SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์การ
จัดทำโดย
นางสาวสุภา ประสพโชค รหัส 56106930001
นางสาวสุกัญญา สุดารารัตน์ รหัส 56106930005
เสนอ
รหัส 931 – 201 วิชา ทฤษฏีและหลักการบริหารการศึกษา
รศ.ดร.ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
ผศ.ดร.นิภา พงศ์วิรัตน์
๑. ความหมายระหว่างวัฒนธรรม (Culture)
และ องค์การ (Organization)
วัฒนธรรม หมายถึง วิถีการดาเนินชีวิต (The way of life) ของคนในสังคม นับตั้งแต่
วิธีกิน วิธีอยู่ วิธี แต่งกาย วิธีทางาน วิธีพักผ่อน วิธีแสดงอารมณ์ วิธีสื่อความ วิธี
จราจรและขนส่ง วิธีอยู่ร่วมกันเป็นหมู่คณะ วิธี แสดงความสุขทางใจ และหลักเกณฑ์
การดาเนินชีวิต โดยแนวทางการแสดงออกถึงวิถีชีวิตนั้นอาจเริ่มมาจาก เอกชนหรือ
คณะบุคคลทาเป็นตัวแบบ แล้วต่อมาคนส่วนใหญ่ก็ปฏิบัติสืบต่อกันมา วัฒนธรรม
ย่อมเปลี่ยนแปลง ไปตามเงื่อนไขและกาลเวลาเมื่อมีการประดิษฐ์หรือค้นพบสิ่งใหม่
วิธีใหม่ที่ใช้แก้ปัญหาและตอบสนองความ ต้องการของสังคมได้ดีกว่า ซึ่งอาจทาให้
สมาชิกของสังคมเกิดความนิยม และในที่สุดอาจเลิกใช้วัฒนธรรมเดิม ดังนั้นการ
รักษาหรือธารงไว้ซึ่งวัฒนธรรมเดิมจึงต้องมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงหรือพัฒนา
วัฒนธรรมให้ เหมาะสมมีประสิทธิภาพตามยุคสมัย
๑. ความหมายระหว่างวัฒนธรรม (Culture)
และ องค์การ (Organization)
องค์การ หรือ องค์กร (อังกฤษ: organization) หมายถึง บุคคลกลุ่มหนึ่งที่มา
รวมตัวกัน โดยมีวัตถุประสงค์หรือเป้ าหมายอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างร่วมกัน
และดาเนินกิจกรรมบางอย่างร่วมกันอย่างมีขั้นตอนเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์
นั้น โดยมีทั้ง องค์การที่แสวงหาผลกาไร คือองค์การที่ดาเนินกิจกรรมเพื่อการ
แข่งขันทางเศรษฐกิจ เช่น บริษัท ห้างหุ้นส่วน ห้างสรรพสินค้า ร้านค้าต่างๆ และ
องค์การที่ไม่แสวงหาผลกาไร คือองค์การที่ดาเนินกิจกรรมเพื่อ
สาธารณประโยชน์เป็นหลัก เช่น สมาคม สถาบัน มูลนิธิ เป็นต้น
๒. ความหมายวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Culture)
มีผู้ให้ความหมายของวัฒนธรรมองค์การไว้แตกต่างกัน ดังนี้
- วิเชียร วิทยอุดม (2551 : 398)
- พิชาย รัตนดิลก ณ ภูเก็ต (2552 : 222)
- นิวสตรอม และเดวิส (Newstrom and Davis, 2002 : 91)
- รอบบินส์ (Robbins, 2003 : 525)
- ไชน์ (Schein, 2004 : 17)
วัฒนธรรมองค์การ หมายถึง กรอบแนวทางของระเบียบและแบบแผน
การประพฤติปฏิบัติอันเกิดจากค่านิยมความเชื่อที่เห็นได้จากพฤติกรรมของสมาชิก
ในองค์การว่าจะทาอะไร ทาอย่างไรที่ทาให้แต่ละองค์การมีลักษณะที่แตกต่างกันไป
ซึ่งองค์การมีความคาดหวัง และสนับสนุนการให้สมาชิกรับรู้ เข้าใจถึงกิจวัตรของ
องค์การและร่วมกันยึดถือปฏิบัติ
๓. การสร้างวัฒนธรรมองค์การ
วัฒนธรรมองค์การจะเป็นตัวแทนของค่านิยมและความเข้าใจร่วมกันของ
บุคลากร และค่านิยมนี้จะแสดงให้เห็นอย่างชัดแจ้งในเรื่องของวัฒนธรรม
องค์การทั้ง 8 ประการ คือ
1. สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ (Environmental Status in Business)
2. ค่านิยม (Value)
3. สัญลักษณ์ (Symbol)
4. เรื่องราว (Stories)
5. วีรบุรุษ (Hero)
6. คาขวัญ (Slogan)
7. งานพิธีหรือธรรมเนียมปฏิบัติ (Tradition)
8. เครือข่ายทางวัฒนธรรม (Cultural Network)
๓. การสร้างวัฒนธรรมองค์การ
นอกจากนี้ เซอร์จิโอแวนนิ (Sergiovanni, 1988 : 106 - 108) ได้กล่าวว่า
วัฒนธรรมองค์การได้ก่อตัวขึ้นมาจากสิ่งต่อไปนี้
1. ประวัติของสถานศึกษา (School 's history)
2. ความเชื่อ (Beliefs)
3. ค่านิยม (Values)
4. ปทัสถานและมาตรฐาน (Norms and Standard)
5. รูปแบบของพฤติกรรม (Patterns of Behavior)
๔. ประเภทของวัฒนธรรมองค์การ (Type of OrganizationalCulture)
วัฒนธรรม ัง ององค์การ (Four Corporate Cultures)
ความยืดหยน
ภาว วดลอม
ภาย น
วัฒนธรรม เครือ าติ
(Clan Culture)
มีค่านิยมเน้น : - ความร่วมมือ
- ความเอื้ออาทร
- รักษาข้อตกลง
- ความเป็นธรรม
- ความเสมอภาค
ทางสังคม
วัฒนธรรม รั ตัว
(Adaptability Culture)
มีค่านิยมเน้น : - ความริเริ่ม
- การทดลอง
- ความกล้าเสี่ยง
- ความอิสระ
- ความสามารถ
ตอบสนอง
ภาว วดลอม
ภายนอกวัฒนธรรม ราชการ
(Bureaucratic Culture)
มีค่านิยมเน้น : - ความประหยัด
- ความเป็นทางการ
- ความสมเหตุผล
- ความเป็นระเบียบ
- ความเคารพ
เชื่อ ัง
วัฒนธรรม มงผล าเรจ
(Achievement Culture)
มีค่านิยมเน้น : - มุ่งการแข่งขัน
- ความสมบูรณ์
แบบ
- ปฏิบัติเชิงรุก
- ความเ ลียว ลาด
- ความริเริ่มส่วน
บุคคล
ความมันคง
มา : Daft, R.L. (2002). The leadership experience
การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมองค์การ (Changing Of Organizational Culture)
1. เมื่อองค์การเกิดวิกฤตการณ์หรือเจอปัญหาใหญ่
2. เมื่อมีการเปลี่ยนตัวผู้นาระดับสูง
3. เมื่อมีการควบรวมกิจการเกิดขึ้น
4. ในกรณีที่องค์การมีขนาดเล็กและก่อตั้งมาไม่ยาวนาน
5. เมื่อองค์การมีวัฒนธรรมที่อ่อนแอ
การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมองค์การ (Changing Of Organizational Culture)
Robbins และ Coulter (2002)เสนอแนวทางเพื่อการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมองค์การ ไว้ดังนี้
1. วิเคราะห์สภาพวัฒนธรรมองค์การ
2. ทาความเข้าใจกับพนักงาน
3. แต่งตั้งผู้นาที่มีวิสัยทัศน์ใหม่
4. ทาการปรับโครงสร้างและปรับองค์การให้เหมาะสม
5. สร้างเรื่องเล่าและพิธีกรรมใหม่
6. ปรับเปลี่ยนกระบวนการคัดเลือกและกระบวนการเรียนรู้ทาง
สังคม ประเมินผล ระบบรางวัลแรงจูงใจ
แรงผลักดันต่อการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมองค์การ
สาหรับศตวรรษที่ 21 มีด้วยกัน 8 ประการ ดังนี้
1. โลกาภิวัฒน์และเศรษฐกิจโลก
2. เทคโนโลยี
3. การปฏิรูปและการปรับเปลี่ยนในโลกแห่งการทางาน
4. อิทธิพลของลูกค้าที่เพิ่มขึ้น
5. ความรู้และการเรียนรู้ได้กลายเป็นสินทรัพย์ที่สาคัญต่อองค์การ
6. ความคาดหวังและบทบาทที่กาลังเปลี่ยนไปของคนทางาน
7.ความหลากหลายในที่ทางานและการเคลื่อนย้ายของแรงงาน
8. ความสับสนยุ่งเหยิงและการเปลี่ยนแปลงที่ทวีขึ้นอย่างรวดเร็ว
๗. ปัจจัยที่สามารถทาให้องค์การบรรลุประสิทธิ์ผล
จากการศึกษาของ Daniel R. Denison (1990) ในปัจจัยด้านวัฒนธรรม
องค์การและประสิทธิผลขององค์การ พบว่าวัฒนธรรมองค์การจะส่งผลต่อ
ประสิทธิผล (Effectiveness) ขององค์การเป็นอย่างมาก เมื่อวัฒนธรรมนั้น
ก่อให้เกิด
๑. การผูกพัน (Involvement)
๒. การปรับตัว (Adaptability)
๓. การประพฤติปฏิบัติได้สม่าเสมอ (Consistency)
๔. มีภารกิจ (และวิสัยทัศน์) ขององค์การที่เหมาะสม
มีผู้เสนอแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบของปัจจัยด้าน
วัฒนธรรมองค์การ วัฒนธรรมโรงเรียนไว้แตกต่างกัน ดังนี้
๘. แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับปัจจัยด้านวัฒนธรรมองค์การ
รอ ิน ์ (Robbins, ๑๙๘๙) ได้กาหนดวัฒนธรรมองค์การออกเป็น ๕ ด้าน คือ
๑. ความรับผิดชอบของสมาชิก
๒. การกาหนดทิศทางที่ชัดเจน
๓. การร่วมมือกันของสมาชิก
๔. การให้การสนับสนุนการจัดการ
๕. การติดต่อสื่อสาร
เดนิ ัน (Denison, ๑๙๙๐) พบว่าวัฒนธรรมองค์การที่ส่งผลต่อ
ประสิทธิผลขององค์การตามที่ต้องการได้ เมื่อวัฒนธรรมนั้นก่อให้เกิดลักษณะ
ทั้ง ๔ ส่วน คือ
๘. แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับปัจจัยด้านวัฒนธรรมองค์การ
๑. การผูกพันและการมีส่วนร่วมในการทางาน
๒. การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมทั้งภายนอก
และภายในองค์การ
๓. การประพฤติปฏิบัติที่สม่าเสมอ
๔. มีพันธกิจที่ชัดเจน
มคกิลไคร ต์ ล คณ (MacGilchrist and others, ๑๙๙๕)ได้สรุปว่า
วัฒนธรรมโรงเรียนจะถูกส่งผ่านมิติทั้ง ๓ ระดับที่สัมพันธ์กัน คือ
๘. แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับปัจจัยด้านวัฒนธรรมองค์การ
๑. ความสัมพันธ์ทางวิชาชีพ
๒. การเตรียมการองค์การ
๓. โอกาสเพื่อการเรียนรู้
กรูเอนเนอร์ ล วาเลนไ น์ (Gruenert and Valentine, 1998 cited in
Matthew Ohlson, 2009) ได้สรุปว่าวัฒนธรรมโรงเรียน ประกอบด้วย
4 องค์ประกอบสาคัญ คือ
๔. การมีเป้าประสงค์ที่ชัดเจน
๑. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
๒. การให้ความร่วมมือของครู
๓. การพัฒนาวิชาชีพ
ทฤษฎีของการเรียนรู้วัฒนธรรมองค์การ
องค์กรทฤษฎี Z และวัฒนธรรม
1. การจ้างงานระยะความผูกพันต่อองค์การ
2. การตัดสินใจมีส่วนร่วมกับการทาความร่วมมือ
และการทางานเป็นทีม
3. ความรับผิดชอบส่วนบุคคลสาหรับการตัดสินใจ
กลุ่มความน่าเชื่อถือและความจงรักภักดีของกลุ่ม
4. การวางแนวแบบองค์รวมยึดหลักความเสมอ
ภาคของมนุษย์ทุกคนในความรู้สึกของพนักงาน
รักษาความปลอดภัยและความมุ่งมั่นต่อองค์กร;
ผู้เข้าร่วมเป็นลงทุนในองค์กร
William G. Ouchi
(วิลเลี่ยม โออุชิ)
๙. ทฤษฎีของการเรียนรู้วัฒนธรรมองค์การ
ทฤษฎี A เป็นแนวความคิดการจัดการของสหรัฐอเมริกาซึ่งองค์การเน้น
การจ้างงานระยะสั้น พนักงานมีส่วนร่วมและความรับผิดชอบต่อองค์การน้อย
ทฤษฎี J เป็นแนวความคิดการจัดการของญี่ปุ่นซึ่งองค์การเป็นการจ้างงาน
ตลอดชีพ พนักงานมีส่วนร่วมและความรับผิดชอบต่อองค์การสูง
ทฤษฎี Z เป็นแนวความคิดการจัดการประสมประสาน ระหว่างญี่ปุ่นและ
สหรัฐอเมริกาโดยเน้นการจ้างงานระยะยาวมีการตัดสินใจและความรับผิดชอบ
ร่วมกัน
ทฤษฎีของการเรียนรู้วัฒนธรรมองค์การ
Robert H.Waterman JR–
1. มุ่งเน้นการปฏิบัติ (a bias for action)
2. มีความใกล้ชิดกับลูกค้า(close to the customer)
3. มีความอิสระในการทางานและความรู้สึกเป็นเจ้าของกิจการ
(autonomy and entrepreneur-ship)
4. เพิ่มผลผลิตโดยอาศัยพนักงาน (productivity through people)
5. สัมผัสกับงานอย่างใกล้ชิดและความเชื่อมั่นในคุณค่าเป็น
แรงผลักดัน
(hands-onand value driven)
6. ทาแต่ธุรกิจที่มีความเชี่ยวชาญและเกี่ยวเนื่อง (stick to the knitting)
7. รูปแบบเรียบง่ายธรรมดา พนักงานอานวยการหรือส่วนกลางมีจากัด
(simple form and lean staff)
8. เข้มงวดและผ่อนปรนในเวลาเดียวกัน (simultaneous loose-tight
properties)Thomas J. Peters
หนังสือ In Search of Excellence
ทฤษฎีของการเรียนรู้วัฒนธรรมองค์การ
Luther Gulick
แนวคิด ภาระหน้าที่ที่สาคัญของนักบริหาร POSDCoRB ใน
บทความ Paper on the Science of Administration: Notes on the
Theory of Organization”
POSDCoRB เป็นเครื่องมือสาคัญสาหรับผู้บริหาร
POSDCoRB คือ หลักในการบริหารจัดการองค์กรที่ใช้กันทั้ง
ในภาครัฐ และ เอกชน ที่ผู้มีอานาจบริหารมีหน้าที่ และ
บทบาทการบริหารอยู่ 7 ประการ คือ
1. P = Planning การวางแผน
2. O = Organizing การจัดการองค์กร
3. S = Staffing การจัดการด้านบุคคลากร
4. D = Directing การควบคุมสั่งการ
5. Co = Coordinating การประสานงาน
6. R = Report การรายงาน
7. B = Budgeting การจัดการงบประมาณ
 กรณศึกษา
 วัดโ ธรวรมหาวิหาร ชหลัก POSDCoRB โดยนาไ รั ชกั ความ ัด ยง เกิด ึน นวัด นชวงเ ลยน
ผานเจาอาวา รู หมเ ามารั ตา หนง ซึงมความ ตกตาง น นว าง ริหาร ล วิ ัย ัศน์
 มการนาหลัก POSDCoRB มา รั ช นการวางหลักการ ริหารเพืออนาคต ดังน
 1. คลากร นวัด มพร งค์ มความ ตกตาง นถิน มา ล ร ดั การศึกษาจึง าการ งเ ริม
คคลากรดวยการ งเ ริมดานการศึกษาดวยการจัดตังโรงเรยนพร ริยัติธรรมวัดโ ธรวราราม จ เหน
ไดวา มการ ชหลัก ฤษฏ างดานการวาง ผน (Planning)ดาน คลากร (Staffing) ล ดาน
ง ร มาณ (Budgeting)
 2. นชวงเ ลยนผานตา หนงเจาอาวา มาเ นรู ัจจ ัน มความเหน ตกตาง นองค์กร างก
นั นน างกไมเหนดวย จึง า หอานาจการ ังการ องเจาอาวา รู ัจจ ันยังไมมนาหนักเ า ควร จึง
นาหลักการ คว คม ังการ (Directing) นามา ช รั รง
 3. เมือมการไม ฏิ ัติตามนโย าย องเจาอาวา รู หม กม ลงโ ษ เพือเ นการคว คมดู ล ห
คลากร วน ห มความเ า จ นหนา อง ตล รู
 4. ม ผนงาน นการ นั นน หวัดไดมนโย าย นการจัด าพิพิธภัณฑ์เพือการศึกษาพร ธรรม
งงานหนา รั ผิดชอ น ตล วน า หมการ หความรวมมือกันมาก ึน

ใครได้ทำทฤษฎีของ Luther Gulick ไปใช้
๑. ภาวะผู้นากับวัฒนธรรมองค์การในสถานศึกษา
๒. ความสาคัญของวัฒนธรรมองค์การในสถานศึกษา
๓. บทบาทของครูใหญ่กับวัฒนธรรมองค์การในสถานศึกษา
๑๐. ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์การ ที่สัมพันธ์กับการบริหารการศึกษา
จ ลว
อ คณค

More Related Content

What's hot

ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)Nattakorn Sunkdon
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการส่งออกเครื่องหนัง
ตัวอย่างแผนธุรกิจการส่งออกเครื่องหนังตัวอย่างแผนธุรกิจการส่งออกเครื่องหนัง
ตัวอย่างแผนธุรกิจการส่งออกเครื่องหนังNattakorn Sunkdon
 
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)Ritthiporn Lekdee
 
การจัดองค์การและการบริหาร
การจัดองค์การและการบริหารการจัดองค์การและการบริหาร
การจัดองค์การและการบริหารJuneSwns
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำissareening
 
ความรู้ทั่วไปทางธุรกิจระหว่างประเทศ
ความรู้ทั่วไปทางธุรกิจระหว่างประเทศความรู้ทั่วไปทางธุรกิจระหว่างประเทศ
ความรู้ทั่วไปทางธุรกิจระหว่างประเทศtumetr
 
หน่วยที่ 13 เกมและสถานการณ์จำลอง
หน่วยที่ 13 เกมและสถานการณ์จำลองหน่วยที่ 13 เกมและสถานการณ์จำลอง
หน่วยที่ 13 เกมและสถานการณ์จำลองanupong boonruam
 
หลักสูตร Is ม.ต้น.56doc
หลักสูตร Is ม.ต้น.56docหลักสูตร Is ม.ต้น.56doc
หลักสูตร Is ม.ต้น.56dockrupornpana55
 
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหารแนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหารguest3d68ee
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัดตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัดNattakorn Sunkdon
 
พฤติกรรมองค์กร
พฤติกรรมองค์กร พฤติกรรมองค์กร
พฤติกรรมองค์กร Prathum Charoenroop
 
บทที่ 3 การวิเคราะห์วัฒนธรรมข้ามชาติ
บทที่ 3 การวิเคราะห์วัฒนธรรมข้ามชาติบทที่ 3 การวิเคราะห์วัฒนธรรมข้ามชาติ
บทที่ 3 การวิเคราะห์วัฒนธรรมข้ามชาติTeetut Tresirichod
 
แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้ แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้ Somsiri Rattanarat
 
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubricsการสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring RubricsTeaching & Learning Support and Development Center
 
บทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
บทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรมบทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
บทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรมTeetut Tresirichod
 
อักษรเบรลล์ภาษาไทยระดับ 1
อักษรเบรลล์ภาษาไทยระดับ 1อักษรเบรลล์ภาษาไทยระดับ 1
อักษรเบรลล์ภาษาไทยระดับ 1pop Jaturong
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรSunisa199444
 
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1ma020406
 
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์hoossanee
 
ทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหารทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหารPrapaporn Boonplord
 

What's hot (20)

ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการส่งออกเครื่องหนัง
ตัวอย่างแผนธุรกิจการส่งออกเครื่องหนังตัวอย่างแผนธุรกิจการส่งออกเครื่องหนัง
ตัวอย่างแผนธุรกิจการส่งออกเครื่องหนัง
 
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
 
การจัดองค์การและการบริหาร
การจัดองค์การและการบริหารการจัดองค์การและการบริหาร
การจัดองค์การและการบริหาร
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
 
ความรู้ทั่วไปทางธุรกิจระหว่างประเทศ
ความรู้ทั่วไปทางธุรกิจระหว่างประเทศความรู้ทั่วไปทางธุรกิจระหว่างประเทศ
ความรู้ทั่วไปทางธุรกิจระหว่างประเทศ
 
หน่วยที่ 13 เกมและสถานการณ์จำลอง
หน่วยที่ 13 เกมและสถานการณ์จำลองหน่วยที่ 13 เกมและสถานการณ์จำลอง
หน่วยที่ 13 เกมและสถานการณ์จำลอง
 
หลักสูตร Is ม.ต้น.56doc
หลักสูตร Is ม.ต้น.56docหลักสูตร Is ม.ต้น.56doc
หลักสูตร Is ม.ต้น.56doc
 
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหารแนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัดตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
 
พฤติกรรมองค์กร
พฤติกรรมองค์กร พฤติกรรมองค์กร
พฤติกรรมองค์กร
 
บทที่ 3 การวิเคราะห์วัฒนธรรมข้ามชาติ
บทที่ 3 การวิเคราะห์วัฒนธรรมข้ามชาติบทที่ 3 การวิเคราะห์วัฒนธรรมข้ามชาติ
บทที่ 3 การวิเคราะห์วัฒนธรรมข้ามชาติ
 
แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้ แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
 
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubricsการสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
 
บทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
บทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรมบทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
บทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
 
อักษรเบรลล์ภาษาไทยระดับ 1
อักษรเบรลล์ภาษาไทยระดับ 1อักษรเบรลล์ภาษาไทยระดับ 1
อักษรเบรลล์ภาษาไทยระดับ 1
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1
 
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์
 
ทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหารทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหาร
 

Viewers also liked

วัฒนธรรมองค์กร
วัฒนธรรมองค์กรวัฒนธรรมองค์กร
วัฒนธรรมองค์กรNingnoi Ohlunla
 
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรองบทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรองAj.Mallika Phongphaew
 
[บทที่10]ภาวะผู้นำ
[บทที่10]ภาวะผู้นำ[บทที่10]ภาวะผู้นำ
[บทที่10]ภาวะผู้นำguest817d3d
 
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Aj.Mallika Phongphaew
 
9789740330660
97897403306609789740330660
9789740330660CUPress
 
บทที่ 9 การอภิปราย
บทที่ 9 การอภิปรายบทที่ 9 การอภิปราย
บทที่ 9 การอภิปรายAj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาบทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาAj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำบทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำAj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่มบทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่มAj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องบทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องAj.Mallika Phongphaew
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทDr.Krisada [Hua] RMUTT
 

Viewers also liked (13)

วัฒนธรรมองค์กร
วัฒนธรรมองค์กรวัฒนธรรมองค์กร
วัฒนธรรมองค์กร
 
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรองบทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
 
Oganization Culture
Oganization CultureOganization Culture
Oganization Culture
 
[บทที่10]ภาวะผู้นำ
[บทที่10]ภาวะผู้นำ[บทที่10]ภาวะผู้นำ
[บทที่10]ภาวะผู้นำ
 
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
 
9789740330660
97897403306609789740330660
9789740330660
 
บทที่ 9 การอภิปราย
บทที่ 9 การอภิปรายบทที่ 9 การอภิปราย
บทที่ 9 การอภิปราย
 
บทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาบทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนา
 
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำบทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
 
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่มบทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
 
บทที่ 3 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
บทที่ 3  แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำบทที่ 3  แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
บทที่ 3 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
 
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องบทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 

Similar to งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร

พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่Chatnakrop Sukhonthawat
 
Organization Culture
Organization CultureOrganization Culture
Organization CultureKomsun See
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้Nona Khet
 
ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารguest6b6fea3
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนathapol anunthavorasakul
 
002191Chapter 3 Organization
002191Chapter 3 Organization002191Chapter 3 Organization
002191Chapter 3 Organizationwiraja
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารpentanino
 
การจัดบริการแนะแนว
การจัดบริการแนะแนวการจัดบริการแนะแนว
การจัดบริการแนะแนวkoy2514
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมPhakawat Owat
 
มนุษย์สัมพันธ์ในองค์การ1
มนุษย์สัมพันธ์ในองค์การ1มนุษย์สัมพันธ์ในองค์การ1
มนุษย์สัมพันธ์ในองค์การ1Prapaporn Boonplord
 
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่Natepanna Yavirach
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1kanwan0429
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1kanwan0429
 
ผู้บำเพ็ญประโยชน์
ผู้บำเพ็ญประโยชน์ผู้บำเพ็ญประโยชน์
ผู้บำเพ็ญประโยชน์panomkon
 

Similar to งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร (20)

พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
 
Organization Culture
Organization CultureOrganization Culture
Organization Culture
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหาร
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
 
(Organization)
(Organization)(Organization)
(Organization)
 
002191Chapter 3 Organization
002191Chapter 3 Organization002191Chapter 3 Organization
002191Chapter 3 Organization
 
20180110104912
2018011010491220180110104912
20180110104912
 
20180110104912
2018011010491220180110104912
20180110104912
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
 
การจัดบริการแนะแนว
การจัดบริการแนะแนวการจัดบริการแนะแนว
การจัดบริการแนะแนว
 
05 ethics
05 ethics05 ethics
05 ethics
 
Learning Organization
Learning OrganizationLearning Organization
Learning Organization
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
มนุษย์สัมพันธ์ในองค์การ1
มนุษย์สัมพันธ์ในองค์การ1มนุษย์สัมพันธ์ในองค์การ1
มนุษย์สัมพันธ์ในองค์การ1
 
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ผู้บำเพ็ญประโยชน์
ผู้บำเพ็ญประโยชน์ผู้บำเพ็ญประโยชน์
ผู้บำเพ็ญประโยชน์
 

งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร

  • 1. ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์การ จัดทำโดย นางสาวสุภา ประสพโชค รหัส 56106930001 นางสาวสุกัญญา สุดารารัตน์ รหัส 56106930005 เสนอ รหัส 931 – 201 วิชา ทฤษฏีและหลักการบริหารการศึกษา รศ.ดร.ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์ ผศ.ดร.นิภา พงศ์วิรัตน์
  • 2. ๑. ความหมายระหว่างวัฒนธรรม (Culture) และ องค์การ (Organization) วัฒนธรรม หมายถึง วิถีการดาเนินชีวิต (The way of life) ของคนในสังคม นับตั้งแต่ วิธีกิน วิธีอยู่ วิธี แต่งกาย วิธีทางาน วิธีพักผ่อน วิธีแสดงอารมณ์ วิธีสื่อความ วิธี จราจรและขนส่ง วิธีอยู่ร่วมกันเป็นหมู่คณะ วิธี แสดงความสุขทางใจ และหลักเกณฑ์ การดาเนินชีวิต โดยแนวทางการแสดงออกถึงวิถีชีวิตนั้นอาจเริ่มมาจาก เอกชนหรือ คณะบุคคลทาเป็นตัวแบบ แล้วต่อมาคนส่วนใหญ่ก็ปฏิบัติสืบต่อกันมา วัฒนธรรม ย่อมเปลี่ยนแปลง ไปตามเงื่อนไขและกาลเวลาเมื่อมีการประดิษฐ์หรือค้นพบสิ่งใหม่ วิธีใหม่ที่ใช้แก้ปัญหาและตอบสนองความ ต้องการของสังคมได้ดีกว่า ซึ่งอาจทาให้ สมาชิกของสังคมเกิดความนิยม และในที่สุดอาจเลิกใช้วัฒนธรรมเดิม ดังนั้นการ รักษาหรือธารงไว้ซึ่งวัฒนธรรมเดิมจึงต้องมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงหรือพัฒนา วัฒนธรรมให้ เหมาะสมมีประสิทธิภาพตามยุคสมัย
  • 3. ๑. ความหมายระหว่างวัฒนธรรม (Culture) และ องค์การ (Organization) องค์การ หรือ องค์กร (อังกฤษ: organization) หมายถึง บุคคลกลุ่มหนึ่งที่มา รวมตัวกัน โดยมีวัตถุประสงค์หรือเป้ าหมายอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างร่วมกัน และดาเนินกิจกรรมบางอย่างร่วมกันอย่างมีขั้นตอนเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ นั้น โดยมีทั้ง องค์การที่แสวงหาผลกาไร คือองค์การที่ดาเนินกิจกรรมเพื่อการ แข่งขันทางเศรษฐกิจ เช่น บริษัท ห้างหุ้นส่วน ห้างสรรพสินค้า ร้านค้าต่างๆ และ องค์การที่ไม่แสวงหาผลกาไร คือองค์การที่ดาเนินกิจกรรมเพื่อ สาธารณประโยชน์เป็นหลัก เช่น สมาคม สถาบัน มูลนิธิ เป็นต้น
  • 4. ๒. ความหมายวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Culture) มีผู้ให้ความหมายของวัฒนธรรมองค์การไว้แตกต่างกัน ดังนี้ - วิเชียร วิทยอุดม (2551 : 398) - พิชาย รัตนดิลก ณ ภูเก็ต (2552 : 222) - นิวสตรอม และเดวิส (Newstrom and Davis, 2002 : 91) - รอบบินส์ (Robbins, 2003 : 525) - ไชน์ (Schein, 2004 : 17) วัฒนธรรมองค์การ หมายถึง กรอบแนวทางของระเบียบและแบบแผน การประพฤติปฏิบัติอันเกิดจากค่านิยมความเชื่อที่เห็นได้จากพฤติกรรมของสมาชิก ในองค์การว่าจะทาอะไร ทาอย่างไรที่ทาให้แต่ละองค์การมีลักษณะที่แตกต่างกันไป ซึ่งองค์การมีความคาดหวัง และสนับสนุนการให้สมาชิกรับรู้ เข้าใจถึงกิจวัตรของ องค์การและร่วมกันยึดถือปฏิบัติ
  • 5. ๓. การสร้างวัฒนธรรมองค์การ วัฒนธรรมองค์การจะเป็นตัวแทนของค่านิยมและความเข้าใจร่วมกันของ บุคลากร และค่านิยมนี้จะแสดงให้เห็นอย่างชัดแจ้งในเรื่องของวัฒนธรรม องค์การทั้ง 8 ประการ คือ 1. สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ (Environmental Status in Business) 2. ค่านิยม (Value) 3. สัญลักษณ์ (Symbol) 4. เรื่องราว (Stories) 5. วีรบุรุษ (Hero) 6. คาขวัญ (Slogan) 7. งานพิธีหรือธรรมเนียมปฏิบัติ (Tradition) 8. เครือข่ายทางวัฒนธรรม (Cultural Network)
  • 6. ๓. การสร้างวัฒนธรรมองค์การ นอกจากนี้ เซอร์จิโอแวนนิ (Sergiovanni, 1988 : 106 - 108) ได้กล่าวว่า วัฒนธรรมองค์การได้ก่อตัวขึ้นมาจากสิ่งต่อไปนี้ 1. ประวัติของสถานศึกษา (School 's history) 2. ความเชื่อ (Beliefs) 3. ค่านิยม (Values) 4. ปทัสถานและมาตรฐาน (Norms and Standard) 5. รูปแบบของพฤติกรรม (Patterns of Behavior)
  • 7. ๔. ประเภทของวัฒนธรรมองค์การ (Type of OrganizationalCulture) วัฒนธรรม ัง ององค์การ (Four Corporate Cultures) ความยืดหยน ภาว วดลอม ภาย น วัฒนธรรม เครือ าติ (Clan Culture) มีค่านิยมเน้น : - ความร่วมมือ - ความเอื้ออาทร - รักษาข้อตกลง - ความเป็นธรรม - ความเสมอภาค ทางสังคม วัฒนธรรม รั ตัว (Adaptability Culture) มีค่านิยมเน้น : - ความริเริ่ม - การทดลอง - ความกล้าเสี่ยง - ความอิสระ - ความสามารถ ตอบสนอง ภาว วดลอม ภายนอกวัฒนธรรม ราชการ (Bureaucratic Culture) มีค่านิยมเน้น : - ความประหยัด - ความเป็นทางการ - ความสมเหตุผล - ความเป็นระเบียบ - ความเคารพ เชื่อ ัง วัฒนธรรม มงผล าเรจ (Achievement Culture) มีค่านิยมเน้น : - มุ่งการแข่งขัน - ความสมบูรณ์ แบบ - ปฏิบัติเชิงรุก - ความเ ลียว ลาด - ความริเริ่มส่วน บุคคล ความมันคง มา : Daft, R.L. (2002). The leadership experience
  • 8. การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมองค์การ (Changing Of Organizational Culture) 1. เมื่อองค์การเกิดวิกฤตการณ์หรือเจอปัญหาใหญ่ 2. เมื่อมีการเปลี่ยนตัวผู้นาระดับสูง 3. เมื่อมีการควบรวมกิจการเกิดขึ้น 4. ในกรณีที่องค์การมีขนาดเล็กและก่อตั้งมาไม่ยาวนาน 5. เมื่อองค์การมีวัฒนธรรมที่อ่อนแอ
  • 9. การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมองค์การ (Changing Of Organizational Culture) Robbins และ Coulter (2002)เสนอแนวทางเพื่อการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมองค์การ ไว้ดังนี้ 1. วิเคราะห์สภาพวัฒนธรรมองค์การ 2. ทาความเข้าใจกับพนักงาน 3. แต่งตั้งผู้นาที่มีวิสัยทัศน์ใหม่ 4. ทาการปรับโครงสร้างและปรับองค์การให้เหมาะสม 5. สร้างเรื่องเล่าและพิธีกรรมใหม่ 6. ปรับเปลี่ยนกระบวนการคัดเลือกและกระบวนการเรียนรู้ทาง สังคม ประเมินผล ระบบรางวัลแรงจูงใจ
  • 10. แรงผลักดันต่อการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมองค์การ สาหรับศตวรรษที่ 21 มีด้วยกัน 8 ประการ ดังนี้ 1. โลกาภิวัฒน์และเศรษฐกิจโลก 2. เทคโนโลยี 3. การปฏิรูปและการปรับเปลี่ยนในโลกแห่งการทางาน 4. อิทธิพลของลูกค้าที่เพิ่มขึ้น 5. ความรู้และการเรียนรู้ได้กลายเป็นสินทรัพย์ที่สาคัญต่อองค์การ 6. ความคาดหวังและบทบาทที่กาลังเปลี่ยนไปของคนทางาน 7.ความหลากหลายในที่ทางานและการเคลื่อนย้ายของแรงงาน 8. ความสับสนยุ่งเหยิงและการเปลี่ยนแปลงที่ทวีขึ้นอย่างรวดเร็ว
  • 11. ๗. ปัจจัยที่สามารถทาให้องค์การบรรลุประสิทธิ์ผล จากการศึกษาของ Daniel R. Denison (1990) ในปัจจัยด้านวัฒนธรรม องค์การและประสิทธิผลขององค์การ พบว่าวัฒนธรรมองค์การจะส่งผลต่อ ประสิทธิผล (Effectiveness) ขององค์การเป็นอย่างมาก เมื่อวัฒนธรรมนั้น ก่อให้เกิด ๑. การผูกพัน (Involvement) ๒. การปรับตัว (Adaptability) ๓. การประพฤติปฏิบัติได้สม่าเสมอ (Consistency) ๔. มีภารกิจ (และวิสัยทัศน์) ขององค์การที่เหมาะสม
  • 12. มีผู้เสนอแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบของปัจจัยด้าน วัฒนธรรมองค์การ วัฒนธรรมโรงเรียนไว้แตกต่างกัน ดังนี้ ๘. แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับปัจจัยด้านวัฒนธรรมองค์การ รอ ิน ์ (Robbins, ๑๙๘๙) ได้กาหนดวัฒนธรรมองค์การออกเป็น ๕ ด้าน คือ ๑. ความรับผิดชอบของสมาชิก ๒. การกาหนดทิศทางที่ชัดเจน ๓. การร่วมมือกันของสมาชิก ๔. การให้การสนับสนุนการจัดการ ๕. การติดต่อสื่อสาร
  • 13. เดนิ ัน (Denison, ๑๙๙๐) พบว่าวัฒนธรรมองค์การที่ส่งผลต่อ ประสิทธิผลขององค์การตามที่ต้องการได้ เมื่อวัฒนธรรมนั้นก่อให้เกิดลักษณะ ทั้ง ๔ ส่วน คือ ๘. แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับปัจจัยด้านวัฒนธรรมองค์การ ๑. การผูกพันและการมีส่วนร่วมในการทางาน ๒. การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมทั้งภายนอก และภายในองค์การ ๓. การประพฤติปฏิบัติที่สม่าเสมอ ๔. มีพันธกิจที่ชัดเจน
  • 14. มคกิลไคร ต์ ล คณ (MacGilchrist and others, ๑๙๙๕)ได้สรุปว่า วัฒนธรรมโรงเรียนจะถูกส่งผ่านมิติทั้ง ๓ ระดับที่สัมพันธ์กัน คือ ๘. แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับปัจจัยด้านวัฒนธรรมองค์การ ๑. ความสัมพันธ์ทางวิชาชีพ ๒. การเตรียมการองค์การ ๓. โอกาสเพื่อการเรียนรู้ กรูเอนเนอร์ ล วาเลนไ น์ (Gruenert and Valentine, 1998 cited in Matthew Ohlson, 2009) ได้สรุปว่าวัฒนธรรมโรงเรียน ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบสาคัญ คือ ๔. การมีเป้าประสงค์ที่ชัดเจน ๑. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ๒. การให้ความร่วมมือของครู ๓. การพัฒนาวิชาชีพ
  • 15. ทฤษฎีของการเรียนรู้วัฒนธรรมองค์การ องค์กรทฤษฎี Z และวัฒนธรรม 1. การจ้างงานระยะความผูกพันต่อองค์การ 2. การตัดสินใจมีส่วนร่วมกับการทาความร่วมมือ และการทางานเป็นทีม 3. ความรับผิดชอบส่วนบุคคลสาหรับการตัดสินใจ กลุ่มความน่าเชื่อถือและความจงรักภักดีของกลุ่ม 4. การวางแนวแบบองค์รวมยึดหลักความเสมอ ภาคของมนุษย์ทุกคนในความรู้สึกของพนักงาน รักษาความปลอดภัยและความมุ่งมั่นต่อองค์กร; ผู้เข้าร่วมเป็นลงทุนในองค์กร William G. Ouchi (วิลเลี่ยม โออุชิ)
  • 16. ๙. ทฤษฎีของการเรียนรู้วัฒนธรรมองค์การ ทฤษฎี A เป็นแนวความคิดการจัดการของสหรัฐอเมริกาซึ่งองค์การเน้น การจ้างงานระยะสั้น พนักงานมีส่วนร่วมและความรับผิดชอบต่อองค์การน้อย ทฤษฎี J เป็นแนวความคิดการจัดการของญี่ปุ่นซึ่งองค์การเป็นการจ้างงาน ตลอดชีพ พนักงานมีส่วนร่วมและความรับผิดชอบต่อองค์การสูง ทฤษฎี Z เป็นแนวความคิดการจัดการประสมประสาน ระหว่างญี่ปุ่นและ สหรัฐอเมริกาโดยเน้นการจ้างงานระยะยาวมีการตัดสินใจและความรับผิดชอบ ร่วมกัน
  • 17. ทฤษฎีของการเรียนรู้วัฒนธรรมองค์การ Robert H.Waterman JR– 1. มุ่งเน้นการปฏิบัติ (a bias for action) 2. มีความใกล้ชิดกับลูกค้า(close to the customer) 3. มีความอิสระในการทางานและความรู้สึกเป็นเจ้าของกิจการ (autonomy and entrepreneur-ship) 4. เพิ่มผลผลิตโดยอาศัยพนักงาน (productivity through people) 5. สัมผัสกับงานอย่างใกล้ชิดและความเชื่อมั่นในคุณค่าเป็น แรงผลักดัน (hands-onand value driven) 6. ทาแต่ธุรกิจที่มีความเชี่ยวชาญและเกี่ยวเนื่อง (stick to the knitting) 7. รูปแบบเรียบง่ายธรรมดา พนักงานอานวยการหรือส่วนกลางมีจากัด (simple form and lean staff) 8. เข้มงวดและผ่อนปรนในเวลาเดียวกัน (simultaneous loose-tight properties)Thomas J. Peters หนังสือ In Search of Excellence
  • 18. ทฤษฎีของการเรียนรู้วัฒนธรรมองค์การ Luther Gulick แนวคิด ภาระหน้าที่ที่สาคัญของนักบริหาร POSDCoRB ใน บทความ Paper on the Science of Administration: Notes on the Theory of Organization” POSDCoRB เป็นเครื่องมือสาคัญสาหรับผู้บริหาร POSDCoRB คือ หลักในการบริหารจัดการองค์กรที่ใช้กันทั้ง ในภาครัฐ และ เอกชน ที่ผู้มีอานาจบริหารมีหน้าที่ และ บทบาทการบริหารอยู่ 7 ประการ คือ 1. P = Planning การวางแผน 2. O = Organizing การจัดการองค์กร 3. S = Staffing การจัดการด้านบุคคลากร 4. D = Directing การควบคุมสั่งการ 5. Co = Coordinating การประสานงาน 6. R = Report การรายงาน 7. B = Budgeting การจัดการงบประมาณ
  • 19.  กรณศึกษา  วัดโ ธรวรมหาวิหาร ชหลัก POSDCoRB โดยนาไ รั ชกั ความ ัด ยง เกิด ึน นวัด นชวงเ ลยน ผานเจาอาวา รู หมเ ามารั ตา หนง ซึงมความ ตกตาง น นว าง ริหาร ล วิ ัย ัศน์  มการนาหลัก POSDCoRB มา รั ช นการวางหลักการ ริหารเพืออนาคต ดังน  1. คลากร นวัด มพร งค์ มความ ตกตาง นถิน มา ล ร ดั การศึกษาจึง าการ งเ ริม คคลากรดวยการ งเ ริมดานการศึกษาดวยการจัดตังโรงเรยนพร ริยัติธรรมวัดโ ธรวราราม จ เหน ไดวา มการ ชหลัก ฤษฏ างดานการวาง ผน (Planning)ดาน คลากร (Staffing) ล ดาน ง ร มาณ (Budgeting)  2. นชวงเ ลยนผานตา หนงเจาอาวา มาเ นรู ัจจ ัน มความเหน ตกตาง นองค์กร างก นั นน างกไมเหนดวย จึง า หอานาจการ ังการ องเจาอาวา รู ัจจ ันยังไมมนาหนักเ า ควร จึง นาหลักการ คว คม ังการ (Directing) นามา ช รั รง  3. เมือมการไม ฏิ ัติตามนโย าย องเจาอาวา รู หม กม ลงโ ษ เพือเ นการคว คมดู ล ห คลากร วน ห มความเ า จ นหนา อง ตล รู  4. ม ผนงาน นการ นั นน หวัดไดมนโย าย นการจัด าพิพิธภัณฑ์เพือการศึกษาพร ธรรม งงานหนา รั ผิดชอ น ตล วน า หมการ หความรวมมือกันมาก ึน  ใครได้ทำทฤษฎีของ Luther Gulick ไปใช้
  • 20. ๑. ภาวะผู้นากับวัฒนธรรมองค์การในสถานศึกษา ๒. ความสาคัญของวัฒนธรรมองค์การในสถานศึกษา ๓. บทบาทของครูใหญ่กับวัฒนธรรมองค์การในสถานศึกษา ๑๐. ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์การ ที่สัมพันธ์กับการบริหารการศึกษา