SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
Download to read offline
รถไฟฟ้าบีทีเอส
รถไฟฟ้าบีทีเอส
กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองที่เป็นศูนย์กลางของประเทศ
ไทย เป็นแหล่งเศรษฐกิจ การค้า และธุรกิจที่สาคัญ มีผู้คนอาศัยอยู่เป็น
จานวนมาก ทาให้การคมนาคมในกรุงเทพมหานครไม่สะดวก รถติด เรา
สามารถเลือกวิธีการเดินทางในกรุงเทพมหานครได้หลายวิธี หนึ่งในนั้น
คือการเดินทางด้วยรถไฟฟ้ าบีทีเอส
‘BTS’ มีวัตถุประสงค์ในการสร้างเพื่อลดปัญหาการจราจรและยัง
สร้างทางเลือกในการเดินทางให้กับประชาชน รถไฟฟ้ าบีทีเอส เป็นการโดยสารที่ให้
ความปลอดภัยที่สุด โดยเป็นการเดินทางที่สะดวกสบายในการโดยสารไปรอบกรุงเทพฯ
เนื่องจากมีสถานีต่าง ๆ ตั้งอยู่ในแหล่งชุมชน และย่านธุรกิจ ในแต่ละขบวนสามารถ
รองรับผู้โดยสารได้มากกว่า 1,000 คน ทาให้รถไฟฟ้ าบีทีเอส เป็นที่นิยมอย่างมากของ
คนกรุงเทพฯ
แนวคิดเรื่องรถไฟฟ้า
การรถไฟแห่งประเทศไทยได้ทาการศึกษาเรื่องการเดินรถไฟฟ้ ามาแล้วหลายครั้ง
• ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2517 (ระหว่างวิกฤตกาลน้ามัน)รัฐบาลของประเทศฝรั่งเศสได้จัดส่งหน่วยงานที่ปรึกษา SOFRERAIL มาศึกษาเรื่อง
การเดินรถไฟฟ้ าในเส้นทางสายเหนือ
• ครั้งที่สองเมื่อ พ.ศ. 2522-2523 รัฐบาลประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ได้ให้ความช่วยเหลือแก่รัฐบาลไทยโดยผ่าน ESCAP ใน
การจัดส่งบริษัทที่ปรึกษา DE-consult มาทาการศึกษาเรื่องการเดินรถไฟฟ้ าในเส้นทางสายเหนืออีกครั้งหนึ่ง
• พ.ศ. 2530 ESCAP ได้จัดส่งบริษัทที่ปรึกษาญี่ปุ่น คือ Japan Railway Technical Service (JARTS) มาทาการศึกษาเรื่องโครงการ
เดินรถไฟฟ้ าในภูมิภาค โดยกรณีประเทศไทยนั้น ได้ทาการศึกษาเรื่องการเดินรถไฟฟ้ าในเส้นทางสายตะวันออกเฉียงเหนือ
• พ.ศ. 2537 รัฐบาลญี่ปุ่นโดย JICA (Japan International Corporation Agency) ได้เข้ามาทาการศึกษาเรื่อง An Improvement Plan
for Railway Transport in and around the Bangkok Metropolis in Consideration of Urban Development in the Kingdom of
Thailand และได้แนะนาให้เพิ่มบทบาทของการขนส่งผู้โดยสารในเมืองด้วยรถไฟและสมควรเดินรถด้วยไฟฟ้ าเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใน
การขนส่ง
ก า ร เ ดิ น ร ถ ไ ฟ ฟ้ า ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย เ พิ่ ง จ ะ เ กิ ด ขึ้น เ ป็ น ค รั้ง แ ร ก เ มื่ อ ร ถ ไ ฟ ฟ้ า ข น ส่ ง ม ว ล ช น ข อ ง
บ ริ ษั ท B T S C ไ ด้ เ ปิ ด ก า ร เ ดิ น ร ถ ใ น ปี 2 5 4 2
เป็นรถไฟฟ้ าสายแรกของประเทศไทยที่ดาเนินการ โดยบริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จากัด (มหาชน)
เปิดให้บริการครั้งแรกเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2542 ใน 2 เส้นทาง คือ
สายสุขุมวิท ระยะทาง 17 กม. ได้รับชื่อพระราชทานว่า
"รถไฟฟ้ าเฉลิมพระเกียรติ ๖ รอบพระชนมพรรษา สาย ๑"
และเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม 2554 ได้เปิดให้บริการส่วนต่อ
ขยาย สายสุขุมวิทอย่างเป็นทางการ ระยะทาง 5.25 กม.
จากสถานีอ่อนนุชถึงสถานีแบริ่ง
สายสีลม ระยะทาง 6.5 กม. ซึ่งได้รับชื่อพระราชทานว่า
"รถไฟฟ้ าเฉลิมพระเกียรติ ๖ รอบพระชนมพรรษา สาย ๒"
และเมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2552 ได้เปิดให้บริการส่วนต่อ
ขยายสายสีลมอย่างเป็นทางการ ระยะทาง 2.2 กม. จาก
สถานีสะพานตากสินถึงสถานีวงเวียนใหญ่ ซึ่งทาให้มี
ระยะทางในการให้บริการรวม 30.95 กม. ใน 30 สถานี
ระบบโครงสร้าง
ทางวิ่ง
สายสุขุมวิท
ให้บริการจากแบริ่งถึงหมอชิต
เส้นทางเริ่มจาก บริเวณสุขุมวิท 107 ผ่านแยก
บางนา มาตามถนนสุขุมวิท ถนนเพลินจิต ถนน
พระราม 1 ถนนพญาไท อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
เข้าสู่ถนนพหลโยธิน สนามเป้ า สะพานควาย
ไปสิ้นสุดที่สวนจตุจักร ทาให้สายสุขุมวิทมี
ระยะทางรวมทั้งสิ้นประมาณ 22.25 กิโลเมตร
มี 22 สถานี รวมสถานีร่วม (สถานีสยาม)
1. สถานีแบริ่ง
2. สถานีบางนา
3. สถานีอุดมสุข
4. สถานีปุณณวิถี
5. สถานีบางจาก
6. สถานีอ่อนนุช
7. สถานีพระโขนง
8. สถานีเอกมัย
9. สถานีทองหล่อ
10. สถานีพร้อมพงษ์
11. สถานีอโศก
12. สถานีนานา
13. สถานีเพลินจิต
14. สถานีชิดลม
15. สถานีสยาม (สถานีร่วม)
16. สถานีราชเทวี
17. สถานีพญาไท
18. สถานีอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
19. สถานีสนามเป้ า
20. สถานีอารีย์
21. สถานีสะพานควาย
22. สถานีหมอชิต
สายสุขุมวิท มี 22 สถานี ดังนี้
E14
E13
E12
E11
E10
E9
E8
E7
E6
E5
E4
E3
E2E1CEN
N1
N2
N3
N4
N5
N7
N8
ระบบโครงสร้าง
ทางวิ่ง
สายสีลม
ให้บริการจากตลาดพลูถึงสนามกีฬาแห่งชาติ
เส้นทางเริ่มจากแยกรัชดา - ตลาดพลูมาตาม
ถนนราชพฤกษ์ ผ่านแยกตากสิน ข้ามแม่น้า
เจ้าพระยาที่สะพานตากสิน ไปถนนสาทร เลี้ยว
ซ้ายเข้าถนนช่องนนทรี ผ่านถนนสีลม สวน
ลุมพินี ถนนราชดาริ และเลี้ยวซ้ายเข้าถนน
พระราม 1 ไปสิ้นสุดที่บริเวณหน้าสนามกีฬา
แห่งชาติ ทาให้สายสีลมมีระยะทางรวมทั้งสิ้น
ประมาณ 10.43 กิโลเมตร มี 11 สถานี รวม
สถานีร่วม (สถานีสยาม)
1. สถานีสนามกีฬาแห่งชาติ
2. สถานีสยาม (สถานีร่วม)
3. สถานีราชดาริ
4. สถานีศาลาแดง
5. สถานีช่องนนทรี
6. สถานีสุรศักดิ์
7. สถานีสะพานตากสิน
8. สถานีกรุงธนบุรี
9. สถานีวงเวียนใหญ่
10. สถานีโพธิ์นิมิตร
11. สถานีตลาดพลู
สายสีลม มี 11 สถานี ดังนี้
W1 CEN
S1
S2
S3
S5S6S7S8S9S10
โครงสร้างทางวิ่งรถไฟฟ้ ามีลักษณะเป็นทางยกระดับ (Viaduct) วางบนเสาเดี่ยว ซึ่ง
โดยทั่วไปจะสร้างอยู่ในเกาะกลางถนน ทางยกระดับนี้กว้างประมาณ 9 เมตร อยู่สูงจากพื้น
โดยทั่วไปประมาณ 12 เมตร เป็นคอนกรีตหล่อสาเร็จแบบชิ้นส่วน (Segment) มาประกอบ
กันทีละช่วงเสา (Span-by-Span) มีรอยต่อแบบ Dry Joint และยึดด้วยลวดแรงดึงสูงแบบ
ภายนอก (External Post-Tensioning) อยู่ภายในช่องว่างของ Segment สาเหตุที่เลือกใช้
ระบบการก่อสร้างแบบนี้ เนื่องจากวิธีดังกล่าวมีความรวดเร็วในการติดตั้งและหลีกเลี่ยง
ผลกระทบต่อการจราจรที่คับคั่งในเมือง สาหรับเสารองรับทางยกระดับสร้างด้วยคอนกรีต มี
ความกว้างประมาณ 2 เมตร มีระยะห่างช่วงเสาประมาณ 30 – 35 เมตร
โครงสร้างทางวิ่งรถไฟฟ้ า
ระบบรถไฟฟ้ าบีทีเอส
เป็นระบบขนส่งมวลชนความจุสูง
แบบมาตรฐาน ที่ใช้กันแพร่หลาย
ในเมืองใหญ่ทั่วไป ใช้มอเตอร์
ไฟฟ้ าในการขับเคลื่อน วิ่งบนราง
คู่ยกระดับ แยกทิศทางไปและ
กลับ โดยมีรางป้ อนกระแสไฟฟ้ า
อยู่ด้านข้าง (Third Rail System)
สามารถให้บริการแก่ผู้โดยสารได้
มากกว่า 1,000 คน ต่อขบวน
ในขณะที่การเดินทางโดยรถยนต์
ต้องใช้รถยนต์จานวนมากถึง
800 คัน เพื่อขนส่งผู้โดยสารใน
จานวนที่เท่ากัน นับได้ว่าการ
ให้บริการของรถไฟฟ้ าบีทีเอส
เป็ นการพลิกโฉมรูปแบบการ
เดินทาง และเป็ นการปฏิวัติ
มาตรฐานการให้บริการของ
ระบบขนส่งมวลชน
ประชาชนเลือกใช้บริการรถไฟฟ้ าบีทีเอสเป็นปัจจัยหลัก เนื่องจากรวดเร็วกว่าการจราจรบนท้องถนน
ใช้รางคู่ยกระดับ แยกทิศทางไปและกลับ โดยมีรางป้ อนกระแสไฟฟ้ าอยู่ด้านข้าง (Third Rail System)
ระบบรางของรถไฟฟ้ า
ข้อมูลเกี่ยวกับตัวรถบีทีเอส
ขบวนรถไฟฟ้ า 1 ขบวน ประกอบด้วยตู้โดยสาร จานวน 3 ตู้ หรือ 3 ตู้ พ่วงต่อกัน 2 ขบวน สามารถวิ่งกลับทิศทางได้ โดยรถที่ใช้มีอยู่ 2
ประเภทหลักคือ รถชนิดที่มีห้องคนขับ และมีระบบขับเคลื่อน กับรถที่ไม่มีห้องคนขับ หรือรถพ่วง ซึ่งมีทั้งชนิดที่มี และไม่มีระบบขับเคลื่อน ตัวถังของ
รถไฟฟ้ า บีทีเอส ผลิตจากเหล็กปลอดสนิม ติดตั้งระบบปรับอากาศ พร้อมหน้าต่างชนิดกันแสง รถแต่ละขบวนมีความกว้างประมาณ 3.20 เมตร ยาว
ประมาณ 21.8 เมตร จุผู้โดยสารได้กว่า 1,000 คน ในปัจจุบันมีขบวนรถอยู่ในระบบทั้งหมด 35 ขบวน
รถรุ่น Siemens Modular Metro รถรุ่น Bombardier Movia (CNR)
สายที่ให้บริการ สายสุขุมวิท สายที่ให้บริการ สายสีลม,
ตัวถังรถทาจากเหล็กปลอดสนิม ติดตั้งระบบปรับ
อากาศ พร้อมหน้าต่างชนิดกันแสง รถไฟฟ้ าสามารถ
ขับเคลื่อนได้โดยใช้แรงดันไฟฟ้ า 750 Vdc โดยรับจาก
รางส่งที่ 3
ตัวถังของขบวนรถทาเหล็กปลอดสนิมและอะลูมิเนียม ติดตั้งระบบปรับ
อากาศทั้งหมด 8 ยูนิต พร้อมหน้าต่างชนิดกันแสง และมีระบบแผนที่นา
ทางหรือ Dynamic Route Map รถไฟฟ้ าสามารถขับเคลื่อนได้โดยใช้
แรงดันไฟฟ้ า 750 Vdc โดยรับจากรางส่งที่ 3
สายสุขุมวิท
ความยาว 3 - 4 ตู้ต่อ 1 ขบวน ความยาว 4 ตู้ต่อ 1 ขบวน
หลักการออกแบบสถานีรถไฟฟ้า
Side Platform Station
มีชานชาลาอยู่สองข้าง โดยรถไฟฟ้ าวิ่งอยู่ตรง
กลาง สถานีทั่วไปได้ออกแบบให้มีลักษณะแบบ
นี้เนื่องจากก่อสร้างได้รวดเร็วและใช้เนื้อที่น้อย
หลักการออกแบบสถานีรถไฟฟ้า
Centre Platform
มีชานชาลาอยู่ตรงกลางและรถไฟฟ้ าวิ่งอยู่สองข้าง
สถานีชนิดนี้มีประสิทธิภาพสูงกว่าแบบแรก แต่การ
ก่อสร้างยุ่งยากกว่า เนื่องจากตัวรางต้องเบนออก
จากกันเมื่อเข้าสู่สถานี
โครงสร้าง
สถานีมี 3 ชั้น
ชั้นพื้นถนน
(Street Level)
ชั้นจาหน่ายตั๋ว
(Concourse Level)
ชั้นชานชาลา
(Platform Level)
ชั้นพื้นถนน (Street Level) เป็นชั้นล่างสุด
ของสถานีอยู่ ระดับเดียวกับถนน มีอุปกรณ์ต่าง ๆ ดังนี้
1. เครื่องกาเนิดไฟฟ้ า
2. ถังเก็บน้ามันเชื้อเพลิง
3. ปั๊มการส่งจ่ายน้า
4. ถังเก็บน้า
ข้อมูลต่าง ๆ ที่แสดงที่ชั้นพื้นถนนมีดังนี้
- ป้ ายสัญลักษณ์ “ BTS”
- ชื่อสถานี
- ป้ ายบอกทาง
- ป้ ายบอกเวลาเดินรถขบวนแรกและขบวนสุดท้าย
ชั้นพื้นถนน (Street Level)
ชั้นจาหน่ายตั๋ว (Concourse Level)
สาหรับสถานีทั่วไป ชั้นจาหน่ายตั๋วจะแบ่งพื้นที่ออกเป็น 2 ส่วน คือ
1.พื้นที่สาธารณะ
ประกอบด้วยพื้นที่สาหรับผู้โดยสารที่
ชาระค่าโดยสารแล้ว (Paid Area) และพื้นที่สาหรับ
ผู้โดยสารที่ยังไม่ได้ชาระค่าโดยสาร (Unpaid Area) ทั้ง
สองพื้นที่นี้ถูกแยกด้วยประตูเข้า-ออกอัตโนมัติ
(Automatic Gate) และประตูพิเศษ (Flush Gate)
2.พื้นที่บริษัท
เป็นพื้นที่ที่เกี่ยวข้องกับการทางานด้าน
เทคนิคของบริษัท เช่น ห้องควบคุมสถานี ห้องเครื่องมือ
ติดต่อสื่อสารอาณัติสัญญาณต่าง ๆ
ชั้นจาหน่ายตั๋ว (Concourse Level)
สาหรับสถานีสยาม (สถานีร่วม)
พื้นที่สาหรับผู้โดยสารที่ชาระค่าโดยสารแล้ว
(Paid Area) จะแบ่งออกเป็น 2 ส่วนและพื้นที่สาหรับ
ผู้โดยสารที่ยังไม่ได้ชาระค่าโดยสาร (Unpaid Area)
จะมี 3 ส่วน
ข้อมูลต่างๆ ที่แสดงในชั้นจาหน่ายตั๋ว มีดังนี้
- แผนที่แสดงตาแหน่งต่างๆ ของสถานี
- แผนที่แสดงเส้นทางของการเดินรถ
- ตารางเวลาการเดินรถ
- กฎระเบียบการใช้บริการของผู้โดยสารและค่า
โดยสาร
- ป้ ายบอกทิศทางของเส้นทางการเดินรถ
ชั้นชานชาลา (Platform Level)
• สถานีทั่วไป จะมีชานชาลาอยู่ด้านข้าง (Side
Platform) และมีทางวิ่งอยู่ตรงกลาง
• สถานีสยาม (สถานีร่วม) จะมีชานชาลา 2 ชั้น ชานชาลา
แต่ละชั้นจะอยู่ตรงกลาง (Centre Platform)ระหว่าง
ทางวิ่งทั้งสองชั้นของชานชาลา
สถานีรถไฟฟ้ าบีทีเอส ได้รับการออกแบบให้หลบเลี่ยงสาธารณูปโภคทั้งใต้ดิน และบนดิน โดยที่ยังคงรักษาผิวการจราจรบนถนนไว้
มากที่สุด ตัวสถานีได้รับการออก แบบให้มีโครงสร้างแบบเสาเดียว มีความยาวประมาณ 150 เมตร มี 2 ลักษณะ คือ
ชั้นชานชาลา (Platform Level)
- ชานชาลาชั้นที่ 1 เป็นชานชาลาสาหรับเส้นทางที่จะไปแบริ่ง หรือ ตลาดพลู
- ชานชาลาชั้นที่ 2 เป็นชานชาลาสาหรับเส้นทางที่จะไปหมอชิต หรือ สนามกีฬาแห่งชาติ
ชานชาลาชั้นที่ 1
ชานชาลาชั้นที่ 2
สถานีสยาม
สิ่งอานวยความสะดวก
บันไดเลื่อน ลิฟต์
ป้ ายบอกทางและแผนที่
ทางเชื่อมสู่อาคารข้างเคียง
ร้านค้าและจุดบริการธุรกรรมด้านต่างๆ BMA Express Service
การเชื่อมต่อกับระบบขนส่งมวลชนอื่น
รถไฟฟ้ า
มหานคร สาย
เฉลิมรัชมงคล
รถไฟฟ้ าเชื่อม
ท่าอากาศยาน
สุวรรณภูมิ
ท่าเรือสาทร
ทางเดินเข้า
อาคาร
รถโดยสารด่วน
พิเศษ BRT
รถไฟฟ้ ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ผู้โดยสารสามารถเปลี่ยนไปใช้รถไฟฟ้ ามหานครได้ที่
สถานีหมอชิต เชื่อมต่อโดยตรงกับ สถานีสวนจตุจักร
สถานีอโศก เชื่อมต่อโดยตรงกับ สถานีสุขุมวิท
สถานีศาลาแดง เชื่อมต่อกับ สถานีสีลม
การเชื่อมต่อกับระบบขนส่งมวลชนอื่น
1
2
3
1
2
3
ทางเดินเข้าอาคาร
การเชื่อมต่อกับระบบขนส่งมวลชนอื่น
• สถานีสนามกีฬาแห่งชาติ สามารถเดินไป
ยังห้างสรรพสินค้าสยามดิสคัฟเวอรีเอ็ม บี
เค เซ็นเตอร์และหอศิลปวัฒนธรรมแห่ง
กรุงเทพมหานครได้
• สถานีสยาม สามารถเดินไปยัง
ห้างสรรพสินค้า เซ็นทรัลเวิลด์, สยามเซ็น
เตอร์, สยามพารากอน ได้ด้วยทางเดิน
เชื่อมใต้รางรถไฟฟ้ าระหว่างสถานีสยาม
และสถานีชิดลม ที่เรียกว่า สกายวอล์ก
(Sky Walk)
• สถานีราชเทวี สามารถเดินเข้าออกโรงแรม
เอเชียได้ตั้งแต่เวลา 07:00-23:00 น.
• สถานีศาลาแดง สามารถเดินไปยัง
ศูนย์การค้าสีลมคอมเพลกซ์, ตึกธนิยะ
• สถานีอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ สามารถเดินได้
รอบวงเวียนอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ทั้งยัง
สามารถเชื่อมต่อกับโรงภาพยนตร์เซนจูรี่
เดอะมูฟวี่ พลาซ่า ได้อีกด้วย
สกายวอล์ค เป็นทางเดินลอยฟ้ าที่ปราศจาก
สิ่งกีดขวาง โดยเมื่อออกจากรถไฟฟ้ าแล้ว
สามารถเดินเท้าต่อไปยังจุดหมายปลายทาง
ได้สะดวกรวดเร็ว เพื่อให้การเดินเท้าเป็น
ทางเลือกแทนการขับรถ เพิ่มความปลอดภัย
ให้กับคนเดินเท้าในเวลากลางคืน ด้วยไฟฟ้ า
ส่องสว่างและกล้องวงจรปิดตรวจจับความ
เคลื่อนไหวตลอดแนวเส้นทาง
(Sky Walk)
รถโดยสารด่วนพิเศษ (Bus RapidTransit : BRT)
การเชื่อมต่อกับระบบขนส่งมวลชนอื่น
สามารถเปลี่ยนไปใช้รถโดยสารประจาทางด่วนพิเศษ(บีอาร์ที) สาย
สาทร-ราชพฤกษ์ได้ที่สถานีช่องนนทรี โดยเชื่อมต่อกับสถานีสาทร
ของรถโดยสารด่วนพิเศษและที่สถานีตลาดพลูอีกแห่งโดยเชื่อมต่อ
กับสถานีราชพฤกษ์ ของรถโดยสารด่วนพิเศษ
ท่าเรือ
การเชื่อมต่อกับระบบขนส่งมวลชนอื่น
สถานีสะพานตากสิน ตั้งอยู่บริเวณริมแม่น้าเจ้าพระยาฝั่งพระนคร สามารถเชื่อมต่อกับ
ท่าเรือสาทร เพื่อใช้บริการเรือด่วนเจ้าพระยา ในเส้นทางนนทบุรี-สาทร-วัดราชสิงขร และ
ปากเกร็ด-นนทบุรี-สาทร-ราษฎร์บูรณะ หรือใช้บริการเรือโดยสารข้ามฟากไปยังท่าเรือตาก
สิน ที่ฝั่งธนบุรี แล้วเดินออกสู่ ถนนเจริญนครได้ นอกจากนี้ยังมีบริการเรือโดยสารคลอง
ดาวคะนอง ในเส้นทางดาวคะนอง-สาทร
รถไฟฟ้ าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ผู้โดยสารสามารถเปลี่ยนไปใช้รถไฟฟ้ าเชื่อมท่าอากาศยาน
สุวรรณภูมิหรือแอร์พอร์ทลิงก์ได้ที่ สถานีพญาไท โดยทางการรถไฟแห่ง
ประเทศไทยได้สร้างทางเชื่อมต่อโดยตรงจากสถานีพญาไทของโครงการ
แอร์พอร์ทลิงก์มายังสถานีพญาไทของรถไฟฟ้ าบีทีเอส
การเชื่อมต่อกับระบบขนส่งมวลชนอื่น
บัตรโดยสาร ปัจจุบันแบ่งใช้งานออกเป็น 3 ประเภท
1.บัตรโดยสารชนิดแถบแม่เหล็ก 2.บัตรโดยสารบีทีเอสสมาร์ทพาส (BTS Smart Pass) 3.บัตรแรบบิท (Rabbit Card)
ตั๋วโดยสารเที่ยวเดียว
บัตรโดยสารประเภท 1 วัน
1.บัตรโดยสารชนิดแถบแม่เหล็ก
Single Journey ticket คือ ตั๋วโดยสารที่สามารถใช้
เดินทางได้ 1 เที่ยว ตามมูลค่าในตั๋ว (อัตราค่าโดยสาร
ในปัจจุบัน 15 – 40 บาท) โดยตั๋วจะถูกเก็บคืนที่ประตู
อัตโนมัติฝั่งขาออก ตั๋วมีจาหน่ายที่เครื่องจาหน่ายตั๋ว
โดยสารอัตโนมัติชนิดไม่รับธนบัตร และชนิดรับธนบัตร
และใช้ได้เฉพาะวันที่ซื้อเท่านั้น (เวลาให้บริการ 06.00
น. - 24.00 น.)
เครื่องจาหน่ายตั๋วอัตโนมัติ ชนิดไม่รับธนบัตร (TIM)
One-Day Pass คือ บัตรโดยสารที่สามารถใช้
เดินทางได้ไม่จากัดเที่ยว และระยะทาง ภายใน
เวลาให้บริการ (06.00 น. – 24.00 น.) ของ
วันที่ซื้อหรือลงทะเบียน ไม่สามารถแลกคืน
มูลค่าคงเหลือภายในบัตรได้ มีจาหน่ายที่ห้อง
จาหน่ายตั๋วโดยสารทุกสถานี ราคาจาหน่าย
120 บาท
บัตรโดยสารประเภท 30 วัน
2.บัตรโดยสารบีทีเอสสมาร์ทพาส (BTS Smart Pass)
บัตรโดยสารประเภทเติมเงิน
สาหรับบุคคลทั่วไปนักเรียนนักศึกษา
มีเงื่อนไขของผู้โดยสารที่
สามารถใช้บัตรได้ ดังนี้บัตร
ประเภทนี้ใช้ได้เฉพาะผู้มี
สถานภาพนักเรียน นิสิต
นักศึกษาที่มีอายุไม่เกิน 23 ปี
บริบูรณ์
บัตรมีอายุการใช้งาน 5 ปี
นับจากวันที่ออกบัตร
จานวนเที่ยวการเดินทางใน
บัตร ใช้เดินทางได้ภายใน
30 วัน นับจากวันที่เติม
จานวนเที่ยวการเดินทาง
ครั้งสุดท้าย
SKY SmartPass มีอายุ
การใช้งาน 5 ปี นับจาก
วันที่ออกบัตร
บัตรจาหน่ายครั้งแรกขั้น
ต่า 130 บาท (รวมค่ามัด
จาการเดินทาง 30 บาท
และค่าธรรมเนียมการ
ออกบัตร 30 บาท)
บริษัท ขนส่งมวลชนกรุงเทพจากัด (มหาชน) หรือรถไฟฟ้ า BTS ได้ติด
ประกาศข่าวสาคัญคือยกเลิกจาหน่ายบัตรโดยสารเติมเงิน (Smart Pass)
และเปลี่ยนมาใช้บัตร Rabbit แทนบัตรโดยสารเติมเงิน (Smart Pass) ทุก
ประเภท
3.บัตรแรบบิท (Rabbit Card)
บัตรแรบบิท สาหรับผู้สูงอายุ
บัตรแรบบิท สาหรับบุคคลทั่วไป
บัตรแรบบิท สาหรับนักเรียน นักศึกษา
ผู้มีสิทธิ์ใช้บัตรแรบบิท
สาหรับนักเรียน นักศึกษา
ได้แก่ นักเรียน นิสิต นักศึกษา
ที่มีอายุไม่เกิน 23 ปีบริบูรณ์
โดยยึดวัน เดือน ปีเกิดในบัตร
ประจาตัวประชาชน และ
ศึกษาในสถานศึกษาใน
ประเทศไทยหรือสถานศึกษา
ในต่างประเทศ รวมถึง ชั้นเนติ
บัณฑิต โรงเรียนฝึกอาชีพและ
โรงเรียนสอนภาษาที่
กระทรวงศึกษาธิการรับรอง
หลักสูตร ณ วันที่ใช้บัตร
โดยสาร
ผู้มีสิทธิ์ใช้บัตรแรบบิท สาหรับผู้สูงอายุ
ได้แก่ ผู้ที่มีสัญชาติไทยอายุ 60 ปีขึ้นไป
โดยยึด วัน เดือน ปีเกิดในบัตรประจาตัว
ประชาชน ทั้งนี้ผู้ที่ใช้บัตรโดยสาร
ประเภทดังกล่าวจะต้องแสดงบัตร
ประจาตัวประชาชนต่อพนักงานเมื่อมี
การร้องขอ
แรบบิท ช่วยให้ชีวิตเมืองของคุณสะดวกสบายและง่ายดายยิ่งขึ้นด้วยระบบเงินอิเล็กทรอนิกส์หนึ่งเดียว
ที่ใช้ได้กับทั้งรถไฟฟ้ าบีทีเอสหรือเครือข่ายระบบขนส่งมวลชนอื่น ๆ รวมถึงร้านค้าและพันธมิตรอีก
มากมาย
แรบบิทมาตรฐาน ออกได้ที่ห้อง
จาหน่ายตั๋วโดยสารบีทีเอสทุกสถานี
แรบบิทมาตรฐาน ออกได้ในราคา 300
บาท (ราคารวมค่าธรรมเนียมการออก
แรบบิท 150 บาท ค่ามัดจาแรบบิท 50
บาท และมูลค่าเริ่มต้น 100 บาท
พร้อมใช้งาน)
ส่วนต่อขยายของรถไฟฟ้าบีทีเอส
• สายสีลม
1.ส่วนต่อขยายวงเวียนใหญ่ – บางหว้า
2.ส่วนต่อขยายสนามกีฬาแห่งชาติ – ยศเส
• สายสุขุมวิท
1.ส่วนต่อขยายแบริ่ง – เคหะสมุทรปราการ
2.ส่วนต่อขยายเคหะสมุทรปราการ - บางปู
3.ส่วนต่อขยายหมอชิต – สะพานใหม่
4.ส่วนต่อขยายสะพานใหม่ – คูคต
5. ส่วนต่อขยายคูคต – วงแหวนรอบนอกตะวันออก
6. ส่วนต่อขยายสายบางนา – สุวรรณภูมิ
1. 2.
3.
1. 2.
ความคืบหน้าของโครงการ
 ส่วนต่อขยายแบริ่ง - สมุทรปราการ ในขณะนี้กาลังเริ่มก่อสร้างทางวิ่งยกระดับ
พร้อมสถานีอีก 7 สถานี โดยการก่อสร้างทั้งหมดมีระยะเวลา 1,350 วัน วงเงิน
14,161 ล้านบาท
 ส่วนต่อขยายหมอชิต - สะพานใหม่ อยู่ในระหว่างการพิจารณา EIA ใหม่ทั้งหมด
จากการปรับแบบการก่อสร้างรถไฟฟ้ าสายสีชมพูเป็น Heavy Rail
เส้นทางรถไฟฟ้ าบีทีเอสใน
ปัจจุบันและในอนาคต
ที่เชื่อมต่อกับเส้นทาง
รถไฟฟ้ าทุกสาย
สายสุขุมวิท
สายสีลม
รถไฟฟ้าบีทีเอส

More Related Content

Viewers also liked

รายงานการวิจัย BTS เเละ MRT
รายงานการวิจัย BTS เเละ MRTรายงานการวิจัย BTS เเละ MRT
รายงานการวิจัย BTS เเละ MRTArknova2123
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำBts bus
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำBts busตัวอย่างแผนธุรกิจการทำBts bus
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำBts busNattakorn Sunkdon
 
อัตราค่าโดยสารที่ต่ำสุดเมื่อเดินทางจากต้นทางไปยังจุดหมายปลายทางด้วยรถไฟฟ้าบีท...
อัตราค่าโดยสารที่ต่ำสุดเมื่อเดินทางจากต้นทางไปยังจุดหมายปลายทางด้วยรถไฟฟ้าบีท...อัตราค่าโดยสารที่ต่ำสุดเมื่อเดินทางจากต้นทางไปยังจุดหมายปลายทางด้วยรถไฟฟ้าบีท...
อัตราค่าโดยสารที่ต่ำสุดเมื่อเดินทางจากต้นทางไปยังจุดหมายปลายทางด้วยรถไฟฟ้าบีท...Pream Kung
 
Sketch up 3d construction
Sketch up 3d construction Sketch up 3d construction
Sketch up 3d construction AL Kindi
 
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคมพัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคมaekgapak
 
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่ายใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่ายkrunoree.wordpress.com
 
China Coal Group railway maintenance tools
China Coal Group railway maintenance toolsChina Coal Group railway maintenance tools
China Coal Group railway maintenance toolsCelia Gao
 
Presentation on railway construction and maintenance
Presentation on railway construction and maintenancePresentation on railway construction and maintenance
Presentation on railway construction and maintenanceMohd Bakhsh
 
modern methods of railway track maintanence
modern methods of railway track maintanencemodern methods of railway track maintanence
modern methods of railway track maintanencekrishnacp
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจToilet
ตัวอย่างแผนธุรกิจToiletตัวอย่างแผนธุรกิจToilet
ตัวอย่างแผนธุรกิจToiletNattakorn Sunkdon
 
Earthwork & track formation Railway Engineering
Earthwork & track formation Railway EngineeringEarthwork & track formation Railway Engineering
Earthwork & track formation Railway EngineeringLatif Hyder Wadho
 
Automatic railway gate control
Automatic railway gate controlAutomatic railway gate control
Automatic railway gate controlMohamed Magdy
 
Highway & Railway Engineering
Highway & Railway EngineeringHighway & Railway Engineering
Highway & Railway EngineeringGAURAV. H .TANDON
 
Unit 1. introduction to Railway Engineering
Unit 1. introduction to Railway EngineeringUnit 1. introduction to Railway Engineering
Unit 1. introduction to Railway Engineeringnkocet
 

Viewers also liked (20)

รายงานการวิจัย BTS เเละ MRT
รายงานการวิจัย BTS เเละ MRTรายงานการวิจัย BTS เเละ MRT
รายงานการวิจัย BTS เเละ MRT
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำBts bus
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำBts busตัวอย่างแผนธุรกิจการทำBts bus
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำBts bus
 
อัตราค่าโดยสารที่ต่ำสุดเมื่อเดินทางจากต้นทางไปยังจุดหมายปลายทางด้วยรถไฟฟ้าบีท...
อัตราค่าโดยสารที่ต่ำสุดเมื่อเดินทางจากต้นทางไปยังจุดหมายปลายทางด้วยรถไฟฟ้าบีท...อัตราค่าโดยสารที่ต่ำสุดเมื่อเดินทางจากต้นทางไปยังจุดหมายปลายทางด้วยรถไฟฟ้าบีท...
อัตราค่าโดยสารที่ต่ำสุดเมื่อเดินทางจากต้นทางไปยังจุดหมายปลายทางด้วยรถไฟฟ้าบีท...
 
Sketch up 3d construction
Sketch up 3d construction Sketch up 3d construction
Sketch up 3d construction
 
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคมพัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
 
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่ายใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
 
China Coal Group railway maintenance tools
China Coal Group railway maintenance toolsChina Coal Group railway maintenance tools
China Coal Group railway maintenance tools
 
Lining&leveling
Lining&levelingLining&leveling
Lining&leveling
 
Railway Track Maintenance
Railway Track  MaintenanceRailway Track  Maintenance
Railway Track Maintenance
 
Presentation on railway construction and maintenance
Presentation on railway construction and maintenancePresentation on railway construction and maintenance
Presentation on railway construction and maintenance
 
modern methods of railway track maintanence
modern methods of railway track maintanencemodern methods of railway track maintanence
modern methods of railway track maintanence
 
thermit welding
thermit weldingthermit welding
thermit welding
 
Geometric design
Geometric designGeometric design
Geometric design
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจToilet
ตัวอย่างแผนธุรกิจToiletตัวอย่างแผนธุรกิจToilet
ตัวอย่างแผนธุรกิจToilet
 
Earthwork & track formation Railway Engineering
Earthwork & track formation Railway EngineeringEarthwork & track formation Railway Engineering
Earthwork & track formation Railway Engineering
 
Lecture 1 precise levelling
Lecture 1 precise levellingLecture 1 precise levelling
Lecture 1 precise levelling
 
Automatic railway gate control
Automatic railway gate controlAutomatic railway gate control
Automatic railway gate control
 
Railway track:An Introduction
Railway track:An IntroductionRailway track:An Introduction
Railway track:An Introduction
 
Highway & Railway Engineering
Highway & Railway EngineeringHighway & Railway Engineering
Highway & Railway Engineering
 
Unit 1. introduction to Railway Engineering
Unit 1. introduction to Railway EngineeringUnit 1. introduction to Railway Engineering
Unit 1. introduction to Railway Engineering
 

รถไฟฟ้าบีทีเอส

  • 3. กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองที่เป็นศูนย์กลางของประเทศ ไทย เป็นแหล่งเศรษฐกิจ การค้า และธุรกิจที่สาคัญ มีผู้คนอาศัยอยู่เป็น จานวนมาก ทาให้การคมนาคมในกรุงเทพมหานครไม่สะดวก รถติด เรา สามารถเลือกวิธีการเดินทางในกรุงเทพมหานครได้หลายวิธี หนึ่งในนั้น คือการเดินทางด้วยรถไฟฟ้ าบีทีเอส ‘BTS’ มีวัตถุประสงค์ในการสร้างเพื่อลดปัญหาการจราจรและยัง สร้างทางเลือกในการเดินทางให้กับประชาชน รถไฟฟ้ าบีทีเอส เป็นการโดยสารที่ให้ ความปลอดภัยที่สุด โดยเป็นการเดินทางที่สะดวกสบายในการโดยสารไปรอบกรุงเทพฯ เนื่องจากมีสถานีต่าง ๆ ตั้งอยู่ในแหล่งชุมชน และย่านธุรกิจ ในแต่ละขบวนสามารถ รองรับผู้โดยสารได้มากกว่า 1,000 คน ทาให้รถไฟฟ้ าบีทีเอส เป็นที่นิยมอย่างมากของ คนกรุงเทพฯ
  • 4. แนวคิดเรื่องรถไฟฟ้า การรถไฟแห่งประเทศไทยได้ทาการศึกษาเรื่องการเดินรถไฟฟ้ ามาแล้วหลายครั้ง • ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2517 (ระหว่างวิกฤตกาลน้ามัน)รัฐบาลของประเทศฝรั่งเศสได้จัดส่งหน่วยงานที่ปรึกษา SOFRERAIL มาศึกษาเรื่อง การเดินรถไฟฟ้ าในเส้นทางสายเหนือ • ครั้งที่สองเมื่อ พ.ศ. 2522-2523 รัฐบาลประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ได้ให้ความช่วยเหลือแก่รัฐบาลไทยโดยผ่าน ESCAP ใน การจัดส่งบริษัทที่ปรึกษา DE-consult มาทาการศึกษาเรื่องการเดินรถไฟฟ้ าในเส้นทางสายเหนืออีกครั้งหนึ่ง • พ.ศ. 2530 ESCAP ได้จัดส่งบริษัทที่ปรึกษาญี่ปุ่น คือ Japan Railway Technical Service (JARTS) มาทาการศึกษาเรื่องโครงการ เดินรถไฟฟ้ าในภูมิภาค โดยกรณีประเทศไทยนั้น ได้ทาการศึกษาเรื่องการเดินรถไฟฟ้ าในเส้นทางสายตะวันออกเฉียงเหนือ • พ.ศ. 2537 รัฐบาลญี่ปุ่นโดย JICA (Japan International Corporation Agency) ได้เข้ามาทาการศึกษาเรื่อง An Improvement Plan for Railway Transport in and around the Bangkok Metropolis in Consideration of Urban Development in the Kingdom of Thailand และได้แนะนาให้เพิ่มบทบาทของการขนส่งผู้โดยสารในเมืองด้วยรถไฟและสมควรเดินรถด้วยไฟฟ้ าเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใน การขนส่ง ก า ร เ ดิ น ร ถ ไ ฟ ฟ้ า ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย เ พิ่ ง จ ะ เ กิ ด ขึ้น เ ป็ น ค รั้ง แ ร ก เ มื่ อ ร ถ ไ ฟ ฟ้ า ข น ส่ ง ม ว ล ช น ข อ ง บ ริ ษั ท B T S C ไ ด้ เ ปิ ด ก า ร เ ดิ น ร ถ ใ น ปี 2 5 4 2
  • 5. เป็นรถไฟฟ้ าสายแรกของประเทศไทยที่ดาเนินการ โดยบริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จากัด (มหาชน) เปิดให้บริการครั้งแรกเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2542 ใน 2 เส้นทาง คือ สายสุขุมวิท ระยะทาง 17 กม. ได้รับชื่อพระราชทานว่า "รถไฟฟ้ าเฉลิมพระเกียรติ ๖ รอบพระชนมพรรษา สาย ๑" และเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม 2554 ได้เปิดให้บริการส่วนต่อ ขยาย สายสุขุมวิทอย่างเป็นทางการ ระยะทาง 5.25 กม. จากสถานีอ่อนนุชถึงสถานีแบริ่ง สายสีลม ระยะทาง 6.5 กม. ซึ่งได้รับชื่อพระราชทานว่า "รถไฟฟ้ าเฉลิมพระเกียรติ ๖ รอบพระชนมพรรษา สาย ๒" และเมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2552 ได้เปิดให้บริการส่วนต่อ ขยายสายสีลมอย่างเป็นทางการ ระยะทาง 2.2 กม. จาก สถานีสะพานตากสินถึงสถานีวงเวียนใหญ่ ซึ่งทาให้มี ระยะทางในการให้บริการรวม 30.95 กม. ใน 30 สถานี
  • 6. ระบบโครงสร้าง ทางวิ่ง สายสุขุมวิท ให้บริการจากแบริ่งถึงหมอชิต เส้นทางเริ่มจาก บริเวณสุขุมวิท 107 ผ่านแยก บางนา มาตามถนนสุขุมวิท ถนนเพลินจิต ถนน พระราม 1 ถนนพญาไท อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เข้าสู่ถนนพหลโยธิน สนามเป้ า สะพานควาย ไปสิ้นสุดที่สวนจตุจักร ทาให้สายสุขุมวิทมี ระยะทางรวมทั้งสิ้นประมาณ 22.25 กิโลเมตร มี 22 สถานี รวมสถานีร่วม (สถานีสยาม)
  • 7. 1. สถานีแบริ่ง 2. สถานีบางนา 3. สถานีอุดมสุข 4. สถานีปุณณวิถี 5. สถานีบางจาก 6. สถานีอ่อนนุช 7. สถานีพระโขนง 8. สถานีเอกมัย 9. สถานีทองหล่อ 10. สถานีพร้อมพงษ์ 11. สถานีอโศก 12. สถานีนานา 13. สถานีเพลินจิต 14. สถานีชิดลม 15. สถานีสยาม (สถานีร่วม) 16. สถานีราชเทวี 17. สถานีพญาไท 18. สถานีอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 19. สถานีสนามเป้ า 20. สถานีอารีย์ 21. สถานีสะพานควาย 22. สถานีหมอชิต สายสุขุมวิท มี 22 สถานี ดังนี้ E14 E13 E12 E11 E10 E9 E8 E7 E6 E5 E4 E3 E2E1CEN N1 N2 N3 N4 N5 N7 N8
  • 8. ระบบโครงสร้าง ทางวิ่ง สายสีลม ให้บริการจากตลาดพลูถึงสนามกีฬาแห่งชาติ เส้นทางเริ่มจากแยกรัชดา - ตลาดพลูมาตาม ถนนราชพฤกษ์ ผ่านแยกตากสิน ข้ามแม่น้า เจ้าพระยาที่สะพานตากสิน ไปถนนสาทร เลี้ยว ซ้ายเข้าถนนช่องนนทรี ผ่านถนนสีลม สวน ลุมพินี ถนนราชดาริ และเลี้ยวซ้ายเข้าถนน พระราม 1 ไปสิ้นสุดที่บริเวณหน้าสนามกีฬา แห่งชาติ ทาให้สายสีลมมีระยะทางรวมทั้งสิ้น ประมาณ 10.43 กิโลเมตร มี 11 สถานี รวม สถานีร่วม (สถานีสยาม)
  • 9. 1. สถานีสนามกีฬาแห่งชาติ 2. สถานีสยาม (สถานีร่วม) 3. สถานีราชดาริ 4. สถานีศาลาแดง 5. สถานีช่องนนทรี 6. สถานีสุรศักดิ์ 7. สถานีสะพานตากสิน 8. สถานีกรุงธนบุรี 9. สถานีวงเวียนใหญ่ 10. สถานีโพธิ์นิมิตร 11. สถานีตลาดพลู สายสีลม มี 11 สถานี ดังนี้ W1 CEN S1 S2 S3 S5S6S7S8S9S10
  • 10. โครงสร้างทางวิ่งรถไฟฟ้ ามีลักษณะเป็นทางยกระดับ (Viaduct) วางบนเสาเดี่ยว ซึ่ง โดยทั่วไปจะสร้างอยู่ในเกาะกลางถนน ทางยกระดับนี้กว้างประมาณ 9 เมตร อยู่สูงจากพื้น โดยทั่วไปประมาณ 12 เมตร เป็นคอนกรีตหล่อสาเร็จแบบชิ้นส่วน (Segment) มาประกอบ กันทีละช่วงเสา (Span-by-Span) มีรอยต่อแบบ Dry Joint และยึดด้วยลวดแรงดึงสูงแบบ ภายนอก (External Post-Tensioning) อยู่ภายในช่องว่างของ Segment สาเหตุที่เลือกใช้ ระบบการก่อสร้างแบบนี้ เนื่องจากวิธีดังกล่าวมีความรวดเร็วในการติดตั้งและหลีกเลี่ยง ผลกระทบต่อการจราจรที่คับคั่งในเมือง สาหรับเสารองรับทางยกระดับสร้างด้วยคอนกรีต มี ความกว้างประมาณ 2 เมตร มีระยะห่างช่วงเสาประมาณ 30 – 35 เมตร โครงสร้างทางวิ่งรถไฟฟ้ า
  • 11. ระบบรถไฟฟ้ าบีทีเอส เป็นระบบขนส่งมวลชนความจุสูง แบบมาตรฐาน ที่ใช้กันแพร่หลาย ในเมืองใหญ่ทั่วไป ใช้มอเตอร์ ไฟฟ้ าในการขับเคลื่อน วิ่งบนราง คู่ยกระดับ แยกทิศทางไปและ กลับ โดยมีรางป้ อนกระแสไฟฟ้ า อยู่ด้านข้าง (Third Rail System) สามารถให้บริการแก่ผู้โดยสารได้ มากกว่า 1,000 คน ต่อขบวน ในขณะที่การเดินทางโดยรถยนต์ ต้องใช้รถยนต์จานวนมากถึง 800 คัน เพื่อขนส่งผู้โดยสารใน จานวนที่เท่ากัน นับได้ว่าการ ให้บริการของรถไฟฟ้ าบีทีเอส เป็ นการพลิกโฉมรูปแบบการ เดินทาง และเป็ นการปฏิวัติ มาตรฐานการให้บริการของ ระบบขนส่งมวลชน ประชาชนเลือกใช้บริการรถไฟฟ้ าบีทีเอสเป็นปัจจัยหลัก เนื่องจากรวดเร็วกว่าการจราจรบนท้องถนน ใช้รางคู่ยกระดับ แยกทิศทางไปและกลับ โดยมีรางป้ อนกระแสไฟฟ้ าอยู่ด้านข้าง (Third Rail System) ระบบรางของรถไฟฟ้ า
  • 12. ข้อมูลเกี่ยวกับตัวรถบีทีเอส ขบวนรถไฟฟ้ า 1 ขบวน ประกอบด้วยตู้โดยสาร จานวน 3 ตู้ หรือ 3 ตู้ พ่วงต่อกัน 2 ขบวน สามารถวิ่งกลับทิศทางได้ โดยรถที่ใช้มีอยู่ 2 ประเภทหลักคือ รถชนิดที่มีห้องคนขับ และมีระบบขับเคลื่อน กับรถที่ไม่มีห้องคนขับ หรือรถพ่วง ซึ่งมีทั้งชนิดที่มี และไม่มีระบบขับเคลื่อน ตัวถังของ รถไฟฟ้ า บีทีเอส ผลิตจากเหล็กปลอดสนิม ติดตั้งระบบปรับอากาศ พร้อมหน้าต่างชนิดกันแสง รถแต่ละขบวนมีความกว้างประมาณ 3.20 เมตร ยาว ประมาณ 21.8 เมตร จุผู้โดยสารได้กว่า 1,000 คน ในปัจจุบันมีขบวนรถอยู่ในระบบทั้งหมด 35 ขบวน รถรุ่น Siemens Modular Metro รถรุ่น Bombardier Movia (CNR) สายที่ให้บริการ สายสุขุมวิท สายที่ให้บริการ สายสีลม, ตัวถังรถทาจากเหล็กปลอดสนิม ติดตั้งระบบปรับ อากาศ พร้อมหน้าต่างชนิดกันแสง รถไฟฟ้ าสามารถ ขับเคลื่อนได้โดยใช้แรงดันไฟฟ้ า 750 Vdc โดยรับจาก รางส่งที่ 3 ตัวถังของขบวนรถทาเหล็กปลอดสนิมและอะลูมิเนียม ติดตั้งระบบปรับ อากาศทั้งหมด 8 ยูนิต พร้อมหน้าต่างชนิดกันแสง และมีระบบแผนที่นา ทางหรือ Dynamic Route Map รถไฟฟ้ าสามารถขับเคลื่อนได้โดยใช้ แรงดันไฟฟ้ า 750 Vdc โดยรับจากรางส่งที่ 3 สายสุขุมวิท ความยาว 3 - 4 ตู้ต่อ 1 ขบวน ความยาว 4 ตู้ต่อ 1 ขบวน
  • 13. หลักการออกแบบสถานีรถไฟฟ้า Side Platform Station มีชานชาลาอยู่สองข้าง โดยรถไฟฟ้ าวิ่งอยู่ตรง กลาง สถานีทั่วไปได้ออกแบบให้มีลักษณะแบบ นี้เนื่องจากก่อสร้างได้รวดเร็วและใช้เนื้อที่น้อย
  • 15. โครงสร้าง สถานีมี 3 ชั้น ชั้นพื้นถนน (Street Level) ชั้นจาหน่ายตั๋ว (Concourse Level) ชั้นชานชาลา (Platform Level)
  • 16. ชั้นพื้นถนน (Street Level) เป็นชั้นล่างสุด ของสถานีอยู่ ระดับเดียวกับถนน มีอุปกรณ์ต่าง ๆ ดังนี้ 1. เครื่องกาเนิดไฟฟ้ า 2. ถังเก็บน้ามันเชื้อเพลิง 3. ปั๊มการส่งจ่ายน้า 4. ถังเก็บน้า ข้อมูลต่าง ๆ ที่แสดงที่ชั้นพื้นถนนมีดังนี้ - ป้ ายสัญลักษณ์ “ BTS” - ชื่อสถานี - ป้ ายบอกทาง - ป้ ายบอกเวลาเดินรถขบวนแรกและขบวนสุดท้าย ชั้นพื้นถนน (Street Level)
  • 17. ชั้นจาหน่ายตั๋ว (Concourse Level) สาหรับสถานีทั่วไป ชั้นจาหน่ายตั๋วจะแบ่งพื้นที่ออกเป็น 2 ส่วน คือ 1.พื้นที่สาธารณะ ประกอบด้วยพื้นที่สาหรับผู้โดยสารที่ ชาระค่าโดยสารแล้ว (Paid Area) และพื้นที่สาหรับ ผู้โดยสารที่ยังไม่ได้ชาระค่าโดยสาร (Unpaid Area) ทั้ง สองพื้นที่นี้ถูกแยกด้วยประตูเข้า-ออกอัตโนมัติ (Automatic Gate) และประตูพิเศษ (Flush Gate) 2.พื้นที่บริษัท เป็นพื้นที่ที่เกี่ยวข้องกับการทางานด้าน เทคนิคของบริษัท เช่น ห้องควบคุมสถานี ห้องเครื่องมือ ติดต่อสื่อสารอาณัติสัญญาณต่าง ๆ
  • 18. ชั้นจาหน่ายตั๋ว (Concourse Level) สาหรับสถานีสยาม (สถานีร่วม) พื้นที่สาหรับผู้โดยสารที่ชาระค่าโดยสารแล้ว (Paid Area) จะแบ่งออกเป็น 2 ส่วนและพื้นที่สาหรับ ผู้โดยสารที่ยังไม่ได้ชาระค่าโดยสาร (Unpaid Area) จะมี 3 ส่วน ข้อมูลต่างๆ ที่แสดงในชั้นจาหน่ายตั๋ว มีดังนี้ - แผนที่แสดงตาแหน่งต่างๆ ของสถานี - แผนที่แสดงเส้นทางของการเดินรถ - ตารางเวลาการเดินรถ - กฎระเบียบการใช้บริการของผู้โดยสารและค่า โดยสาร - ป้ ายบอกทิศทางของเส้นทางการเดินรถ
  • 19. ชั้นชานชาลา (Platform Level) • สถานีทั่วไป จะมีชานชาลาอยู่ด้านข้าง (Side Platform) และมีทางวิ่งอยู่ตรงกลาง • สถานีสยาม (สถานีร่วม) จะมีชานชาลา 2 ชั้น ชานชาลา แต่ละชั้นจะอยู่ตรงกลาง (Centre Platform)ระหว่าง ทางวิ่งทั้งสองชั้นของชานชาลา สถานีรถไฟฟ้ าบีทีเอส ได้รับการออกแบบให้หลบเลี่ยงสาธารณูปโภคทั้งใต้ดิน และบนดิน โดยที่ยังคงรักษาผิวการจราจรบนถนนไว้ มากที่สุด ตัวสถานีได้รับการออก แบบให้มีโครงสร้างแบบเสาเดียว มีความยาวประมาณ 150 เมตร มี 2 ลักษณะ คือ
  • 20. ชั้นชานชาลา (Platform Level) - ชานชาลาชั้นที่ 1 เป็นชานชาลาสาหรับเส้นทางที่จะไปแบริ่ง หรือ ตลาดพลู - ชานชาลาชั้นที่ 2 เป็นชานชาลาสาหรับเส้นทางที่จะไปหมอชิต หรือ สนามกีฬาแห่งชาติ ชานชาลาชั้นที่ 1 ชานชาลาชั้นที่ 2 สถานีสยาม
  • 22. การเชื่อมต่อกับระบบขนส่งมวลชนอื่น รถไฟฟ้ า มหานคร สาย เฉลิมรัชมงคล รถไฟฟ้ าเชื่อม ท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิ ท่าเรือสาทร ทางเดินเข้า อาคาร รถโดยสารด่วน พิเศษ BRT
  • 23. รถไฟฟ้ ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ผู้โดยสารสามารถเปลี่ยนไปใช้รถไฟฟ้ ามหานครได้ที่ สถานีหมอชิต เชื่อมต่อโดยตรงกับ สถานีสวนจตุจักร สถานีอโศก เชื่อมต่อโดยตรงกับ สถานีสุขุมวิท สถานีศาลาแดง เชื่อมต่อกับ สถานีสีลม การเชื่อมต่อกับระบบขนส่งมวลชนอื่น 1 2 3 1 2 3
  • 24. ทางเดินเข้าอาคาร การเชื่อมต่อกับระบบขนส่งมวลชนอื่น • สถานีสนามกีฬาแห่งชาติ สามารถเดินไป ยังห้างสรรพสินค้าสยามดิสคัฟเวอรีเอ็ม บี เค เซ็นเตอร์และหอศิลปวัฒนธรรมแห่ง กรุงเทพมหานครได้ • สถานีสยาม สามารถเดินไปยัง ห้างสรรพสินค้า เซ็นทรัลเวิลด์, สยามเซ็น เตอร์, สยามพารากอน ได้ด้วยทางเดิน เชื่อมใต้รางรถไฟฟ้ าระหว่างสถานีสยาม และสถานีชิดลม ที่เรียกว่า สกายวอล์ก (Sky Walk) • สถานีราชเทวี สามารถเดินเข้าออกโรงแรม เอเชียได้ตั้งแต่เวลา 07:00-23:00 น. • สถานีศาลาแดง สามารถเดินไปยัง ศูนย์การค้าสีลมคอมเพลกซ์, ตึกธนิยะ • สถานีอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ สามารถเดินได้ รอบวงเวียนอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ทั้งยัง สามารถเชื่อมต่อกับโรงภาพยนตร์เซนจูรี่ เดอะมูฟวี่ พลาซ่า ได้อีกด้วย สกายวอล์ค เป็นทางเดินลอยฟ้ าที่ปราศจาก สิ่งกีดขวาง โดยเมื่อออกจากรถไฟฟ้ าแล้ว สามารถเดินเท้าต่อไปยังจุดหมายปลายทาง ได้สะดวกรวดเร็ว เพื่อให้การเดินเท้าเป็น ทางเลือกแทนการขับรถ เพิ่มความปลอดภัย ให้กับคนเดินเท้าในเวลากลางคืน ด้วยไฟฟ้ า ส่องสว่างและกล้องวงจรปิดตรวจจับความ เคลื่อนไหวตลอดแนวเส้นทาง (Sky Walk)
  • 25. รถโดยสารด่วนพิเศษ (Bus RapidTransit : BRT) การเชื่อมต่อกับระบบขนส่งมวลชนอื่น สามารถเปลี่ยนไปใช้รถโดยสารประจาทางด่วนพิเศษ(บีอาร์ที) สาย สาทร-ราชพฤกษ์ได้ที่สถานีช่องนนทรี โดยเชื่อมต่อกับสถานีสาทร ของรถโดยสารด่วนพิเศษและที่สถานีตลาดพลูอีกแห่งโดยเชื่อมต่อ กับสถานีราชพฤกษ์ ของรถโดยสารด่วนพิเศษ
  • 26. ท่าเรือ การเชื่อมต่อกับระบบขนส่งมวลชนอื่น สถานีสะพานตากสิน ตั้งอยู่บริเวณริมแม่น้าเจ้าพระยาฝั่งพระนคร สามารถเชื่อมต่อกับ ท่าเรือสาทร เพื่อใช้บริการเรือด่วนเจ้าพระยา ในเส้นทางนนทบุรี-สาทร-วัดราชสิงขร และ ปากเกร็ด-นนทบุรี-สาทร-ราษฎร์บูรณะ หรือใช้บริการเรือโดยสารข้ามฟากไปยังท่าเรือตาก สิน ที่ฝั่งธนบุรี แล้วเดินออกสู่ ถนนเจริญนครได้ นอกจากนี้ยังมีบริการเรือโดยสารคลอง ดาวคะนอง ในเส้นทางดาวคะนอง-สาทร
  • 27. รถไฟฟ้ าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ผู้โดยสารสามารถเปลี่ยนไปใช้รถไฟฟ้ าเชื่อมท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิหรือแอร์พอร์ทลิงก์ได้ที่ สถานีพญาไท โดยทางการรถไฟแห่ง ประเทศไทยได้สร้างทางเชื่อมต่อโดยตรงจากสถานีพญาไทของโครงการ แอร์พอร์ทลิงก์มายังสถานีพญาไทของรถไฟฟ้ าบีทีเอส การเชื่อมต่อกับระบบขนส่งมวลชนอื่น
  • 28. บัตรโดยสาร ปัจจุบันแบ่งใช้งานออกเป็น 3 ประเภท 1.บัตรโดยสารชนิดแถบแม่เหล็ก 2.บัตรโดยสารบีทีเอสสมาร์ทพาส (BTS Smart Pass) 3.บัตรแรบบิท (Rabbit Card) ตั๋วโดยสารเที่ยวเดียว บัตรโดยสารประเภท 1 วัน 1.บัตรโดยสารชนิดแถบแม่เหล็ก Single Journey ticket คือ ตั๋วโดยสารที่สามารถใช้ เดินทางได้ 1 เที่ยว ตามมูลค่าในตั๋ว (อัตราค่าโดยสาร ในปัจจุบัน 15 – 40 บาท) โดยตั๋วจะถูกเก็บคืนที่ประตู อัตโนมัติฝั่งขาออก ตั๋วมีจาหน่ายที่เครื่องจาหน่ายตั๋ว โดยสารอัตโนมัติชนิดไม่รับธนบัตร และชนิดรับธนบัตร และใช้ได้เฉพาะวันที่ซื้อเท่านั้น (เวลาให้บริการ 06.00 น. - 24.00 น.) เครื่องจาหน่ายตั๋วอัตโนมัติ ชนิดไม่รับธนบัตร (TIM) One-Day Pass คือ บัตรโดยสารที่สามารถใช้ เดินทางได้ไม่จากัดเที่ยว และระยะทาง ภายใน เวลาให้บริการ (06.00 น. – 24.00 น.) ของ วันที่ซื้อหรือลงทะเบียน ไม่สามารถแลกคืน มูลค่าคงเหลือภายในบัตรได้ มีจาหน่ายที่ห้อง จาหน่ายตั๋วโดยสารทุกสถานี ราคาจาหน่าย 120 บาท
  • 29. บัตรโดยสารประเภท 30 วัน 2.บัตรโดยสารบีทีเอสสมาร์ทพาส (BTS Smart Pass) บัตรโดยสารประเภทเติมเงิน สาหรับบุคคลทั่วไปนักเรียนนักศึกษา มีเงื่อนไขของผู้โดยสารที่ สามารถใช้บัตรได้ ดังนี้บัตร ประเภทนี้ใช้ได้เฉพาะผู้มี สถานภาพนักเรียน นิสิต นักศึกษาที่มีอายุไม่เกิน 23 ปี บริบูรณ์ บัตรมีอายุการใช้งาน 5 ปี นับจากวันที่ออกบัตร จานวนเที่ยวการเดินทางใน บัตร ใช้เดินทางได้ภายใน 30 วัน นับจากวันที่เติม จานวนเที่ยวการเดินทาง ครั้งสุดท้าย SKY SmartPass มีอายุ การใช้งาน 5 ปี นับจาก วันที่ออกบัตร บัตรจาหน่ายครั้งแรกขั้น ต่า 130 บาท (รวมค่ามัด จาการเดินทาง 30 บาท และค่าธรรมเนียมการ ออกบัตร 30 บาท) บริษัท ขนส่งมวลชนกรุงเทพจากัด (มหาชน) หรือรถไฟฟ้ า BTS ได้ติด ประกาศข่าวสาคัญคือยกเลิกจาหน่ายบัตรโดยสารเติมเงิน (Smart Pass) และเปลี่ยนมาใช้บัตร Rabbit แทนบัตรโดยสารเติมเงิน (Smart Pass) ทุก ประเภท
  • 30. 3.บัตรแรบบิท (Rabbit Card) บัตรแรบบิท สาหรับผู้สูงอายุ บัตรแรบบิท สาหรับบุคคลทั่วไป บัตรแรบบิท สาหรับนักเรียน นักศึกษา ผู้มีสิทธิ์ใช้บัตรแรบบิท สาหรับนักเรียน นักศึกษา ได้แก่ นักเรียน นิสิต นักศึกษา ที่มีอายุไม่เกิน 23 ปีบริบูรณ์ โดยยึดวัน เดือน ปีเกิดในบัตร ประจาตัวประชาชน และ ศึกษาในสถานศึกษาใน ประเทศไทยหรือสถานศึกษา ในต่างประเทศ รวมถึง ชั้นเนติ บัณฑิต โรงเรียนฝึกอาชีพและ โรงเรียนสอนภาษาที่ กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หลักสูตร ณ วันที่ใช้บัตร โดยสาร ผู้มีสิทธิ์ใช้บัตรแรบบิท สาหรับผู้สูงอายุ ได้แก่ ผู้ที่มีสัญชาติไทยอายุ 60 ปีขึ้นไป โดยยึด วัน เดือน ปีเกิดในบัตรประจาตัว ประชาชน ทั้งนี้ผู้ที่ใช้บัตรโดยสาร ประเภทดังกล่าวจะต้องแสดงบัตร ประจาตัวประชาชนต่อพนักงานเมื่อมี การร้องขอ แรบบิท ช่วยให้ชีวิตเมืองของคุณสะดวกสบายและง่ายดายยิ่งขึ้นด้วยระบบเงินอิเล็กทรอนิกส์หนึ่งเดียว ที่ใช้ได้กับทั้งรถไฟฟ้ าบีทีเอสหรือเครือข่ายระบบขนส่งมวลชนอื่น ๆ รวมถึงร้านค้าและพันธมิตรอีก มากมาย แรบบิทมาตรฐาน ออกได้ที่ห้อง จาหน่ายตั๋วโดยสารบีทีเอสทุกสถานี แรบบิทมาตรฐาน ออกได้ในราคา 300 บาท (ราคารวมค่าธรรมเนียมการออก แรบบิท 150 บาท ค่ามัดจาแรบบิท 50 บาท และมูลค่าเริ่มต้น 100 บาท พร้อมใช้งาน)
  • 31. ส่วนต่อขยายของรถไฟฟ้าบีทีเอส • สายสีลม 1.ส่วนต่อขยายวงเวียนใหญ่ – บางหว้า 2.ส่วนต่อขยายสนามกีฬาแห่งชาติ – ยศเส • สายสุขุมวิท 1.ส่วนต่อขยายแบริ่ง – เคหะสมุทรปราการ 2.ส่วนต่อขยายเคหะสมุทรปราการ - บางปู 3.ส่วนต่อขยายหมอชิต – สะพานใหม่ 4.ส่วนต่อขยายสะพานใหม่ – คูคต 5. ส่วนต่อขยายคูคต – วงแหวนรอบนอกตะวันออก 6. ส่วนต่อขยายสายบางนา – สุวรรณภูมิ 1. 2. 3. 1. 2. ความคืบหน้าของโครงการ  ส่วนต่อขยายแบริ่ง - สมุทรปราการ ในขณะนี้กาลังเริ่มก่อสร้างทางวิ่งยกระดับ พร้อมสถานีอีก 7 สถานี โดยการก่อสร้างทั้งหมดมีระยะเวลา 1,350 วัน วงเงิน 14,161 ล้านบาท  ส่วนต่อขยายหมอชิต - สะพานใหม่ อยู่ในระหว่างการพิจารณา EIA ใหม่ทั้งหมด จากการปรับแบบการก่อสร้างรถไฟฟ้ าสายสีชมพูเป็น Heavy Rail