COMMUNITY)  ประกอบด้วยสมาชิก ซึ่งมีปัญหาติดยาเสพติดเหมือนกัน  และมีความประสงค์จะเลิกยาเสพติดเหมือนกัน  ต้องมีแรงจูงใจ เป้าหมาย  ต่อไปคือการเปลี่ยนแนวชีวิต  พัฒนาความซื่อสัตย์  ความรับผิดชอบ  SOCIAL  SKILLS  และเลิกพฤติกรรมต่อต้านสังคมก่ออาชญากรรม  STAFF  ใน  THERAPEUTIC  COMMUNITY  ก็เป็นผู้ที่เคยติดสารเสพติดมาก่อนและเลิกได้แล้ว
SEDATIVE  HYPNOTICS  AND  ANXIOLYTIC  SUBSTANCE  USE  DISORDER SEDATIVE  เป็นยาที่ช่วยลดความกระวน  กระวายทำให้เกิดความสงบ  ส่วน  HYPNOTIC  ทำให้ง่วงนอนและหลับ  สามารถแบ่งเป็น  Barbiturates  และ  NON  BARBITURATE
BENZODIAZEPINE ADVERSE  EFFECTS   ไม่เหมือนบาร์บิทูเรต  ตรงที่ปลอดภัยมากกว่า  กดการหายใจเพียงเล็กน้อย  จะเกิดอาการถอนยาเมื่อใช้มากกว่า  40  มก . ต่อวัน  อาการถอนยาได้แก่  วิตกกังวล  ชาปลายมือปลายเท้า  อารมณ์เศร้า  ทนต่อแสงสว่างไม่ได้  คลื่นไส้  เหงื่อแตก  ปวดกล้ามเนื้อ  และบางครั้งชัก  ( ส่วนใหญ่ต้องใช้  มากกว่า  100  มก . ต่อวัน ) การรักษา   -  ค่อย ๆ  ลดปริมาณยาลง  10 % ทุกวัน -  เปลี่ยนเป็นตัวที่ออกฤทธิ์ยาว ลดลงวันละ  10% -  ลดมากกว่าวันละ  10 %  ชักได้  ให้ยากันชัก ควบไปด้วย
DIAGNOSTIC  CRITERIA FOR  SEDATIVE  HYNOTIC  ANXIOLYTIC  INTOXICATION ก .  เพิ่งใช้  SEDATIVE ,  HYPNOTIC  หรือ  ANXIOLYTIC ข .  พฤติกรรมเปลี่ยนแปลงในทางไม่เหมาะสม ค .  >   1  ข้อ  1)  SLURRED  SPEECH 2)  INCOORDINATION 3)  UNSTEADY  GAIT 4)  IMPAIR  CONCENTRATION  OR  MEMORY ง .  ไม่ได้เกิดจากความผิดปกติทางร่างกายหรือจิตใจอื่น ๆ
DIAGNOSTIC  CRITERIA  FOR  UNCOMPLICATED  SEDATIVE ,  HYPNOTIC  OR  ANXIOLYTIC  WITHDRAWAL  DELIRIUM ก .  ลดปริมาณหรือหยุดใช้  แล้วมีอาการต่อไปนี้  >   3  ข้อ 1)  NAUSIA  OR  VOMITING 2)  FATIQUE 3)  AUTONOMIC  HYPERACTIVITY 4)  ANXIETY  OR  IRRITABLE 5)  ORTHOSTATIC  HYPOTENSION 6)  COARSE  TREMOR  ของมือ  ลิ้น  และหนังตา 7 )  INSOMNIA ข .  ไม่เกิดจากความผิดปกติทางร่างกายหรือจิตใจอื่น ๆ
DIAGNOSTIC  CRITERIA  FOR  SEDATIVE  HYPNOTIC  OR  ANXIOLYTIC  WITHDRAWAL  DELIRIUM ก .  DELIRIUM  เกิดขึ้นหลังจากหยุดหรือลดปริมาณการใช้ ข .  AUTONOMIC  HYPERACTIVITY ค .  ไม่ได้เกิดจากความผิดปกติทางร่างกายหรือจิตใจอื่น DIAGNOSTIC  CRITERIA  FOR  AMNESTIC  DISORDER ก .  AMNESTIC  SYNDROME  หลังจากใช้อย่างหนักและนาน ข .  ไม่ได้เกิดจากความผิดปกติทางร่างกายหรือจิตใจ
 
 
COCAINE COCAINE  กระตุ้นระบบ  DOPAMINE  และ  BLOCK  การ  REUPTAKE  SEROTONIN  มีการออกฤทธิ์  30  นาที  ถึง  ชม .  หลังฉีดเข้าเส้นหรือทางจมูก  เพราะฉะนั้นเมื่อหยุดใช้  SEROTONIN  เกิด  DEPRESSION COCANICE  INTOXICATION   หายภายใน  48  ชม .  หลักเกณฑ์ดังนี้ ก .  เพิ่งใช้ ข .  พฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไปในทางไม่เหมาะสม ค .  >   2  ข้อ  ภายใน  1  ชม .  ที่ใช้  COCAINE   1) ใจเต้นเร็ว   2)  รูม่านตาขยาย   3)  ความดันโลหิตขึ้นสูง  4)  เหงื่อแตกมีไข้หนาวสั่น   5)  NAUSIA  OR  VOMITING  6)  VISUAL  OR  TACTILE  HALLUCINATION ง .  ไม่ได้มีความผิดปกติทางร่างกายหรือจิตใจอื่น ๆ
COCAINE  PSYCHOSIS   โดย  COCAINE  INTOXICATION  ในปริมาณมาก ๆ  ทำให้เกิด  IDEAS  IF  REFERRENCE  ความคิดระแวง  แรงขับทางเพศเพิ่มขึ้น  เสียงดังในหู COCAINE  WITHDRAWAL   อาการสูงสุดภายใน  2-4  วัน  และมีเศร้าหงุดหงิดเป็นเวลาหลายอาทิตย์  อาการหายไปภายใน  3  อาทิตย์  หรือ  3  เดือน หลักเกณฑ์การวินิจฉัย  COCAINE  WITHDRAWAL ก .  หยุดหรือลดปริมาณการใช้  แล้วติดตามด้วย  ซึมเศร้า  กังวล  มีอาการต่อไปนี้  >   1  ข้อ  นานมากกว่า  24  ชม .  หลังหยุดใช้สาร 1)  FATIGUE 2)  INSOMNIA  OR  HYPERSOMNIA 3)  PSYCHOMOTOR  AGITATION ข .  ไม่ได้เกิดจากความผิดปกติทางร่างกายหรือจิตใจอื่น ๆ
การรักษา -  สำหรับ  COCAINE  OVERDOSE  รักษาโดยให้ออกซิเจน  ถ้ามีชัก หรือกังวลใจให้  DIAZEPAM  5-10  มก . เข้าเส้น -  สำหรับฤทธิ์ทางด้าน  SYMPATHOMIMETIC  ให้  INDERAL -  ให้ยาในช่วงหยุด  COCAINE  ได้แก่  ยานอนหลับ  ยาแก้เศร้า
 
 
ปีที่   55  ฉบับที่   17110  วันพฤหัสบดีที่   25  พฤศจิกายน   2547 ชุดปราบยาเสพติดบก . น .2  ขยายผลการจับกุมพ่อค้ารายเล็ก  ซ้อนแผน โทร . สั่งยานรก  300  เม็ดจากนักร้องชื่อดัง  ให้หิ้วมาส่งที่  ปากซอย  ติดกับนำยาบ้ามาส่ง  พร้อมแฟนหนุ่มลูกชายผู้บริหารแบงค์ใหญ่  ถูกรวบทั้งคู่พร้อมของกลาง  ไปค้นในบ้านได้อีกเกือบ  4,000  เม็ด  ทั้งคู่รับสารภาพอ้างว่าทำเพื่อหาค่าใช้จ่าย
AMPHETAMINE ADVERSE  EFFECTS ผลต่อร่างกาย   มีไข้  ปวดศีรษะ  ใจสั่น  ความดันโลหิตสูง  คลื่นไส้  อาเจียน  เดินเซ  เกร็ง  ชัก  หมดสติ ผลต่อจิตใจ  กกระวนกระวาย  ซึมเศร้า  นอนไม่หลับ  บางรายมีอาการทางจิต  หวาดระแวง  ประสาทหลอน  เกิด  DELIRUM ได้  ถ้าใช้วิธีฉีดเข้าเส้นเกิด  “ RUSH ”  มีความสุข  EUPHORIA AMPHETAMINE  INTOXICATION  หายภายใน  48  ชม .  มีหลักเกณฑ์การวินิจฉัยดังนี้ ก .  เพิ่งใช้  AMPHETAMINE    ข .  พฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไปในทางไม่เหมาะสม ค .  >   2  ข้อ  ภายใน  1  ชม .  ที่ใช้   1)  ใจเต้นเร็ว  2)  รูม่านตาขยาย  3)  HYPERTENSION  4)  เหงื่อแตกและหนาวสั่น 5)  NAUSEA  OR  VOMITING ง .  ไม่ได้เกิดจากความผิดปกติของร่างกายหรือจิตใจอื่น ๆ
AMPHETAMINE  WITHDRAWAL   เป็นมากที่สุดภายใน  2-4  วัน  อาการอันตรายที่สุดคือ  DEPRESSION  คิดฆ่าตัวตาย  หลักเกณฑ์วินิจฉัย ก .  หยุดหรือลดปริมาณการใช้  ซึ่งจะตามด้วยอารมณ์เศร้า  หงุดหงิด  กังวลใจ  และมีอาการต่อไปนี้  >   1  ข้อ  เป็นนานกว่า  24  ชม .  หลังหยุดใช้สาร  1)  FATIGUE 2)  INSOMNIA  OR  HYPERSOMNIA 3)  PSYCHOMOTOR  AGITATION ข .  ไม่ได้เกิดจากความผิดปกติทางร่างกายหรือจิตใจอื่น ๆ การรักษา 1.  ยาตามอาการ  เช่น  หลงผิดก็ให้  ANTIPSYCHOTIC  DRUG 2.  จิตบำบัด
 
LYSERGIC  ACID  DIETHYLAMIDE  (LSD) เป็นประเภทหนึ่งของ  HALLUCINOGENS  ที่ให้ผล  SYMPATHOMIMETIC  EFFECTS ADVERSE  EFFECTS   มี  BAD  TRIP  ซึ่งคล้าย  PANIC  REACTION  จาก  CANNABIS  หรือมีอาการ  ทางจิต  เป็นอยู่นาน  8-12  ชม . FLASHBACK   เป็นปรากฏการณ์ที่ความรู้สึก  อาการ  เหมือนตอนกำลังใช้ยากลับมาอีก  แต่ความจริงไม่ได้ใช้  มักเกิดเมื่อมีความเครียด  หรือไม่สบาย  EGO  อ่อนลง  มักเป็นอยู่นาน  24-48  ชม . การรักษา ให้ความมั่นใจ  และให้ยาเพื่อให้สงบ
หลักเกณฑ์การวินิจฉัย  HALLUCINOGEN  HALLUCINOSIS ก .  เพิ่งใช้ ข .  พฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไปในทางไม่เหมาะสม ค .  การรับรู้เปลี่ยนแปลงในขณะมีสติอยู่  (DEPERSONALIZATION  DEREALIZATION,  ILLUSION,  HALLUCINATION) ง .  มีอาการต่อไปนี้ตั้งแต่  2  ข้อขึ้นไป 1)  รูม่านตาขยาย   2)  ใจเต้นเร็ว  3)  เหงื่อแตก 4)  ใจสั่น  5)  ตามัว  6)  มือสั่น 7)  INCOORDINATION จ .  ไม่ได้เกิดจากความผิดปกติทางร่างกายหรือจิตใจอื่น ๆ
 
สารระเหย  (VOLATTLE  SOLVENTS) มีองค์ประกอบของ  TOLUENE  ACETONE ,  BENZENE  และ  HALOGENATED  HYDROCARBONS  ใช้วิธีสูดดม  INTOXICATION  จะเกิดขึ้นภายใน  5  นาที  และอยู่นาน  15-30  นาที ผู้ใช้จะมีผื่นแดงบริเวณจมูกและปาก  มีกลิ่นปาก  ระคายเคืองตา  คอ  ปอด  และจมูก  ทำลายตับ  ไต  และอวัยวะภายในและสมอง DIAGNOSTIC  CRITERIA   FOR  INHALANI  INTOXICATION ก .  เพิ่งใช้สาร  INHALANT ข .  พฤติกรรมไม่เหมาะสม
ค .  >   2  ข้อ    1)  DIZZINESS 2)  NYSTAGMUS 3)  ATAXIA 4)  SLURRED 5 )  INCOORINATION 6)  FATI  GUE 7)  REFLEXES  8)  PSYCHOMOTOR  RETARDATION 9)  TREMOR   10)  กล้ามเนื้ออ่อนแรง 11 )  ตาพร่า   12)  STUPOR  OR COMA 13)  EUPHORIA ง .  ไม่ได้เกิดจากความผิดปกติทางร่างกายหรือจิตใจอื่น การักษา 1)  เมื่อต้องการเลิกอาจมี  หงุดหงิด  ซึมเศร้า  นอนไม่หลับ  ให้ยาตามอาการ   2)  ทางด้านจิตใจและสังคม
 
 
MARIHUANA สมัยก่อนใช้เป็นยาแก้ปวด  ยาแก้ชัก  และยานอนหลับ  รักษาโรคต้อหิน  อาการคลื่นไส้อาเจียน  ต้านมะเร็งและฆ่าเชื้อโรคได้  สารที่สำคัญคือ  DELTA - 9 - TETRAHYDROCANNABINOL  (THC) CANNABIS  INTOXICATION  เกิดขึ้นทันทีหลังจากสูดเข้าไป  สูงสุดภายใน  30  นาที  และออกฤทธิ์ขนาน  2-4  ชม .  ถ้าใช้วิธีกิน  5-12  ชม .  หลักเกณฑ์การวินิจฉัย ก .  เพิ่งใช้  CANNABIS ข .  พฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไปในทางไม่เหมาะสม ค .  >   2  ข้อ  ภายใน  3  ชม .  เมื่อใช้กัญชา 1 )  เยื่อบุตาอักเสบ   2)  ความอยากอาการเพิ่มขึ้น 3)  ปากแห้ง   4)  หัวใจเต้นเร็ว ง .  ไม่ได้เกิดจากความผิดปกติทางร่างกายหรือจิตใจอื่น ๆ
CANNABIS  DEPENDENCE   มีอาการถอนยาเล็กน้อย  ได้แก่  นอนไม่หลับ  คลื่นไส้อาเจียน  สั่น  เหงื่อแตก CHRONIC  UES   ทำให้เกิด  AMOTIVATIONAL  SYNDROME  และ  1 )  PSYCHOSIS  มีรายงานในอินเดีย  อียิปต์  โมรอคโค 2)  DELIRIUM  จะเกิดเมื่อรับประทานกัญชาเป็นจำนวนมาก 3)  FLASHBACK  CHROMOSOME  ภูมิต้านทานต่ำลง  ถุงลมปอดโป่งพอง  มะเร็งปอดและทางเดินหายใจ  สมองเหี่ยว การรักษา 1)  MEDICATION 2)  PSYCHOSOCIAL  TREATMENT
 
CAFFEINE ในกาแฟ  1  ถ้วย  มีคาเฟอีน  อยู่  100-150  มก .  เมื่อร่างกายได้รับคาเฟอีน  50-100  มิลลิกรัม  จะเพิ่มความสดชื่น  ทำงานคล่องขึ้น  จึงเกิด  PSYCHOLOGICALLY  DEPENDECE  นอกจากนั้นยังทำให้ปัสสาวะบ่อย  กระตุ้นกล้ามเนื้อหัวใจ  กรดในกระเพาะอาหารหลั่ง  ความดันโลหิตขึ้น CAFFEINE  INTOXICATION   ได้มากกว่าวันละ  1  กรัม  มีหัวใจเต้นเร็วผิดปกติ  กระสับกระส่าย  TINNITUS  ในขนาด  10  กรัม  หรือมากกว่านั้นเกิด  GRANDMAL  SEIZURE  การหายใจล้มเหลวจนถึงเสียชีวิต CAFFEINE  WITHDRAWAL   ปวดศีรษะเกิดขึ้น  15-18  ชั่วโมง  หลังการได้รับครั้งสุดท้าย  หงุดหงิด  ไม่มีแรง  ซึมเศร้า
หลักเกณฑ์การวินิจฉัย  CAFEINE  INTOXICATION ก .  เพิ่งได้รับ  คาเฟอีน  ปกติในปริมาณมากกว่า  250  กก . ข .  >   5  ข้อ  1)  กระสับกระส่าย 2)  NERVOUSNESS 3)  ตื่นเต้น 4)  INSOMNIA 5)  FLUSHED  FACE 6)  ปัสสาวะบ่อย 6)  ทางเดินอาหารปั่นป่วน 7)  ปวดกล้ามเนื้อ 8)  ความคิดและคำพูดสับสน   9)  PSYCHOMOTOR  AGITATION 1 0 )  PERIODS  OF  INEXHAUSTIBULITY 1 1 )  หัวใจเต้นเร็วหรือเต้นผิดปกติ ค .  ไม่ได้เกิดจากความผิดปกติทางร่างกายหรือจิตใจอื่น ๆ  ได้แก่  ANXIETY  DISORDER
การรักษา 1.  อาศัยความตั้งใจของผู้ป่วย  และยาตามอาการ 2.  ค่อย ๆ  ลดประมาณคาเฟอีนในแต่ละวัน    อาการ  WITHDRAWAL  ใช้เวลา  4-5  วัน
NICOTINE ขนาดมากว่า  60  มก .  ทำให้เสียชีวิตได้  บุหรี่แต่ละมวนมีนิโคติน  0.5  มก .  นิโคตินทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสรีระวิทยาดังนี้ 1)  PERIPHERAL  BLOOD  VESSELS  เกิดการหดตัว 2)  การบีบตัวของลำไส้เพิ่มขึ้น  3)  เพิ่มการหลั่ง  NE  และ  EPINEPHRINE 4 )  กระตุ้น  HYPOTHALAMIC  PLEASURE  CENTER    ชอบใช้นิโคติน 5)  ลดการเต้นของหัวใจ 6)  REM  SLEEP  เปลี่ยนแปลง 7)  TREMOR 8 )  บุตรมีนำหนักน้อยกว่าปกติ
NICOTINE  WITHDRAWAL 90-120  นาที  หลังจากสูบบุหรี่มวนสุดท้าย  และมีอาการสูงสุดภายใน  24  ชั่วโมง  หลังจากหยุดสูบ หลักเกณฑ์การวินิจฉัย  NICOTINE  WITHDRAWAL  ก .  ใช้นิโคตินทุกวันเป็นเวลาอมย่างน้อย  2-3  อาทิตย์ขึ้นไป ข .  หยุดหรือลดประมาณการใช้  มีอาการมากกว่าหรือเท่ากับ  4  ข้อ  ภายใน  24  ชั่วโมง 1)  CRAVING  FOR  NICOTINE 2 )  หงุดหงิด  ก้าวร้าว  โกรธ 3)  กังวลใจ 4)  สมาธิไม่ดี
5)  กระสับกระส่าย  (RESTLESSNESS) 6)  อัตราการ เ ต้นของหัวใจลดลง 7)  ความอยากอาหารเพิ่มขึ้นหรือน ้ำ หนักเพิ่มขึ้น การรักษา -  สำคัญที่ความตั้งใจและกำลังใจ -  ยาตามอาการ  หงุดหงิด  นอนไม่หลับ
 

More Related Content

Viewers also liked

Viewers also liked (9)

CARNES 4
CARNES 4CARNES 4
CARNES 4
 
RDT_SNT
RDT_SNTRDT_SNT
RDT_SNT
 
Very nbsp
Very nbspVery nbsp
Very nbsp
 
Herbs
HerbsHerbs
Herbs
 
Pitch Presentation
Pitch Presentation Pitch Presentation
Pitch Presentation
 
Stumbleupon
StumbleuponStumbleupon
Stumbleupon
 
K3
K3K3
K3
 
Technology
TechnologyTechnology
Technology
 
3p
3p3p
3p
 

Similar to Psychoactive substance

การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคมการบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคมUtai Sukviwatsirikul
 
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคมการบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคมUtai Sukviwatsirikul
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์Utai Sukviwatsirikul
 
งดบุหรี่สุราสารเสพติด
งดบุหรี่สุราสารเสพติดงดบุหรี่สุราสารเสพติด
งดบุหรี่สุราสารเสพติดsupattra90
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 
สารเสพติด
สารเสพติดสารเสพติด
สารเสพติดAobinta In
 
DOAs for MT student.pptx
DOAs for MT student.pptxDOAs for MT student.pptx
DOAs for MT student.pptxPrabhop1
 
การใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กการใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กOzone Thanasak
 
อย่าไปหาสารเสพติด
อย่าไปหาสารเสพติดอย่าไปหาสารเสพติด
อย่าไปหาสารเสพติดพัน พัน
 
230111167342525149 (1).pdf
230111167342525149 (1).pdf230111167342525149 (1).pdf
230111167342525149 (1).pdfnakonsitammarat
 
poster_wichai_125_No4
poster_wichai_125_No4poster_wichai_125_No4
poster_wichai_125_No4RVSCHO
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่Isara Chiawiriyabunya
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่Isara Chiawiriyabunya
 
การเลิกบุหรี่ในร้านขายยา
การเลิกบุหรี่ในร้านขายยาการเลิกบุหรี่ในร้านขายยา
การเลิกบุหรี่ในร้านขายยาZiwapohn Peecharoensap
 

Similar to Psychoactive substance (20)

การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคมการบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
 
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคมการบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
 
Bio psy social_therapy
Bio psy social_therapyBio psy social_therapy
Bio psy social_therapy
 
Pc18
Pc18Pc18
Pc18
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
 
Drug
DrugDrug
Drug
 
งดบุหรี่สุราสารเสพติด
งดบุหรี่สุราสารเสพติดงดบุหรี่สุราสารเสพติด
งดบุหรี่สุราสารเสพติด
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
 
สารเสพติด
สารเสพติดสารเสพติด
สารเสพติด
 
DOAs for MT student.pptx
DOAs for MT student.pptxDOAs for MT student.pptx
DOAs for MT student.pptx
 
การใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กการใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็ก
 
อย่าไปหาสารเสพติด
อย่าไปหาสารเสพติดอย่าไปหาสารเสพติด
อย่าไปหาสารเสพติด
 
230111167342525149 (1).pdf
230111167342525149 (1).pdf230111167342525149 (1).pdf
230111167342525149 (1).pdf
 
ระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อ
 
poster_wichai_125_No4
poster_wichai_125_No4poster_wichai_125_No4
poster_wichai_125_No4
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
 
การเลิกบุหรี่ในร้านขายยา
การเลิกบุหรี่ในร้านขายยาการเลิกบุหรี่ในร้านขายยา
การเลิกบุหรี่ในร้านขายยา
 

Psychoactive substance

  • 1. PSYCHOACTIVE SUBSTANCE USE DISORDER รศ . พญ . วันเพ็ญ ธุรกิตต์วัณณการ
  • 2. PSYCHOACTIVE SUBSTANCE USE DISORDER ------------------------------------------ DEFINITION OF TERMS PSYCHOACTIVE SUBSTANCE USE DISORDER มีลักษณะ 2 ประการ ก . PATTERN OF PATHOLOGICAL USE ไม่สามารถลดหรือหยุดได้มี intoxication ตลอดทั้งวัน ใช้สารเกือบทุกวันเป็นอย่างน้อย 1 เดือนที่ intoxication จะมีความบกพร่องของการทำหน้าที่ของจิตใจ ข . ความบกพร่องของร่างกาย สังคม อาชีพ เนื่องจากกการใช้สารเสพติด
  • 3. TOLERANCE CROSS-TOLERANCE การเกิด TOLERANCE ต่อยาตัวหนึ่ง ซึ่งเป็นผลจากใช้ยาอีกตัวหนึ่ง Psychoactive substance use disorder แบ่งเป็น 1. Psychoactive substance dependence 2. Psychoactive substance abuse
  • 4.
  • 5. 6. ใช้ต่อแม้รู้ว่าเป็นผลเสียต่อสังคม จิตใจ ร่างกาย 7. marked tolerance 8. Characteristic withdrawal sym 9. ใช้สารเพื่อบรรเทาหรือหลีกเลี่ยง withdrawal ข . มีอาการมากกว่าหรือเท่ากับ 1 เดือน
  • 6.
  • 7. สาเหตุ 1. มีความผิดปกติทางด้านจิตใจ 2. Low socioeconomic group 3. Curiosity 4. มีปัญหาในครอบครัว 5. Learned conditioning
  • 8. ชนิดของยาหรือสารที่ใช้ แบ่งตามการออกฤทธิ์เป็น 1. ออกฤทธิ์กดประสาท ได้แก่ ฝิ่น มอร์ฟีน เฮโรอีน secobarbital 2. ออกฤทธิ์กระตุ้นประสาท ได้แก่ แอมเฟตามีน โคเคน 3. ออกฤทธิ์หลายอย่าง ได้แก่ กัญชา ใบกระท่อม ใช้น้อยจะกระตุ้นประสาท ใช้มากขึ้นจะกดประสาท และถ้าใช้มากขึ้นอีกเกิดประสาทหลอน
  • 9.  
  • 10.  
  • 11.  
  • 12. OPIOID DEPENDENCE กลไกการแกฤทธิ์ จับกับ opioid receptors ในปี 1974 พบสารเคมีในร่างกายซึ่งมีฤทธิ์คล้าย opioids คือ pentapeptide enkephalin , endorphins ซึ่ง endorphins เกี่ยวกับการสื่อสารทางประสาทและระงับปวดไข้ ซึ่งมีการหลั่งออกมาตามธรรมชาติ เมื่อบุคคลได้รับอันตรายพบกับความเจ็บปวด Tolerance และ dependence การเปลี่ยนแปลงของจำนวน opioid receptor เป็นผลจากการใช้ opioids ติดต่อกันทำให้เกิด dependence การเปลี่ยนแปลงของแคลเซี่ยม , cyclic amp , adenyl nucleotides ในเซลล์ก็เป็นผลจากการใช้ยาเป็นเวลานาน
  • 13.
  • 14.
  • 15. OVERDOSE มีลักษณะ คือ pinpoint pupils , coma และหายใจช้าอุณหภูมิต่ำ (hypothermia) ความดันโลหิตต่ำ ช๊อคและหัวใจเต้นช้า สิ่งที่จะเตือนให้ทราบว่าสาเหตุจาก opioids คือ รอยเข็ม การรักษา OVERDOSE - ดูแลทางเดินหายใจและ vital sign - naloxone 0.4 มก . เข้าเส้น - ต้องสังเกตอาการผู้ป่วยเพราะอาจ coma อีกใน 4-5 ชั่วโมง Withdrawal เกิดขึ้น 6-8 ชั่วโมงหลังจาก dose สุดท้ายอละอาการหายไปภายใน 7-10 วัน ส่วน methadone withdrawal เริ่ม 1-3 วัน หลังจาก dose สุดท้าย และอาการหายไป 10-14 วัน
  • 16. DIAGNOSTIC CRITERIA FOR OPIOID WITHDRAWAL ก . หยุดหรือลดปริมาณการใช้แล้วมีอาการต่อไปนี้ 1) มีความอยากและต้องแสวงหามาใช้ ( CRVING FOR) 2) คลื่นไส้หรืออาเจียน 3) ปวดกล้ามเนื้อ 4) น้ำตาไหลหรือน้ำมูกไหล 5) รูม่านตาขยาย ขนลุก หรือ เหงื่อออก 6) ท้องเสีย 7) หาวนอน 8) มีไข้ 9) นอนไม่หลับ ( INSOMNIA)
  • 17. ข . ไม่ได้เกิดจากความผิดปกติทางร่างกายหรือจิตใจอย่างอื่น การรักษา OPIOID WITHDRAWAL 1. DETOXIFICATION METHADONE ขนาด 20-80 มก . ต่อวัน ( อาจขึ้นถึง 120 มก ./ วัน ) CLONIDINE ขนาดที่ให้ 0.1-0.3 มก . 3-4 ครั้งต่อวัน LAMM (LEVO - & - ACETYLMETHADOL) 30-80 มก . 3 ครั้ง / สัปดาห์ METHADONE MAINTENANCE มีประโยชน์หลายอย่าง ทำให้สามารถเลิกเฮโรอีนแบบฉีดได้ ไม่ผิดกฎหมาย ทำให้เกิด EUPHORIA เล็กน้อย และไม่ทำให้ง่วงซึมหรือซึมเศร้า เมื่อใช้ไปนาน ๆ และทำงานได้ไม่ก่ออาชญากรรม ข้อเสียของมันคืออย่างไรก็ตามก็ยังติด METHODONE อยู่
  • 18.  
  • 19. 2. การฟื้นฟูทางด้านจิตใจและสังคม (REHABILITATION) ก . จิตบำบัด (INDIVIDUAL PSYCHOTHERAPY) ข . GROUP PSYCHOTHERAPY นิยมแบบ SELF-HELP GROUP ค . อาชีวบำบัด (OCCUPATIONAL THERAPY) ฝึกอาชีพ ง . ชุมชนบำบัด (THERAPEUTIC COMMUNITY) ประกอบด้วยสมาชิก ซึ่งมีปัญหาติดยาเสพติดเหมือนกัน และมีความประสงค์จะเลิกยาเสพติดเหมือนกัน ต้องมีแรงจูงใจ เป้าหมาย ต่อไปคือการเปลี่ยนแนวชีวิต พัฒนาความซื่อสัตย์ ความรับผิดชอบ SOCIAL SKILLS และเลิกพฤติกรรมต่อต้านสังคมก่ออาชญากรรม STAFF ใน THERAPEUTIC COMMUNITY ก็เป็นผู้ที่เคยติดสารเสพติดมาก่อนและเลิกได้แล้ว
  • 20. SEDATIVE HYPNOTICS AND ANXIOLYTIC SUBSTANCE USE DISORDER SEDATIVE เป็นยาที่ช่วยลดความกระวน กระวายทำให้เกิดความสงบ ส่วน HYPNOTIC ทำให้ง่วงนอนและหลับ สามารถแบ่งเป็น Barbiturates และ NON BARBITURATE
  • 21. BENZODIAZEPINE ADVERSE EFFECTS ไม่เหมือนบาร์บิทูเรต ตรงที่ปลอดภัยมากกว่า กดการหายใจเพียงเล็กน้อย จะเกิดอาการถอนยาเมื่อใช้มากกว่า 40 มก . ต่อวัน อาการถอนยาได้แก่ วิตกกังวล ชาปลายมือปลายเท้า อารมณ์เศร้า ทนต่อแสงสว่างไม่ได้ คลื่นไส้ เหงื่อแตก ปวดกล้ามเนื้อ และบางครั้งชัก ( ส่วนใหญ่ต้องใช้ มากกว่า 100 มก . ต่อวัน ) การรักษา - ค่อย ๆ ลดปริมาณยาลง 10 % ทุกวัน - เปลี่ยนเป็นตัวที่ออกฤทธิ์ยาว ลดลงวันละ 10% - ลดมากกว่าวันละ 10 % ชักได้ ให้ยากันชัก ควบไปด้วย
  • 22. DIAGNOSTIC CRITERIA FOR SEDATIVE HYNOTIC ANXIOLYTIC INTOXICATION ก . เพิ่งใช้ SEDATIVE , HYPNOTIC หรือ ANXIOLYTIC ข . พฤติกรรมเปลี่ยนแปลงในทางไม่เหมาะสม ค . > 1 ข้อ 1) SLURRED SPEECH 2) INCOORDINATION 3) UNSTEADY GAIT 4) IMPAIR CONCENTRATION OR MEMORY ง . ไม่ได้เกิดจากความผิดปกติทางร่างกายหรือจิตใจอื่น ๆ
  • 23. DIAGNOSTIC CRITERIA FOR UNCOMPLICATED SEDATIVE , HYPNOTIC OR ANXIOLYTIC WITHDRAWAL DELIRIUM ก . ลดปริมาณหรือหยุดใช้ แล้วมีอาการต่อไปนี้ > 3 ข้อ 1) NAUSIA OR VOMITING 2) FATIQUE 3) AUTONOMIC HYPERACTIVITY 4) ANXIETY OR IRRITABLE 5) ORTHOSTATIC HYPOTENSION 6) COARSE TREMOR ของมือ ลิ้น และหนังตา 7 ) INSOMNIA ข . ไม่เกิดจากความผิดปกติทางร่างกายหรือจิตใจอื่น ๆ
  • 24. DIAGNOSTIC CRITERIA FOR SEDATIVE HYPNOTIC OR ANXIOLYTIC WITHDRAWAL DELIRIUM ก . DELIRIUM เกิดขึ้นหลังจากหยุดหรือลดปริมาณการใช้ ข . AUTONOMIC HYPERACTIVITY ค . ไม่ได้เกิดจากความผิดปกติทางร่างกายหรือจิตใจอื่น DIAGNOSTIC CRITERIA FOR AMNESTIC DISORDER ก . AMNESTIC SYNDROME หลังจากใช้อย่างหนักและนาน ข . ไม่ได้เกิดจากความผิดปกติทางร่างกายหรือจิตใจ
  • 25.  
  • 26.  
  • 27. COCAINE COCAINE กระตุ้นระบบ DOPAMINE และ BLOCK การ REUPTAKE SEROTONIN มีการออกฤทธิ์ 30 นาที ถึง ชม . หลังฉีดเข้าเส้นหรือทางจมูก เพราะฉะนั้นเมื่อหยุดใช้ SEROTONIN เกิด DEPRESSION COCANICE INTOXICATION หายภายใน 48 ชม . หลักเกณฑ์ดังนี้ ก . เพิ่งใช้ ข . พฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไปในทางไม่เหมาะสม ค . > 2 ข้อ ภายใน 1 ชม . ที่ใช้ COCAINE 1) ใจเต้นเร็ว 2) รูม่านตาขยาย 3) ความดันโลหิตขึ้นสูง 4) เหงื่อแตกมีไข้หนาวสั่น 5) NAUSIA OR VOMITING 6) VISUAL OR TACTILE HALLUCINATION ง . ไม่ได้มีความผิดปกติทางร่างกายหรือจิตใจอื่น ๆ
  • 28. COCAINE PSYCHOSIS โดย COCAINE INTOXICATION ในปริมาณมาก ๆ ทำให้เกิด IDEAS IF REFERRENCE ความคิดระแวง แรงขับทางเพศเพิ่มขึ้น เสียงดังในหู COCAINE WITHDRAWAL อาการสูงสุดภายใน 2-4 วัน และมีเศร้าหงุดหงิดเป็นเวลาหลายอาทิตย์ อาการหายไปภายใน 3 อาทิตย์ หรือ 3 เดือน หลักเกณฑ์การวินิจฉัย COCAINE WITHDRAWAL ก . หยุดหรือลดปริมาณการใช้ แล้วติดตามด้วย ซึมเศร้า กังวล มีอาการต่อไปนี้ > 1 ข้อ นานมากกว่า 24 ชม . หลังหยุดใช้สาร 1) FATIGUE 2) INSOMNIA OR HYPERSOMNIA 3) PSYCHOMOTOR AGITATION ข . ไม่ได้เกิดจากความผิดปกติทางร่างกายหรือจิตใจอื่น ๆ
  • 29. การรักษา - สำหรับ COCAINE OVERDOSE รักษาโดยให้ออกซิเจน ถ้ามีชัก หรือกังวลใจให้ DIAZEPAM 5-10 มก . เข้าเส้น - สำหรับฤทธิ์ทางด้าน SYMPATHOMIMETIC ให้ INDERAL - ให้ยาในช่วงหยุด COCAINE ได้แก่ ยานอนหลับ ยาแก้เศร้า
  • 30.  
  • 31.  
  • 32. ปีที่ 55 ฉบับที่ 17110 วันพฤหัสบดีที่ 25 พฤศจิกายน 2547 ชุดปราบยาเสพติดบก . น .2 ขยายผลการจับกุมพ่อค้ารายเล็ก ซ้อนแผน โทร . สั่งยานรก 300 เม็ดจากนักร้องชื่อดัง ให้หิ้วมาส่งที่ ปากซอย ติดกับนำยาบ้ามาส่ง พร้อมแฟนหนุ่มลูกชายผู้บริหารแบงค์ใหญ่ ถูกรวบทั้งคู่พร้อมของกลาง ไปค้นในบ้านได้อีกเกือบ 4,000 เม็ด ทั้งคู่รับสารภาพอ้างว่าทำเพื่อหาค่าใช้จ่าย
  • 33. AMPHETAMINE ADVERSE EFFECTS ผลต่อร่างกาย มีไข้ ปวดศีรษะ ใจสั่น ความดันโลหิตสูง คลื่นไส้ อาเจียน เดินเซ เกร็ง ชัก หมดสติ ผลต่อจิตใจ กกระวนกระวาย ซึมเศร้า นอนไม่หลับ บางรายมีอาการทางจิต หวาดระแวง ประสาทหลอน เกิด DELIRUM ได้ ถ้าใช้วิธีฉีดเข้าเส้นเกิด “ RUSH ” มีความสุข EUPHORIA AMPHETAMINE INTOXICATION หายภายใน 48 ชม . มีหลักเกณฑ์การวินิจฉัยดังนี้ ก . เพิ่งใช้ AMPHETAMINE ข . พฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไปในทางไม่เหมาะสม ค . > 2 ข้อ ภายใน 1 ชม . ที่ใช้ 1) ใจเต้นเร็ว 2) รูม่านตาขยาย 3) HYPERTENSION 4) เหงื่อแตกและหนาวสั่น 5) NAUSEA OR VOMITING ง . ไม่ได้เกิดจากความผิดปกติของร่างกายหรือจิตใจอื่น ๆ
  • 34. AMPHETAMINE WITHDRAWAL เป็นมากที่สุดภายใน 2-4 วัน อาการอันตรายที่สุดคือ DEPRESSION คิดฆ่าตัวตาย หลักเกณฑ์วินิจฉัย ก . หยุดหรือลดปริมาณการใช้ ซึ่งจะตามด้วยอารมณ์เศร้า หงุดหงิด กังวลใจ และมีอาการต่อไปนี้ > 1 ข้อ เป็นนานกว่า 24 ชม . หลังหยุดใช้สาร 1) FATIGUE 2) INSOMNIA OR HYPERSOMNIA 3) PSYCHOMOTOR AGITATION ข . ไม่ได้เกิดจากความผิดปกติทางร่างกายหรือจิตใจอื่น ๆ การรักษา 1. ยาตามอาการ เช่น หลงผิดก็ให้ ANTIPSYCHOTIC DRUG 2. จิตบำบัด
  • 35.  
  • 36. LYSERGIC ACID DIETHYLAMIDE (LSD) เป็นประเภทหนึ่งของ HALLUCINOGENS ที่ให้ผล SYMPATHOMIMETIC EFFECTS ADVERSE EFFECTS มี BAD TRIP ซึ่งคล้าย PANIC REACTION จาก CANNABIS หรือมีอาการ ทางจิต เป็นอยู่นาน 8-12 ชม . FLASHBACK เป็นปรากฏการณ์ที่ความรู้สึก อาการ เหมือนตอนกำลังใช้ยากลับมาอีก แต่ความจริงไม่ได้ใช้ มักเกิดเมื่อมีความเครียด หรือไม่สบาย EGO อ่อนลง มักเป็นอยู่นาน 24-48 ชม . การรักษา ให้ความมั่นใจ และให้ยาเพื่อให้สงบ
  • 37. หลักเกณฑ์การวินิจฉัย HALLUCINOGEN HALLUCINOSIS ก . เพิ่งใช้ ข . พฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไปในทางไม่เหมาะสม ค . การรับรู้เปลี่ยนแปลงในขณะมีสติอยู่ (DEPERSONALIZATION DEREALIZATION, ILLUSION, HALLUCINATION) ง . มีอาการต่อไปนี้ตั้งแต่ 2 ข้อขึ้นไป 1) รูม่านตาขยาย 2) ใจเต้นเร็ว 3) เหงื่อแตก 4) ใจสั่น 5) ตามัว 6) มือสั่น 7) INCOORDINATION จ . ไม่ได้เกิดจากความผิดปกติทางร่างกายหรือจิตใจอื่น ๆ
  • 38.  
  • 39. สารระเหย (VOLATTLE SOLVENTS) มีองค์ประกอบของ TOLUENE ACETONE , BENZENE และ HALOGENATED HYDROCARBONS ใช้วิธีสูดดม INTOXICATION จะเกิดขึ้นภายใน 5 นาที และอยู่นาน 15-30 นาที ผู้ใช้จะมีผื่นแดงบริเวณจมูกและปาก มีกลิ่นปาก ระคายเคืองตา คอ ปอด และจมูก ทำลายตับ ไต และอวัยวะภายในและสมอง DIAGNOSTIC CRITERIA FOR INHALANI INTOXICATION ก . เพิ่งใช้สาร INHALANT ข . พฤติกรรมไม่เหมาะสม
  • 40. ค . > 2 ข้อ 1) DIZZINESS 2) NYSTAGMUS 3) ATAXIA 4) SLURRED 5 ) INCOORINATION 6) FATI GUE 7) REFLEXES 8) PSYCHOMOTOR RETARDATION 9) TREMOR 10) กล้ามเนื้ออ่อนแรง 11 ) ตาพร่า 12) STUPOR OR COMA 13) EUPHORIA ง . ไม่ได้เกิดจากความผิดปกติทางร่างกายหรือจิตใจอื่น การักษา 1) เมื่อต้องการเลิกอาจมี หงุดหงิด ซึมเศร้า นอนไม่หลับ ให้ยาตามอาการ 2) ทางด้านจิตใจและสังคม
  • 41.  
  • 42.  
  • 43. MARIHUANA สมัยก่อนใช้เป็นยาแก้ปวด ยาแก้ชัก และยานอนหลับ รักษาโรคต้อหิน อาการคลื่นไส้อาเจียน ต้านมะเร็งและฆ่าเชื้อโรคได้ สารที่สำคัญคือ DELTA - 9 - TETRAHYDROCANNABINOL (THC) CANNABIS INTOXICATION เกิดขึ้นทันทีหลังจากสูดเข้าไป สูงสุดภายใน 30 นาที และออกฤทธิ์ขนาน 2-4 ชม . ถ้าใช้วิธีกิน 5-12 ชม . หลักเกณฑ์การวินิจฉัย ก . เพิ่งใช้ CANNABIS ข . พฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไปในทางไม่เหมาะสม ค . > 2 ข้อ ภายใน 3 ชม . เมื่อใช้กัญชา 1 ) เยื่อบุตาอักเสบ 2) ความอยากอาการเพิ่มขึ้น 3) ปากแห้ง 4) หัวใจเต้นเร็ว ง . ไม่ได้เกิดจากความผิดปกติทางร่างกายหรือจิตใจอื่น ๆ
  • 44. CANNABIS DEPENDENCE มีอาการถอนยาเล็กน้อย ได้แก่ นอนไม่หลับ คลื่นไส้อาเจียน สั่น เหงื่อแตก CHRONIC UES ทำให้เกิด AMOTIVATIONAL SYNDROME และ 1 ) PSYCHOSIS มีรายงานในอินเดีย อียิปต์ โมรอคโค 2) DELIRIUM จะเกิดเมื่อรับประทานกัญชาเป็นจำนวนมาก 3) FLASHBACK CHROMOSOME ภูมิต้านทานต่ำลง ถุงลมปอดโป่งพอง มะเร็งปอดและทางเดินหายใจ สมองเหี่ยว การรักษา 1) MEDICATION 2) PSYCHOSOCIAL TREATMENT
  • 45.  
  • 46. CAFFEINE ในกาแฟ 1 ถ้วย มีคาเฟอีน อยู่ 100-150 มก . เมื่อร่างกายได้รับคาเฟอีน 50-100 มิลลิกรัม จะเพิ่มความสดชื่น ทำงานคล่องขึ้น จึงเกิด PSYCHOLOGICALLY DEPENDECE นอกจากนั้นยังทำให้ปัสสาวะบ่อย กระตุ้นกล้ามเนื้อหัวใจ กรดในกระเพาะอาหารหลั่ง ความดันโลหิตขึ้น CAFFEINE INTOXICATION ได้มากกว่าวันละ 1 กรัม มีหัวใจเต้นเร็วผิดปกติ กระสับกระส่าย TINNITUS ในขนาด 10 กรัม หรือมากกว่านั้นเกิด GRANDMAL SEIZURE การหายใจล้มเหลวจนถึงเสียชีวิต CAFFEINE WITHDRAWAL ปวดศีรษะเกิดขึ้น 15-18 ชั่วโมง หลังการได้รับครั้งสุดท้าย หงุดหงิด ไม่มีแรง ซึมเศร้า
  • 47. หลักเกณฑ์การวินิจฉัย CAFEINE INTOXICATION ก . เพิ่งได้รับ คาเฟอีน ปกติในปริมาณมากกว่า 250 กก . ข . > 5 ข้อ 1) กระสับกระส่าย 2) NERVOUSNESS 3) ตื่นเต้น 4) INSOMNIA 5) FLUSHED FACE 6) ปัสสาวะบ่อย 6) ทางเดินอาหารปั่นป่วน 7) ปวดกล้ามเนื้อ 8) ความคิดและคำพูดสับสน 9) PSYCHOMOTOR AGITATION 1 0 ) PERIODS OF INEXHAUSTIBULITY 1 1 ) หัวใจเต้นเร็วหรือเต้นผิดปกติ ค . ไม่ได้เกิดจากความผิดปกติทางร่างกายหรือจิตใจอื่น ๆ ได้แก่ ANXIETY DISORDER
  • 48. การรักษา 1. อาศัยความตั้งใจของผู้ป่วย และยาตามอาการ 2. ค่อย ๆ ลดประมาณคาเฟอีนในแต่ละวัน อาการ WITHDRAWAL ใช้เวลา 4-5 วัน
  • 49. NICOTINE ขนาดมากว่า 60 มก . ทำให้เสียชีวิตได้ บุหรี่แต่ละมวนมีนิโคติน 0.5 มก . นิโคตินทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสรีระวิทยาดังนี้ 1) PERIPHERAL BLOOD VESSELS เกิดการหดตัว 2) การบีบตัวของลำไส้เพิ่มขึ้น 3) เพิ่มการหลั่ง NE และ EPINEPHRINE 4 ) กระตุ้น HYPOTHALAMIC PLEASURE CENTER ชอบใช้นิโคติน 5) ลดการเต้นของหัวใจ 6) REM SLEEP เปลี่ยนแปลง 7) TREMOR 8 ) บุตรมีนำหนักน้อยกว่าปกติ
  • 50. NICOTINE WITHDRAWAL 90-120 นาที หลังจากสูบบุหรี่มวนสุดท้าย และมีอาการสูงสุดภายใน 24 ชั่วโมง หลังจากหยุดสูบ หลักเกณฑ์การวินิจฉัย NICOTINE WITHDRAWAL ก . ใช้นิโคตินทุกวันเป็นเวลาอมย่างน้อย 2-3 อาทิตย์ขึ้นไป ข . หยุดหรือลดประมาณการใช้ มีอาการมากกว่าหรือเท่ากับ 4 ข้อ ภายใน 24 ชั่วโมง 1) CRAVING FOR NICOTINE 2 ) หงุดหงิด ก้าวร้าว โกรธ 3) กังวลใจ 4) สมาธิไม่ดี
  • 51. 5) กระสับกระส่าย (RESTLESSNESS) 6) อัตราการ เ ต้นของหัวใจลดลง 7) ความอยากอาหารเพิ่มขึ้นหรือน ้ำ หนักเพิ่มขึ้น การรักษา - สำคัญที่ความตั้งใจและกำลังใจ - ยาตามอาการ หงุดหงิด นอนไม่หลับ
  • 52.