SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
ประเมินสถานการณ์การพูดคุยสันติภาพ
หลังการลงนามฉันทามติทั่วไปฯ
เมธัส อนุวัตรอุดม
สานักสันติวิธีและธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกล้า
•สรุปสถานการณ์และข้อเท็จจริง
1.เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย ผู้แทน
ของรัฐบาลไทยนาโดยพล.ท.ภราดร พัฒนถาบุตร เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ กับ
ผู้แทนของกลุ่มบีอาร์เอ็นนาโดยนายฮัสซัน ตอยิบ ผู้ประสานงานกลุ่ม ได้ลงนามในฉันทา
มติทั่วไปว่าด้วยกระบวนการพูดคุยสันติภาพ (General Consensus on Peace
Dialogue Process) ซึ่งรัฐบาลมาเลเซียเป็นผู้อานวยความสะดวกในเรื่องของการ
ประสานงานและสถานที่ในการลงนาม โดยมีดาโต๊ะมูฮัมหมัด ทาจูดดิน บินอับดุลวาฮับ
เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติมาเลเซียเป็นสักขีพยาน
2.เอกสารดังกล่าวมีเนื้อหาหลัก คือ รัฐบาลไทยได้แต่งตั้งเลขาธิการสภาความมั่นคง
แห่งชาติเป็นหัวหน้ากลุ่มงานสนับสนุนการสร้างสภาวะที่เกื้อกูลต่อการแสวงหาทางออก
จากความขัดแย้งในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึ่งรัฐบาลไทยมีความตั้งใจที่จะพูดคุย
สันติภาพกับกลุ่มบุคคลที่มีความเห็นต่างจากรัฐในฐานะที่เป็นผู้ส่วนได้เสียกลุ่มหนึ่งใน
การแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ภายใต้กรอบของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร
ไทย โดยมีประเทศมาเลเซียเป็นผู้อานวยความสะดวกในการพูดคุย (Facilitator) ทุกคน
ที่เข้าร่วมเป็นคณะทางานจะอยู่ภายใต้มาตรการดูแลรักษาความปลอดภัยตลอดทั้ง
กระบวนการ
•ข้อแตกต่าง
1. พูดคุย (dialogue) – เจรจา (negotiation)
2. ผู้อานวยความสะดวก (facilitator) – คนกลางไกล่เกลี่ย
(mediator) – สักขีพยาน (witness) – ผู้สังเกตการณ์
(observer)
•จุดเด่น
1. เจตจานงทางการเมืองชี้ทิศทางสันติวิธี
2. ความเป็นทางการ/ ยอมรับการดารงอยู่ของบีอาร์เอ็น/ มาเลเซีย
อานวยความสะดวก
3. บีอาร์เอ็นมีบทบาทในพื้นที่จริง – อุสตาซฮัสซัน ตอยิบได้รับมอบ
จากสภาองค์กรนา
4. สัญญาณของการประนีประนอมสองฝ่าย (จากรัฐไทย  ทางการ/
ยอมรับบีอาร์เอ็นและมาเลเซีย/ จากบีอาร์เอ็น พูดคุยภายใต้กรอบ
ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย)
• ความเสี่ยง
1. เดินเร็วเกินไป – หวังผลทันตา (เร่งบรรลุข้อตกลงหยุดยิง/ พิสูจน์ตัว)
2. เร่งเป้าปลายทาง – ละเลยกระบวนการระหว่างทาง
3. ความไว้วางใจระหว่างรัฐไทยกับบีอาร์เอ็นยังไม่มี
4. กลุ่มขบวนการถูกมาเลเซียและไทยจับมือกันบีบ
5. เอกภาพทางความคิดในรัฐไทยและบีอาร์เอ็น (เห็นด้วย - ดูท่าที -
ลังเล - ไม่เห็นด้วย - ต่อต้าน)
6. ภาพเป็นว่า “คุยกันสองคน”
7. ความเข้าใจของสังคมใหญ่
• สถานการณ์หลังการลงนาม
1. ความรุนแรงยังคงอยู่ ขึ้นลงตามสถานการณ์ แต่จะลดอย่างมีนัยสาคัญหรือไม่
ขึ้นอยู่กับการตอบสนองในมาตรการเสริมสร้างความเชื่อมั่นระหว่างกัน
(Confidence Building Measures – CBM)
2. ภาคประชาสังคมในพื้นที่ตื่นตัวมากขึ้นกับกระบวนการสันติภาพ และจะสร้าง
กระบวนการคู่ขนานในการติดตามและเสนอแนะอย่างต่อเนื่อง (Safety Net)
3. กระบวนการพูดคุยจะใช้เวลานาน หลายรอบ หลายกลุ่ม อดทน (กรอบคิด
ระยะยาว)
4. หากรัฐบาลไม่จริงใจ มุ่งเพียงผลการเมือง หรือไม่เดินด้วยความรู้ความเข้าใจ
 กระบวนการจะล้ม/ ความรุนแรงจะทวีคูณ/ กลุ่มอาวุโสในบีอาร์เอ็นสูญเสีย
การนา/ กลุ่มต่อสู้ในพื้นที่เติบโต/ ยืดเยื้อเรื้อรัง
ช่วงสารวจความเป็นไปได้
ในการพูดคุย
ช่วงการหาข้อตกลง
สันติภาพ
ช่วงการสร้างสภาวะที่เกื้อกูลต่อการแสวงหาทางออก
จากความขัดแย้ง
สารวจความสนใจ +
กลุ่มที่จะพูดคุย
แกนนาสองฝ่ายรับรู้
กระบวนการไม่เป็นทางการ
ทางานร่วมกันเพื่อ
สร้างความไว้ใจ
วางกรอบการพูดคุย
เพื่อหาข้อตกลง
สันติภาพร่วมกัน
1 2 3
แกนนาสองฝ่ายมอบหมาย
อานาจหน้าที่เป็นทางการ
แกนนาสองฝ่ายตั้งคณะ
ผู้แทนหารือเป็นทางการ
มีฝ่ายการเมือง/เจ้าหน้าที่รัฐ
บางส่วนเข้าร่วมพูดคุย
การร่วมกันหา
ข้อตกลง
สันติภาพ
สารวจความสนใจ ความจริงใจ และ
ความเป็นไปได้ในการหาทางออกร่วมกัน
• ตั้งคณะผู้ประสานงาน/ทางานร่วม
• แต่ละฝ่ายแสดงให้เห็นอานาจใน
การเปลี่ยนแปลง
• คิดแนวทาง (roadmap) ที่จะ
นาไปสู่การสร้างความเชื่อมั่น
ระหว่างกัน
• ความไม่ไว้ใจกัน
• การไม่รู้เจตนาที่แท้จริงของอีกฝ่าย
• ความไม่ชัดเจนว่าใครมีบทบาทจริง
• ความรุนแรงอาจมีมากขึ้นเพื่อแสดง
พลังต่อรอง หรือปฏิเสธการพูดคุย
(ร่าง) แผนที่เดินทางสู่สันติภาพในจังหวัดชายแดนภาคใต้
เป้าหมาย: เพื่อยุติความรุนแรงและแสวงหาทางออกสู่สันติภาพที่ยอมรับได้ร่วมกัน
เสริมสร้างความเชื่อมั่น ความ
ไว้วางใจระหว่างกัน รวมถึงแรง
สนับสนุนจากภาคส่วนต่างๆ
• เริ่มลดความรุนแรงในบางพื้นที่
• ออกนโยบาย/ดาเนินมาตรการที่
ตอบสนองต่อความต้องการ
ระหว่างกันเพื่อเสริมสร้างความ
ไว้วางใจอย่างเป็นลาดับขั้นตอน
• การทาความเข้าใจกับกลุ่มผู้ที่ไม่
เห็นด้วยกับการพูดคุยในแต่ละ
ฝ่าย
• ความไม่เป็นเอกภาพทาง
ความคิดภายในแต่ละฝ่าย
หาข้อสรุปร่วมกันในส่วนของหลักการ
รูปแบบ และกรอบของการหาข้อตกลง
• วางกรอบของการหาข้อตกลง
สันติภาพ
• ประชุมร่วมเพื่อหาข้อสรุปในส่วน
ของหลักการ รูปแบบ และกรอบ
ของการหาข้อตกลงสันติภาพ
• การหาความเห็นร่วมต่อกรอบการ
พูดคุยเพื่อหาข้อตกลงสันติภาพ
• ความไม่เป็นเอกภาพทางความคิด
ภายในแต่ละฝ่าย
บรรลุข้อตกลงสันติภาพที่ทุกฝ่าย
ยอมรับได้ร่วมกัน
• ตั้งคณะผู้แทนในการหารือ
ข้อตกลงสันติภาพ/ คณะทางาน
เชิงเทคนิค/ คณะที่ปรึกษา
• ประชุมร่วมเพื่อหาข้อตกลงใน
ประเด็นเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง
• การหาความเห็นร่วมในแต่ละ
ประเด็นเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง
• ความไม่เป็นเอกภาพทางความคิด
ภายในแต่ละฝ่าย
• การทาความเข้าใจกับผู้เกี่ยวข้อง
หลายกลุ่มพยายามริเริ่ม
กระบวนการพูดคุย
ค้นหาบุคคลที่ใกล้ชิดกับผู้มีบทบาทจริง
ของทั้งสองฝ่ายในการสร้างสันติภาพ
• ติดต่อผู้ที่อาจจะเชื่อมต่อและ
สื่อสารถึงผู้มีบทบาทจริงได้
• พูดคุยเพื่อสร้างความสัมพันธ์และ
ความไว้วางใจกับผู้ที่จะ
ประสานงานกับกลุ่มต่างๆ
• ความไม่ไว้ใจกัน
• การไม่รู้เจตนาที่แท้จริงของอีกฝ่าย
• ความไม่ชัดเจนว่าใครมีบทบาทจริง
เป้าหมาย
กิจกรรม
ข้อท้าทาย
ขั้นตอนและกรอบเวลากระบวนการพูดคุยสันติภาพ (เมษายน 2556 – เมษายน 2558)
ตั้งคณะทางาน
ร่วมในการกาหนด
กรอบแนวทาง
และกระบวนการ
ทางานเพื่อ
เสริมสร้างความ
เชื่อมั่นระหว่างกัน
(Roadmap)
กาหนดกรอบ
ประเด็น
การพูดคุย
ในการหา
ข้อตกลงสันติภาพ
(Framework
for Negotiation)
1. คณะผู้แทนระดับสูง ประชุมทุก 3 เดือน (8 ครั้ง)
2. คณะทางานหลัก ประชุมทุก 1 เดือน (24 ครั้ง)
3. คณะทางานย่อยเชิงเทคนิค ประชุมตามความเหมาะสม
2556 2557 2558
ระยะการเสริมสร้างความเชื่อมั่นและสภาวะที่เกื้อกูลต่อการแสวงหาทางออกจากความขัดแย้ง
ระยะการพูดคุยเจรจาหาข้อตกลงสันติภาพที่ยอมรับได้ร่วมกัน
ดาเนินกิจกรรม/
มาตรการที่เห็นว่า
จะสามารถสร้าง
ความเชื่อมั่น
ระหว่างกันได้อย่าง
ค่อยเป็นค่อยไป
(Confidence
Building)
ตั้ง
คณะทางาน
ย่อยเชิง
เทคนิคเพื่อ
พิจารณา
ประเด็นที่
เกี่ยวข้องใน
รายละเอียด
ดาเนิน
กระบวนการ
พูดคุยเจรจา
เพื่อหา
ข้อตกลงที่
ยอมรับได้
ร่วมกันใน
แต่ละประเด็น
บรรลุข้อตกลง
สันติภาพ
ระหว่างกัน
Peace
Roadmap
ความรุนแรง
เริ่มลดลง
อย่างมี
นัยสาคัญ
ประเด็น
สาคัญ
ที่ต้องหารือ
เพื่อนาไปสู่
สันติภาพ
ที่ยั่งยืน
ข้อตกลง
หยุดยิงชั่วคราว
พิจารณา
ข้อตกลงใน
การหยุดยิง
ชั่วคราว
คณะทางาน
ย่อยเชิงเทคนิค
เพื่อพิจารณา
ประเด็นที่
เกี่ยวข้องใน
รายละเอียด
พัฒนาการของ
การพูดคุยเจรจา
ข้อตกลง
สันติภาพ
ที่ทุกฝ่ายยอมรับ
ได้ร่วมกัน
1
มาตรการ
เชิงบวกเพื่อ
สร้าง
บรรยากาศ
รัฐบาล, กองทัพ ฯลฯ กลุ่มขบวนการ
ภาคประชาสังคม
นอกพื้นที่
ภาคประชาสังคม
ในพื้นที่
เส้นทาง ผู้เกี่ยวข้อง และแนวทางของกระบวนการสันติภาพในระดับต่างๆ
ผู้เกี่ยวข้อง
เครือข่าย/
ข้อต่อ
AREASOFOPERATION
III
II
I
ผู้ที่มีอิทธิพล
ทางความคิด
ชุมชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
ระดับกลุ่มผู้มีอานาจ
ตัดสินใจทางการเมือง
ระดับองค์กร
ประชาสังคม
(นักการศาสนา,
นักวิชาการ,
สื่อมวลชน, NGOs,
นักศึกษา, องค์กร
วิชาชีพ)
ระดับชุมชนรากหญ้า
ผลักดันข้อเสนอทางการเมืองที่
สอดคล้องกับความต้องการของ
ประชาชน / เชื่อมประสานภาคส่วน
ต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งระหว่างชุมชน
ฐานรากกับกลุ่มผู้มีอานาจตัดสินใจ เพื่อ
สร้างช่องทางสื่อสารที่ทั่วถึง
การพูดคุยและการเจรจาสันติภาพเพื่อหา
แนวทางยุติความรุนแรงและหาทางออกที่ทุก
ฝ่ายยอมรับได้
เปิดพื้นที่ปลอดภัยให้กับทุก
ฝ่ายแสดงความคิดเห็นและ
สะท้อนความต้องการของ
ประชาชนในพื้นที่ / สร้าง
ความร่วมมือด้วยกิจกรรม
ต่างๆ ในระดับชุมชน / งาน
ดูแลเยียวยาและลดอคติฯลฯ
แนวทาง/ยุทธศาสตร์ระดับ
(เส้นทางหรือแทร็ค)
ผู้ที่มีอิทธิพล
ทางความคิด
“พื้นที่กลางสร้างสันติภาพจากคนใน”
รัฐบาล กลุ่มต่อต้านรัฐ
กระจายอานาจ
(อบจ./เทศบาล/อบต.)
ถ่ายโอนตามเจตนารมณ์
รวมศูนย์ เอกราชเขตปกครองพิเศษกระจายอานาจ
(ท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ)
พื้นที่ต่อรอง
(Negotiating range)
รัฐ
ขบวน
การ
กลุ่มประชาสังคม
(เปิด) พื้นที่ทางการเมือง
ความเป็นไปได้ต่อทางออกของปัญหา
ภายใต้กรอบรัฐธรรมนูญไทย

More Related Content

More from Taraya Srivilas

โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมTaraya Srivilas
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6Taraya Srivilas
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานTaraya Srivilas
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจกTaraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 Taraya Srivilas
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขTaraya Srivilas
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชTaraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 

More from Taraya Srivilas (20)

โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 

ประเมินสถานการณ์การพูดคุยสันติภาพ

  • 2.
  • 3.
  • 4.
  • 5. •สรุปสถานการณ์และข้อเท็จจริง 1.เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย ผู้แทน ของรัฐบาลไทยนาโดยพล.ท.ภราดร พัฒนถาบุตร เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ กับ ผู้แทนของกลุ่มบีอาร์เอ็นนาโดยนายฮัสซัน ตอยิบ ผู้ประสานงานกลุ่ม ได้ลงนามในฉันทา มติทั่วไปว่าด้วยกระบวนการพูดคุยสันติภาพ (General Consensus on Peace Dialogue Process) ซึ่งรัฐบาลมาเลเซียเป็นผู้อานวยความสะดวกในเรื่องของการ ประสานงานและสถานที่ในการลงนาม โดยมีดาโต๊ะมูฮัมหมัด ทาจูดดิน บินอับดุลวาฮับ เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติมาเลเซียเป็นสักขีพยาน 2.เอกสารดังกล่าวมีเนื้อหาหลัก คือ รัฐบาลไทยได้แต่งตั้งเลขาธิการสภาความมั่นคง แห่งชาติเป็นหัวหน้ากลุ่มงานสนับสนุนการสร้างสภาวะที่เกื้อกูลต่อการแสวงหาทางออก จากความขัดแย้งในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึ่งรัฐบาลไทยมีความตั้งใจที่จะพูดคุย สันติภาพกับกลุ่มบุคคลที่มีความเห็นต่างจากรัฐในฐานะที่เป็นผู้ส่วนได้เสียกลุ่มหนึ่งใน การแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ภายใต้กรอบของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ไทย โดยมีประเทศมาเลเซียเป็นผู้อานวยความสะดวกในการพูดคุย (Facilitator) ทุกคน ที่เข้าร่วมเป็นคณะทางานจะอยู่ภายใต้มาตรการดูแลรักษาความปลอดภัยตลอดทั้ง กระบวนการ
  • 6. •ข้อแตกต่าง 1. พูดคุย (dialogue) – เจรจา (negotiation) 2. ผู้อานวยความสะดวก (facilitator) – คนกลางไกล่เกลี่ย (mediator) – สักขีพยาน (witness) – ผู้สังเกตการณ์ (observer)
  • 7. •จุดเด่น 1. เจตจานงทางการเมืองชี้ทิศทางสันติวิธี 2. ความเป็นทางการ/ ยอมรับการดารงอยู่ของบีอาร์เอ็น/ มาเลเซีย อานวยความสะดวก 3. บีอาร์เอ็นมีบทบาทในพื้นที่จริง – อุสตาซฮัสซัน ตอยิบได้รับมอบ จากสภาองค์กรนา 4. สัญญาณของการประนีประนอมสองฝ่าย (จากรัฐไทย  ทางการ/ ยอมรับบีอาร์เอ็นและมาเลเซีย/ จากบีอาร์เอ็น พูดคุยภายใต้กรอบ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย)
  • 8. • ความเสี่ยง 1. เดินเร็วเกินไป – หวังผลทันตา (เร่งบรรลุข้อตกลงหยุดยิง/ พิสูจน์ตัว) 2. เร่งเป้าปลายทาง – ละเลยกระบวนการระหว่างทาง 3. ความไว้วางใจระหว่างรัฐไทยกับบีอาร์เอ็นยังไม่มี 4. กลุ่มขบวนการถูกมาเลเซียและไทยจับมือกันบีบ 5. เอกภาพทางความคิดในรัฐไทยและบีอาร์เอ็น (เห็นด้วย - ดูท่าที - ลังเล - ไม่เห็นด้วย - ต่อต้าน) 6. ภาพเป็นว่า “คุยกันสองคน” 7. ความเข้าใจของสังคมใหญ่
  • 9. • สถานการณ์หลังการลงนาม 1. ความรุนแรงยังคงอยู่ ขึ้นลงตามสถานการณ์ แต่จะลดอย่างมีนัยสาคัญหรือไม่ ขึ้นอยู่กับการตอบสนองในมาตรการเสริมสร้างความเชื่อมั่นระหว่างกัน (Confidence Building Measures – CBM) 2. ภาคประชาสังคมในพื้นที่ตื่นตัวมากขึ้นกับกระบวนการสันติภาพ และจะสร้าง กระบวนการคู่ขนานในการติดตามและเสนอแนะอย่างต่อเนื่อง (Safety Net) 3. กระบวนการพูดคุยจะใช้เวลานาน หลายรอบ หลายกลุ่ม อดทน (กรอบคิด ระยะยาว) 4. หากรัฐบาลไม่จริงใจ มุ่งเพียงผลการเมือง หรือไม่เดินด้วยความรู้ความเข้าใจ  กระบวนการจะล้ม/ ความรุนแรงจะทวีคูณ/ กลุ่มอาวุโสในบีอาร์เอ็นสูญเสีย การนา/ กลุ่มต่อสู้ในพื้นที่เติบโต/ ยืดเยื้อเรื้อรัง
  • 10. ช่วงสารวจความเป็นไปได้ ในการพูดคุย ช่วงการหาข้อตกลง สันติภาพ ช่วงการสร้างสภาวะที่เกื้อกูลต่อการแสวงหาทางออก จากความขัดแย้ง สารวจความสนใจ + กลุ่มที่จะพูดคุย แกนนาสองฝ่ายรับรู้ กระบวนการไม่เป็นทางการ ทางานร่วมกันเพื่อ สร้างความไว้ใจ วางกรอบการพูดคุย เพื่อหาข้อตกลง สันติภาพร่วมกัน 1 2 3 แกนนาสองฝ่ายมอบหมาย อานาจหน้าที่เป็นทางการ แกนนาสองฝ่ายตั้งคณะ ผู้แทนหารือเป็นทางการ มีฝ่ายการเมือง/เจ้าหน้าที่รัฐ บางส่วนเข้าร่วมพูดคุย การร่วมกันหา ข้อตกลง สันติภาพ สารวจความสนใจ ความจริงใจ และ ความเป็นไปได้ในการหาทางออกร่วมกัน • ตั้งคณะผู้ประสานงาน/ทางานร่วม • แต่ละฝ่ายแสดงให้เห็นอานาจใน การเปลี่ยนแปลง • คิดแนวทาง (roadmap) ที่จะ นาไปสู่การสร้างความเชื่อมั่น ระหว่างกัน • ความไม่ไว้ใจกัน • การไม่รู้เจตนาที่แท้จริงของอีกฝ่าย • ความไม่ชัดเจนว่าใครมีบทบาทจริง • ความรุนแรงอาจมีมากขึ้นเพื่อแสดง พลังต่อรอง หรือปฏิเสธการพูดคุย (ร่าง) แผนที่เดินทางสู่สันติภาพในจังหวัดชายแดนภาคใต้ เป้าหมาย: เพื่อยุติความรุนแรงและแสวงหาทางออกสู่สันติภาพที่ยอมรับได้ร่วมกัน เสริมสร้างความเชื่อมั่น ความ ไว้วางใจระหว่างกัน รวมถึงแรง สนับสนุนจากภาคส่วนต่างๆ • เริ่มลดความรุนแรงในบางพื้นที่ • ออกนโยบาย/ดาเนินมาตรการที่ ตอบสนองต่อความต้องการ ระหว่างกันเพื่อเสริมสร้างความ ไว้วางใจอย่างเป็นลาดับขั้นตอน • การทาความเข้าใจกับกลุ่มผู้ที่ไม่ เห็นด้วยกับการพูดคุยในแต่ละ ฝ่าย • ความไม่เป็นเอกภาพทาง ความคิดภายในแต่ละฝ่าย หาข้อสรุปร่วมกันในส่วนของหลักการ รูปแบบ และกรอบของการหาข้อตกลง • วางกรอบของการหาข้อตกลง สันติภาพ • ประชุมร่วมเพื่อหาข้อสรุปในส่วน ของหลักการ รูปแบบ และกรอบ ของการหาข้อตกลงสันติภาพ • การหาความเห็นร่วมต่อกรอบการ พูดคุยเพื่อหาข้อตกลงสันติภาพ • ความไม่เป็นเอกภาพทางความคิด ภายในแต่ละฝ่าย บรรลุข้อตกลงสันติภาพที่ทุกฝ่าย ยอมรับได้ร่วมกัน • ตั้งคณะผู้แทนในการหารือ ข้อตกลงสันติภาพ/ คณะทางาน เชิงเทคนิค/ คณะที่ปรึกษา • ประชุมร่วมเพื่อหาข้อตกลงใน ประเด็นเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง • การหาความเห็นร่วมในแต่ละ ประเด็นเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง • ความไม่เป็นเอกภาพทางความคิด ภายในแต่ละฝ่าย • การทาความเข้าใจกับผู้เกี่ยวข้อง หลายกลุ่มพยายามริเริ่ม กระบวนการพูดคุย ค้นหาบุคคลที่ใกล้ชิดกับผู้มีบทบาทจริง ของทั้งสองฝ่ายในการสร้างสันติภาพ • ติดต่อผู้ที่อาจจะเชื่อมต่อและ สื่อสารถึงผู้มีบทบาทจริงได้ • พูดคุยเพื่อสร้างความสัมพันธ์และ ความไว้วางใจกับผู้ที่จะ ประสานงานกับกลุ่มต่างๆ • ความไม่ไว้ใจกัน • การไม่รู้เจตนาที่แท้จริงของอีกฝ่าย • ความไม่ชัดเจนว่าใครมีบทบาทจริง เป้าหมาย กิจกรรม ข้อท้าทาย
  • 11. ขั้นตอนและกรอบเวลากระบวนการพูดคุยสันติภาพ (เมษายน 2556 – เมษายน 2558) ตั้งคณะทางาน ร่วมในการกาหนด กรอบแนวทาง และกระบวนการ ทางานเพื่อ เสริมสร้างความ เชื่อมั่นระหว่างกัน (Roadmap) กาหนดกรอบ ประเด็น การพูดคุย ในการหา ข้อตกลงสันติภาพ (Framework for Negotiation) 1. คณะผู้แทนระดับสูง ประชุมทุก 3 เดือน (8 ครั้ง) 2. คณะทางานหลัก ประชุมทุก 1 เดือน (24 ครั้ง) 3. คณะทางานย่อยเชิงเทคนิค ประชุมตามความเหมาะสม 2556 2557 2558 ระยะการเสริมสร้างความเชื่อมั่นและสภาวะที่เกื้อกูลต่อการแสวงหาทางออกจากความขัดแย้ง ระยะการพูดคุยเจรจาหาข้อตกลงสันติภาพที่ยอมรับได้ร่วมกัน ดาเนินกิจกรรม/ มาตรการที่เห็นว่า จะสามารถสร้าง ความเชื่อมั่น ระหว่างกันได้อย่าง ค่อยเป็นค่อยไป (Confidence Building) ตั้ง คณะทางาน ย่อยเชิง เทคนิคเพื่อ พิจารณา ประเด็นที่ เกี่ยวข้องใน รายละเอียด ดาเนิน กระบวนการ พูดคุยเจรจา เพื่อหา ข้อตกลงที่ ยอมรับได้ ร่วมกันใน แต่ละประเด็น บรรลุข้อตกลง สันติภาพ ระหว่างกัน Peace Roadmap ความรุนแรง เริ่มลดลง อย่างมี นัยสาคัญ ประเด็น สาคัญ ที่ต้องหารือ เพื่อนาไปสู่ สันติภาพ ที่ยั่งยืน ข้อตกลง หยุดยิงชั่วคราว พิจารณา ข้อตกลงใน การหยุดยิง ชั่วคราว คณะทางาน ย่อยเชิงเทคนิค เพื่อพิจารณา ประเด็นที่ เกี่ยวข้องใน รายละเอียด พัฒนาการของ การพูดคุยเจรจา ข้อตกลง สันติภาพ ที่ทุกฝ่ายยอมรับ ได้ร่วมกัน 1 มาตรการ เชิงบวกเพื่อ สร้าง บรรยากาศ
  • 12. รัฐบาล, กองทัพ ฯลฯ กลุ่มขบวนการ ภาคประชาสังคม นอกพื้นที่ ภาคประชาสังคม ในพื้นที่ เส้นทาง ผู้เกี่ยวข้อง และแนวทางของกระบวนการสันติภาพในระดับต่างๆ ผู้เกี่ยวข้อง เครือข่าย/ ข้อต่อ AREASOFOPERATION III II I ผู้ที่มีอิทธิพล ทางความคิด ชุมชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ระดับกลุ่มผู้มีอานาจ ตัดสินใจทางการเมือง ระดับองค์กร ประชาสังคม (นักการศาสนา, นักวิชาการ, สื่อมวลชน, NGOs, นักศึกษา, องค์กร วิชาชีพ) ระดับชุมชนรากหญ้า ผลักดันข้อเสนอทางการเมืองที่ สอดคล้องกับความต้องการของ ประชาชน / เชื่อมประสานภาคส่วน ต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งระหว่างชุมชน ฐานรากกับกลุ่มผู้มีอานาจตัดสินใจ เพื่อ สร้างช่องทางสื่อสารที่ทั่วถึง การพูดคุยและการเจรจาสันติภาพเพื่อหา แนวทางยุติความรุนแรงและหาทางออกที่ทุก ฝ่ายยอมรับได้ เปิดพื้นที่ปลอดภัยให้กับทุก ฝ่ายแสดงความคิดเห็นและ สะท้อนความต้องการของ ประชาชนในพื้นที่ / สร้าง ความร่วมมือด้วยกิจกรรม ต่างๆ ในระดับชุมชน / งาน ดูแลเยียวยาและลดอคติฯลฯ แนวทาง/ยุทธศาสตร์ระดับ (เส้นทางหรือแทร็ค) ผู้ที่มีอิทธิพล ทางความคิด