SlideShare a Scribd company logo
1 of 68
Download to read offline
โครงการหนูน้อยอาเซียน
ส่งเสริมพฤติกรรมทางสังคมของเด็กปฐมวัย
นางจิตราภรณ์ ไคขุนทด
โรงเรียนสนามบิน
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ขอนแก่น เขต 1
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
ประกาศคุณูปการ
การศึกษาค้นคว้าอิสระฉบับนี้สาเร็จสมบูรณ์ได้ด้วยความกรุณาและความช่วยเหลืออย่างดียิ่ง
จาก อาจารย์สุธรรม เทพชาลี ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ โรงเรียนสนามบิน ที่ได้กรุณาให้คาปรึกษา ตรวจ
แก้ไขข้อบกพร่องทุกขั้นตอนของการศึกษาค้นคว้าตลอดมาจนสาเร็จเรียบร้อย ผู้ศึกษาค้นคว้าขอกราบขอบพระคุณ
ไว้อย่างสูง
ขอขอบคุณ อาจารย์บัวเครือ จักรบุตร อาจารย์เสาวลักษณ์ ทองโคตร และอาจารย์อรัญญา
กุฎจอมศรี ที่ได้กรุณาเป็นผู้เชี่ยวชาญในการพิจารณาตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าและให้
คาแนะนาอย่างดียิ่งจนสาเร็จลุล่วงด้วยดี
ขอขอบคุณผู้บริหาร คณะครูและนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 1 และ 2 โรงเรียนสนามบิน ที่ได้อานวยความ
สะดวกในการเก็บข้อมูลเป็นอย่างดี
ขอขอบพระคุณ พันโทเรวัต ไคขุนทด นางสาววรารัตน์ ไคขุนทด และนางสาวศิรประภา
ไคขุนทด ที่ให้การสนับสนุนช่วยเหลือและเป็นกาลังใจแก่ผู้ศึกษาค้นคว้าด้วยดีมาโดยตลอด
จิตราภรณ์ ไคขุนทด
สารบัญ
บทที่ หน้า
1 บทนา ............................................................................................................................. 1
ความสาคัญ .............................................................................................................. 1
วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า ............................................................................ 2
ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า ................................................................................... 2
ระยะเวลาในการศึกษาค้นคว้า ................................................................................... 2
นิยามศัพท์เฉพาะ ....................................................................................................... 3
2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ..................................................................................... 4
หลักสูตรอาเซียนศึกษาปฐมวัย ................................................................................. 4
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ................................................................................. 13
ความหมายของโครงการ ...................................................................................... 13
ความหมายของอาเซียน ....................................................................................... 13
ความสาคัญของอาเซียน ................................................................................ 14
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมทางสังคม ................................. 15
ความหมายของการพัฒนาการทางสังคม ............................................................... 15
ความหมายของพฤติกรรมทางสังคม .................................................................... 15
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ..................................................................................................... 16
ในประเทศ ............................................................................................................... 16
ต่างประเทศ ............................................................................................................. 18
3 วิธีดาเนินการศึกษาค้นคว้า ............................................................................................ 20
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ...................................................................................... 20
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า ............................................................................ 20
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือ ..................................................................... 20
การดาเนินการทดลอง ............................................................................................. 25
การเก็บรวบรวมข้อมูล ............................................................................................. 26
การวิเคราะห์ข้อมูล .................................................................................................. 27
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ................................................................................. 27
4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ................................................................................................... 29
สัญลักษณ์ในการใช้วิเคราะห์ข้อมูล .......................................................................... 29
ลาดับขั้นในการวิเคราะห์ข้อมูล ................................................................................ 29
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ............................................................................................. 30
5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ....................................................................... 36
ความมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า .......................................................................... 36
สรุปผล .................................................................................................................... 36
อภิปรายผล .............................................................................................................. 36
ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................ 39
บรรณานุกรม ....................................................................................................................... 40
ภาคผนวก ............................................................................................................................ 43
แบบสังเกตพฤติกรรมทางสังคม ............................................................................... 44
คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงาน ..................................................................... 57
คณะทางาน ........................................................................................................ 58
ภาพ
ประวัติย่อของผู้ศึกษาค้นคว้า ............................................................................................... 59
บทที่ 1
บทนา
ความสาคัญ
ประชาคมอาเซียนหรือสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East
Asian Nation : ASEAN ) เป็นองค์กรระหว่างประเทศระดับภูมิภาคตะวันออกเฉียงใต้ โดยมีจุดเริ่มต้นจากสมาคม
อาสา เมื่อปี พ.ศ. 2504 ได้พัฒนาเป็นสมาคมประชาชาติแห่งเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ.
2510 และปัจจุบันมีสมาชิกทั้งหมด 10 ประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์หลัก เพื่อความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ สังคม
วัฒนธรรม และความมั่นคง มุ่งการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
จากพัฒนาการความร่วมมือของประชาคมอาเซียนส่งผลจากการมีวิสัยทัศน์ อัตลักษณ์ เป็นหนึ่งเดียวกัน
ในปี พ.ศ. 2558 สมาชิกประเทศอาเซียนจะกลายเป็นประชาคมอาเซียนที่แท้จริง นั่นเป็นเสมือนหนึ่งว่าประชากร
ของ 10 ชาติ จะเดินทางไปมาหาสู่กันและกันในลักษณะต่างๆ ที่หลากหลายราวกับเป็นประเทศเดียวกัน คนไทยใน
ฐานะที่เป็นหนึ่งในกลุ่มประชาคมอาเซียน จาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องรับรู้ มีความเข้าใจในสภาวะที่เกิดขึ้น ต้องเรียนรู้
ถึงเรื่องราวที่สาคัญของกลุ่มประเทศ 9 ประเทศ เพื่อการปรับเปลี่ยนการดาเนินชีวิตที่อาจได้รับผลกระทบจากการ
นี้ต้องยอมรับในความต่าง และจุดรวมของกันและกัน ประเทศใดที่มีการเตรียมความพร้อมให้กับประชาชนของ
ตนเองได้ดีที่สุด ย่อมมีความได้เปรียบเป็นเบื้องต้น
โรงเรียนถือเป็นสถาบันหลักและมีความสาคัญอย่างยิ่งในการเตรียมความพร้อมการเป็นประชาคมอาเซียน
ให้แก่เยาวชนคนไทยให้มีความรู้ ความเข้าใจ ทั้งในหลักวิชาการ และแนวปฏิบัติตนในการเป็นผู้ต้อนรับ
ชาวต่างชาติ การแสวงหาความร่วมมือในการดาเนินชีวิต การประกอบสัมมาอาชีพตลอดจนการเป็นผู้เยือนที่ดี
เนื่องจากโรงเรียนสนามบินเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ จัดการศึกษาตั้งแต่ระดับการศึกษาปฐมวัย
ประถมศึกษา และมัธยมศึกษาตอนต้น นอกจากนี้ยังเป็นโรงเรียนมาตรฐานสากล ซึ่งนักเรียนทุกคนต้องเตรียม
ความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเฉพาะเด็กปฐมวัย เป็นวัยที่ต้องให้ความสาคัญเป็นอย่างมาก ข้าพเจ้าและ
คณะครูในระดับการศึกษาปฐมวัยโรงเรียนสนามบินจึงเห็นความสาคัญในการเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคม
อาเซียนและทักษะในศตวรรษที่ 21 นอกจากนี้ทักษะทางสังคมของเด็กเป็นทักษะที่จาเป็นต้องใช้ปฏิบัติตัวร่วมกัน
ในสังคม ทาให้มีการช่วยเหลือซึ่งกันและกันทั้งด้านส่วนตัวและด้านการปฏิบัติงานส่วนรวมที่ส่งผลให้บุคคลดาเนิน
ชีวิตได้อย่างราบรื่น (สมร ทองดี. 2538 ; อ้างอิงจาก ชไมมน ศรีสุรักษ์. 2540 :1) โดยเฉพาะด้านการปฏิบัติงาน
ส่วนรวมนั้น บุคคลที่มีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันในการอยู่ร่วมกันในสังคมจะสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี
ความสุข มีบรรยากาศแห่งความเป็นมิตรที่ดีต่อกัน ก่อให้เกิดพลังสร้างสรรค์ความเจริญก้าวหน้าให้กับสังคมได้ใน
ที่สุด โดยเฉพาะเด็กวัย 1-6 ปี ซึ่งเป็นวัยที่จิตใต้สานึกจะทาหน้าที่ได้ดีที่สุด ถ้าสิ่ง
ต่าง ๆ ที่บันทึกไว้เป็นข้อมูลในแง่ดี เด็กจะมีความรู้สึกนึกคิดไปในทางบวกและเติบโตเป็นบุคคลที่สามารถใช้
ศักยภาพของตนได้อย่างสูงสุด ดังนั้นการพัฒนาความสัมพันธ์ทางสังคมของเด็กในวัยนี้ ต้องฝึกให้เด็กเกิดความ
ไว้วางใจในผู้อื่นเมื่ออยู่ร่วมกัน ให้ทางานและเล่นร่วมกับผู้อื่นได้ มีความรับผิดชอบร่วมกับผู้อื่นอย่างง่าย ๆ เข้าใจ
ข้อตกลงและกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ฝึกให้รู้จักอดทน รอคอยให้ถึงโอกาสของตน โดยเฉพาะพฤติกรรมทางสังคมจึงได้จัด
ให้เด็กระดับการศึกษาปฐมวัย ได้รับความรู้พื้นฐานภายใต้โครงการหนูน้อยอาเซียน เพื่อเป็นการส่งเสริม
พัฒนาการทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญาต่อไป
วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า
1. เพื่อศึกษาพฤติกรรมทางสังคมของเด็กปฐมวัยตามโครงการหนูน้อยอาเซียน ให้นักเรียนร้อยละ 80 มี
พฤติกรรมทางสังคม ตั้งแต่ร้อยละ 80 ขึ้นไป
2. เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมทางสังคมของเด็กปฐมวัย
ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากร
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นนักเรียน อายุระหว่าง 4-6 ปี กาลังเรียนใน ชั้นอนุบาลปี
ที่ 1 , 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 โรงเรียนสนามบิน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น
เขต 1 จังหวัดขอนแก่น จานวน 10 ห้อง 320 คน ตามตาราง 1 ดังนี้
ตาราง 1 นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 1,2 โรงเรียนสนามบิน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555
ชั้น
จานวนนักเรียน
จานวนห้อง
ชาย หญิง รวม
อนุบาลปีที่ 1/1 16 19 35 1
อนุบาลปีที่ 1/2 16 18 34 1
อนุบาลปีที่ 1/3 20 13 33 1
อนุบาลปีที่ 1/4 21 14 34 1
อนุบาลปีที่ 1/5 20 13 33 1
รวมอนุบาลปีที่ 1 93 77 170 5
อนุบาลปีที่ 2/1 16 15 31 1
อนุบาลปีที่ 2/2 16 15 31 1
อนุบาลปีที่ 2/3 19 11 30 1
อนุบาลปีที่ 2/4 17 12 29 1
อนุบาลปีที่ 2/5 14 15 29 1
รวมอนุบาลปีที่ 2 82 68 150 5
รวมทั้งสิ้น 175 145 320 10
กลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการประเมินผลกิจกรรมครั้งนี้ เป็นนักเรียน อายุระหว่าง 5-6 ปี กาลัง
เรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2/3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 โรงเรียนสนามบิน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาขอนแก่น เขต 1 จังหวัดขอนแก่น จานวน 30 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random
Sampling)
ระยะเวลาในการศึกษาค้นคว้า
ผู้ศึกษาค้นคว้าใช้เวลาในการศึกษาค้นคว้า ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 วันที่ 7 มกราคม ถึง
22 กุมภาพันธ์ 2556
นิยามศัพท์เฉพาะ
1. โครงการหนูน้อยอาเซียน หมายถึง โครงการที่ทางระดับการศึกษาปฐมวัยได้จัดขึ้น
เพื่อเตรียมความพร้อมเด็กเข้าสู่ประชาคมอาเซียนส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับประเทศอาเซียนในด้านการเมือง
เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ส่งเสริมด้านทักษะ กระบวนการ มีความสามารถในการทางานและอยู่ร่วมกับผู้อื่น
ส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา และสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูและเด็กในโรงเรียน
2. พฤติกรรมทางสังคม หมายถึง ความสามารถในการแสดงออกของเด็กปฐมวัย เกี่ยวกับ การปฏิบัติ
ตามข้อตกลงของกลุ่ม การเข้าแถวรอคอยตามลาดับก่อนหลัง การเล่นหรือทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม
การช่วยเหลือเพื่อนในการทางาน/เล่นร่วมกัน และการร่วมทากิจกรรมกับเพื่อนอย่างสนุกสนาน
บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
โครงการหนูน้อยอาเซียน ระดับการศึกษาปฐมวัย โรงเรียนสนามบิน ผู้ศึกษาค้นคว้าได้ศึกษาค้นคว้า
แนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยนาเสนอตามลาดับ ดังนี้
1. หลักสูตรอาเซียนการศึกษาปฐมวัย
1.1 หลักการของหลักสูตรอาเซียนการศึกษาปฐมวัย
1.2 วัตถุประสงค์
1.3 คุณลักษณะเด็กไทยในประชาคมอาเซียน
1.4 การจัดการเรียนรู้รายปีเด็กปฐมวัย ปีการศึกษา 2555
1.5 ผังมโนทัศน์ อาเซียนศึกษาเด็กปฐมวัย
1.6 ตารางหน่วยการเรียนรู้ อาเซียนศึกษาเด็กปฐมวัย
1.7 ตารางวิเคราะห์หลักสูตร อาเซียนศึกษาเด็กปฐมวัย
2. เอกสารที่เกี่ยวข้อง
2.1 ความหมายของโครงการ
2.2 ความหมายของอาเซียน
2.3 ความสาคัญของอาเซียน
3. เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมทางสังคม
3.1 ความหมายของพัฒนาการทางสังคม
3.2 ความหมายของพฤติกรรมทางสังคม
4. เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
4.1 งานวิจัยในประเทศ
4.2 งานวิจัยต่างประเทศ
หลักสูตรอาเซียนศึกษาระดับปฐมวัย
1. หลักการของหลักสูตรอาเซียนการศึกษาปฐมวัย
ในปี พ.ศ. 2558 ประเทศไทยจะก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน สถานศึกษาได้ตะหนักถึงบทบาทและภารกิจ
สาคัญในการเสริมสร้างความร่วมมือกับประชาคมอาเซียนเพื่อพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน และมีคุณภาพอันจะไปสู่
การพัฒนาศักยภาพของนักเรียน รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างประชาคมอาเซียนให้บรรลุเป้าหมายตาม
กฎบัตร 3 ภายในปี พ.ศ. 2558 โดยเร่งขับเคลื่อนกลไกการศึกษา เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อม มุ่งพัฒนาเด็ก
และเยาวชนให้เป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพ อันจะเป็นพื้นฐานสาคัญของการพัฒนาความเจริญรุ่งเรืองใน
ภูมิภาคอาเซียนให้มีความเข้มแข็ง
เตรียมเด็กปฐมวัย ก้าวไปสู่พลเมืองอาเซียน
“เตรียมตน เตรียมคน เตรียมงาน เตรียมความพร้อมของลูกหลานคือรากฐานของการพัฒนา” คากล่าวนี้ยังใช้ได้
กับกระแสอาเซียนในขณะนี้ โดยเฉพาะการจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับอาเซียนกระทรวงศึกษาธิการได้กาหนด
บทบาทการดาเนินงาน ด้านการต่างประเทศเชิงรุก โดยเน้นการกระชับความสัมพันธ์ และการขยายความร่วมมือ
กับประเทศเพื่อนบ้าน และในภูมิภาคเอเชีย ภายใต้กรอบความร่วมมือด้านต่างๆ โดยเฉพาะกรอบความร่วมมือด้าน
การศึกษาและได้กาหนดนโยบายการขับเคลื่อนการศึกษาในอาเซียนสู่เป้าหมายการจัดตั้งประชาคมอาเซียนในปี
พ.ศ. 2558 ดังนโยบายต่อไปนี้
นโยบายที่1 การเผยแพร่ความรู้ ข้อมูลข่าวสารและเจตนคติที่ดีเกี่ยวกับอาเซียนเพื่อเสริมสร้างความ
ตระหนักเกี่ยวกับอาเซียน อัตลักษณ์อาเซียน และเตรียมความพร้อมของครู คณาจารย์ และบุคลากรทาง
การศึกษา นักเรียน นักศึกษาและประชาชนเพื่อก้าวสู่ประชาคมอาเซียนภายในปี พ.ศ. 2558
นโยบายที่ 2 การพัฒนาศักยภาพของนักเรียน และประชาชนให้มีทักษะที่เหมาะเพื่อเตรียมความ
พร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
นโยบายที่ 3 การพัฒนามาตรฐานการศึกษาเพื่อส่งเสริมการหมุนเวียนของนักศึกษาและครูอาจารย์
ในอาเซียน
นโยบายที่ 4 การเตรียมความพร้อมเพื่อเปิดเสรีการศึกษาในอาเซียนเพื่อรองรับการก้าวสู่ ประชาคม
เศรษฐกิจอาเซียน
นโยบาย 5 การพัฒนาเยาวชนเพื่อเป็นทรัพยากรสาคัญในการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน
เนื่องจากการศึกษาเป็นรากฐานสาคัญในการขับเคลื่อนความเจริญรุ่งเรืองของประเทศไทยและภูมิภาค ใน
ความร่วมมือด้านการศึกษาอาเซียน ความร่วมมือดังกล่าวเป็นไปในทิศทางที่สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูป
การศึกษาของประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งประกอบด้วยการปรับปรุงในเชิงปริมาณ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการขยาย
โอกาสทางการศึกษา การยกระดับคุณภาพการศึกษา การนาโครงสร้างพื้นฐาน สิ่งอานวยความสะดวกและ
เทคโนโลยี การสื่อสารเข้ามารองรับ ตลอดจนการบริหารจัดการทางการศึกษา
วัตถุประสงค์
1. เด็กเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
2. ส่งเสริมด้านความรู้เกี่ยวกับประเทศอาเซียนในด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
3. ส่งเสริมด้านทักษะ/กระบวนการ มีความสามารถในการทางานและอยู่ร่วมกับผู้อื่น
4. ส่งเสริมด้านเจตคติ ดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
คุณลักษณะเด็กไทยในประชาคมอาเซียน
คุณลักษณะของเด็กไทยในประชาคมอาเซียน กาหนดคุณลักษณะ 3 ด้าน ดังนี้
1. ด้านความรู้
1.1 มีความรู้เกี่ยวกับประเทศอาเซียนในด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
1.2 มีความรู้เกี่ยวกับอาเซียน
1.2.1 จุดกาเนิดอาเซียน
1.2.2 กฎบัตรอาเซียน
1.2.3 ประชาคมอาเซียน
1.2.4 ความสัมพันธ์กับภายนอกอาเซียน
2. ด้านทักษะ/กระบวนการ
2.1 ทักษะพื้นฐาน
2.1.1 สื่อสารได้อย่างน้อย 2 ภาษา (ภาษาอังกฤษ และภาษาประเทศเพื่อนบ้านอีกอย่างน้อย 1
ภาษา)
2.1.2 มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างสร้างสรรค์
2.1.3 มีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสันติวิธี
2.1.4 มีความสามารถในการทางานและอยู่ร่วมกับผู้อื่น
2.2 ทักษะพลเมือง/ความรับผิดชอบทางสังคม
2.2.1 เคารพและยอมรับความหลากหลายทางวัฒนธรรม
2.2.2 มีภาวะผู้นา
2.2.3 เห็นปัญหาสังคมและลงมือทาเพื่อนาไปสู่การเปลี่ยนแปลง
2.3 ทักษะการเรียนรู้และพัฒนาตน
3.3.1 เห็นคุณค่าความเป็นมนุษย์เท่าเทียมกัน
3.3.2 มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนเรียนรู้
3.3.3 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล มีวิธีคิดอย่างถูกต้อง
3.3.4 มีความสามารถในการจัดการ/ควบคุมตนเอง
3. ด้านเจตคติ
3.1 มีความภูมิใจในความเป็นไทย/ความเป็นอาเซียน
3.2 ร่วมกันรับผิดชอบต่อประชาคมอาเซียน
3.3 มีความตระหนักในความเป็นอาเซียน
3.4 มีวิถีชีวิตประชาธิปไตย ยึดมั่นในหลักธรรมาภิบาล สันติวิธี /สันติธรรม
3.5 ยอมรับความแตกต่างในการนับถือศาสนา
3.6 ดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การจัดการเรียนรู้รายปีเด็กปฐมวัย ปีการศึกษา 2555
สาระที่ควรเรียนรู้
ชั้นอนุบาลปีที่ 1
(อายุ 4-5 ปี)
ชั้นอนุบาลปีที่ 2
(อายุ 5-6 ปี)
สัปดาห์ สัปดาห์
เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก
- หนูน้อยสุขภาพดี
- ปฐมวัยพอเพียง
10
1
1
8
1
1
เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่
แวดล้อมเด็ก
- วันสาคัญ
- ขอนแก่นแหล่งวัฒนธรรม
5
6
1
4
6
1
ธรรมชาติรอบตัว
- ธรรมชาติสวยงาม
5
3
7
2
รวม 8 9
สิ่งต่าง ๆ รอบตัวเด็ก
- ชีวิตประจาวัน
- หนูน้อยอาเซี่ยน
4 6
1 1
3 3
รวม 40 40
ผังมโนทัศน์ อาเซียนศึกษาเด็กปฐมวัย
หนูน้อยอาเซียน
สัญลักษณ์ธงของอาเซียน
จานวน 1 คาบ
ชื่อประเทศสมาชิกอาเซียน
จานวน 1 คาบ
สมาชิกอาเซียน
- ธงประจาชาติ
- คาทักทาย
- เครื่องแต่งกายประจาชาติ
- ดอกไม้ประจาชาติ
- อาหารประจาชาติ
จานวน 10 คาบ
ประเทศลาวประเทศไทย
ประเทศเมียรม่าร์ประเทศกัมพูชา
ประเทศฟิลิปปินส์ประเทศบรูไน
ประเทศอินโดนีเชียประเทศสิงคโปร์
จัดนิทรรศการ
แสดงผลงาน
จานวน 3 คาบ
ประเทศมาเลียเซียประเทศเวียดนาม
ตาราง 2 หน่วยการเรียนรู้ อาเซียนศึกษาเด็กปฐมวัย
ที่ ชื่อหน่วย สาระการเรียนรู้ บูรณาการใน 6 กิจกรรมหลัก/วัน
1 หนูน้อยอาเซียน สัญลักษณ์ธงของอาเซียน 1
2 หนูน้อยอาเซียน ชื่อประเทศสมาชิกอาเซียน 1
3 สยามเมืองยิ้ม ประเทศไทย
- ธง
- คาทักทาย
- เครื่องแต่งกาย
- ดอกไม้ประจาชาติ
- อาหาร
1
4 พิมพ์ใจดอกจาปา ประเทศลาว
- ธง
- คาทักทาย
- เครื่องแต่งกาย
- ดอกไม้ประจาชาติ
- อาหาร
1
5 งามสง่า มาเลเซีย ประเทศมาเลเซีย
- ธง
- คาทักทาย
- เครื่องแต่งกาย
- ดอกไม้ประจาชาติ
- อาหาร
1
6 เดียรดาษเกาะ อินโดนีเซีย ประเทอินโดนีเซีย
- ธง
- คาทักทาย
- เครื่องแต่งกาย
- ดอกไม้ประจาชาติ
- อาหาร
1
7 สิงค์โปรโชว์เศรษฐกิจ ประเทศสิงค์โปร
- ธง
- คาทักทาย
- เครื่องแต่งกาย
- ดอกไม้ประจาชาติ
- อาหาร
1
ที่ ชื่อหน่วย สาระการเรียนรู้ บูรณาการใน 6 กิจกรรมหลัก/วัน
8 เมืองมิตรฟิลิปปินส์ ประเทศฟิลิปปินส์
- ธง
- คาทักทาย
- เครื่องแต่งกาย
- ดอกไม้ประจาชาติ
- อาหาร
1
9 ยลยินถิ่นเวียดนาม ประเทศเวียดนาม
- ธง
- คาทักทาย
- เครื่องแต่งกาย
- ดอกไม้ประจาชาติ
- อาหาร
1
10 ประสาทงามกัมพูชา ประเทศกัมพูชา
- ธง
- คาทักทาย
- เครื่องแต่งกาย
- ดอกไม้ประจาชาติ
- อาหาร
1
11 บรูไนหนาตัวน้ามัน ประเทศบรูไน
- ธง
- คาทักทาย
- เครื่องแต่งกาย
- ดอกไม้ประจาชาติ
- อาหาร
1
12 ชาวดากองของเมียรม่าร์
ปั้นล้าค่าวัฒนธรรม
ประเทศเมียรม่าร์
- ธง
- คาทักทาย
- เครื่องแต่งกาย
- ดอกไม้ประจาชาติ
- อาหาร
1
13 รวมพลังหนูน้อยอาเซียน การจัดนิทรรศการแสดงผล
งานนักเรียนเกี่ยวกับ
อาเซียน
3
รวม 15
ตาราง 3 การวิเคราะห์หลักสูตร อาเซียนศึกษาเด็กปฐมวัย
มาตรฐาน
คุณลักษณะ
พึงประสงค์
ตัวบ่งชี้ อนุบาลปีที่ 1 อนุบาลปีที่ 2
สภาพที่พึง
ประสงค์
สาระการเรียนรู้ สภาพที่พึง
ประสงค์
สาระการเรียนรู้
สาระ
ที่ควร
เรียนรู้
ประสบการ
ณ์สาคัญ
สาระ
ที่ควรเรียนรู้
ประสบการ
ณ์สาคัญ
ด้านร่างกาย
มาตรฐานที่ 1
ร่างกาย
เจริญเติบโต
ตามวัยและมี
สุขนิสัย
ที่ดี
ตัวบ่งชี้ที่
2
รู้จัก
รักษา
สุขภาพ
อนามัย
และ
ความ
ปลอดภั
ย
1.
รับประทาน
อาหารที่มี
ประโยชน์ได้
บางชนิด
-หนูน้อย
อาเซียน
การเลือก
รับประทา
นอาหารที่
มี
ประโยชน์
-การปฏิบัติ
ตนตาม
สุขอนามัย
1.
รับประทาน
อาหารที่มี
ประโยชน์ได้
บางชนิด
หนูน้อย
อาเซียน
-การเลือก
รับประทาน
อาหารที่มี
ประโยชน์
-การปฏิบัติ
ตนตาม
สุขอนามัย
ด้านอารมณ์-
จิตใจ
มาตรฐานที่ 3
มีสุขภาพจิตดี
และมีความสุข
ตัวบ่งชี้ที่
2
มี
ความรู้สึ
กที่ดีต่อ
ตนเอง
และ
ผู้อื่น
1.มีความ
มั่นใจใน
ตนเอง
2.ชื่นชม
ความสามาร
ถและ
ผลงานของ
ตนเองและ
ผู้อื่นได้บ้าง
-หนูน้อย
อาเซียน
การแสดง
ความรู้สึก
ต่อผลงาน
ของ
ตนเอง
และของ
ผู้อื่น
-ความ
ภูมิใจใน
ตนเอง
-การชื่นชม
และ
สร้างสรรค์
สิ่งสวยงาม
-การเล่น
และทางาน
ร่วมกับผู้อื่น
-การมี
โอกาสได้รับ
รู้ความรู้สึก
ความสนใจ
และความ
ต้องการ
ของตนเอง
และผู้อื่น
1.มีความ
มั่นใจใน
ตนเองและ
กล้า
แสดงออก
2.พึงพอใจ
ในตนเอง
3.ชื่นชม
ความสามาร
ถและ
ผลงานของ
ตนเองและ
ผู้อื่น
-หนูน้อย
อาเซียน
การเล่น
และทางาน
ร่วมกับผู้อื่น
-ความ
ภาคภูมิใจ
ในผลงาน
ของตนเอง
-การชื่นชม
และ
สร้างสรรค์
สิ่งสวยงาม
-การเล่น
และทางาน
ร่วมกับผู้อื่น
-การมี
โอกาสได้รับ
รู้ความรู้สึก
ความสนใจ
และความ
ต้องการ
ของตนเอง
และผู้อื่น
ด้านสังคม
มาตรฐานที่ 8
อยู่ร่วมกับ
ผู้อื่นได้อย่างมี
ความสุขและ
ปฏิบัติตนเอ็น
สมาชิกที่ดีของ
สังคมในระบบ
ตัวบ่งชี้ที่
1
เล่นและ
ทางาน
ร่วมกับ
ผู้อื่นได้
1.รู้จักรอ
คอย
2.เล่นและ
ทากิจกรรม
ร่วมกับเด็ก
อื่นได้
หนูน้อย
อาเซียน
-การรอ
คอย
-การเล่น
และทา
กิจกรรม
ต่าง ๆ
-การเล่น
และการ
ทางาน
ร่วมกับผู้อื่น
-การ
วางแผนตัด
ใจสินใจ
เลือกและ
1.รู้จักรอ
คอย
ตามลาดับ
ก่อน หลัง
2.เล่นหรือ
ทางาน
ร่วมกันเป็น
กลุ่มได้
หนูน้อย
อาเซียน
-การรอคอย
-การเล่น
และทา
กิจกรรม
ต่าง ๆ
-การร่วม
-การเล่น
และการ
ทางาน
ร่วมกับผู้อื่น
-การ
วางแผนตัด
ใจสินใจ
เลือกและ
ประชาธิปไตย
อันมี
พระมหากษัต
ริย์เป็นประมุข
ลงมือ
ปฏิบัติ
-การ
แลกเปลี่ยน
ความ
คิดเห็นและ
เคารพความ
คิดเห็นของ
ผู้อื่น
-การ
แก้ปัญหาใน
การเล่น
กิจกรรม
ทางสังคม
-การ
แก้ปัญหาใน
การเล่น
และการ
ทางาน
ลงมือ
ปฏิบัติ
-การ
แลกเปลี่ยน
ความ
คิดเห็นและ
เคาระความ
คิดเห็นของ
ผู้อื่น
-การ
แก้ปัญหาใน
การเล่น
ด้านสติปัญญา
มาตรฐานที่ 9
ใช้ภาษา
สื่อสารได้
เหมาะสมกับ
วัย
ตัวบ่งชี้ที่
1
สนทนา
โต้ตอบ
เล่าเรื่อง
ให้ผู้อื่น
เข้าใจ
1.สนทนา
โต้ตอบเล่า
เรื่องเป็น
ประโยค
อย่าง
ต่อเนื่อง
2.ฟังแล้ว
ปฏิบัติตาม
หนูน้อย
อาเซียน
-การพูด
สื่อสาร
-การฟัง
เรื่องราว
-การ
ปฏิบัติ
ตามคาสั่ง
-การแสดง
ความรู้สึก
ด้วยคาพูด
-การพูดกับ
ผู้อื่น
เกี่ยวกับ
ประสบการ
ณ์หรือเล่า
1.สนทนา
โต้ตอบเล่า
เป็น
เรื่องราวได้
2.ฟังแล้ว
นามา
ถ่ายทอดได้
หนูน้อย
อาเซียน
- การ
สื่อสาร
แลกเปลี่ยน
-การเล่า
เรื่องจาก
ประสบการ
ณ์
-การแสดง
ความรู้สึก
ด้วยคาพูด
-การพูดกับ
ผู้อื่น
เกี่ยวกับ
ประสบการ
ณ์หรือเล่า
คาสั่งที่
ต่อเนื่องได้
เรื่องราว
เกี่ยวกับ
ตนเอง
-การอธิบาย
เกี่ยวกับ
สิ่งของ
เหตุการณ์
และ
ความสัมพัน
ธ์ของสิ่งต่าง
ๆ
เรื่องราว
เกี่ยวกับ
ตนเอง
-การอธิบาย
เกี่ยวกับ
สิ่งของ
เหตุการณ์
และ
ความสัมพัน
ธ์ของสิ่งต่าง
ๆ
มาตรฐานที่12
มีเจตคติที่ดีต่อ
การเรียนรู้
และมีทักษะ
ในการ
แสวงหา
ความรู้
ตัวบ่งชี้ที่
1
สนใจ
เรียนรู้
สิ่งต่างๆ
รอบตัว
1.ร่วม
กิจกรรม
ด้วยความ
สนใจ อย่าง
มีความสุข
-การอธิบาย
เกี่ยวกับ
สิ่งของ
เหตุการณ์
และ
ความสัมพัน
ธ์ของสิ่งต่าง
1.ร่วม
กิจกรรม
ด้วยความ
สนใจตั้งแต่
ต้นจนจบ
อย่างมี
ความสุข
-การอธิบาย
เกี่ยวกับ
สิ่งของ
เหตุการณ์
และ
ความสัมพัน
ธ์ของสิ่งต่าง
ๆ
-การสารวจ
และอธิบาย
ความ
เหมือน
ความต่าง ๆ
-การจับคู่
การจาแนก
และการจัด
กลุ่ม
-การเรียน
ในหลาย
รูปแบบ
ประสบการ
ณ์ที่สื่อ
ความหมาย
2. รักและ
สนใจขีด
เขียน
ลากเส้น
ต่าง ๆ
อย่างมี
ความหมาย
ต่อเด็ก
ๆ
-การจับคู่
การจาแนก
และการจัด
กลุ่ม
-การเรียน
ในหลาย
รูปแบบ
ประสบการ
ณ์ที่สื่อ
ความหมาย
ต่อเด็ก
เขียน ภาพ
ขีดเขี่ย
คล้าย
ตัวอักษร
เหมือน
สัญลักษณ์
-เขียน
สัญลักษณ์
2. เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.1 ความหมายของโครงการ
โครงการหมายถึงอะไรได้มีการให้คาจากัดความของความหมายของโครงการไว้มากมายทั้งนัก
การศึกษา นักการตลาด และนักกฎหมายซึ่งโดยรวมแล้วเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า
โครงการ คือ : กิจกรรมหรือแผนงานที่เป็นหน่วยอิสระหนึ่งที่ สามารถทาการวิเคราะห์วางแผน และ
นาไปปฏิบัติ พร้อมทั้งมีลักษณะแจ้งชัดถึงจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุด โดยแผนสาหรับกิจการต่างๆ ต้องระบุ
วัตถุประสงค์ตามระยะเวลาที่กาหนด
โครงการ คือ : การวางแผนล่วงหน้าที่จัดทาขึ้นอย่างมีระบบประกอบด้วยกิจกรรมย่อยหลาย
กิจกรรมที่ต้องใช้ทรัพยากรในการดาเนินงาน และคาดหวังที่จะได้ผลตอบแทนอย่างคุ้มค่าแต่ละโครงการ
มีเป้าหมายเพื่อการผลิตหรือการให้บริการเพื่อเพิ่มพูนสมรรถภาพของแผนงาน ดังนั้นโครงการ จึงเป็นส่วนสาคัญ
ส่วนหนึ่ง ของการวางแผนที่จะทาให้องค์กรบรรลุวัตถุประสงค์ตามเป้าหมายลักษณะของโครงการที่ดีสามารถ
แก้ปัญหาขององค์การหรือหน่วยงานนั้น ๆ ได้มีรายละเอียด วัตถุประสงค์เป้าหมายต่างๆ ชัดเจน สามารถ
ดาเนินงานได้ มีความเป็นไปได้กาหนดขึ้นอย่างมีข้อมูลความจริง(มีสถิติ ตัวเลข ข้อมูลจากองค์กรดังกล่าว)และเป็น
ข้อมูลที่ได้รับการวิเคราะห์อย่างรอบคอบอ่านแล้วเข้าใจว่านี้คือโครงการอะไร มีประโยชน์อย่างไร ทาไปเพื่ออะไร
มีขอบเขตการทาแค่ไหนมีระยะเวลาในการดาเนินงานแน่นอน ระบุวันเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดสามารถติดตาม
ประเมินผลได้
2.2 ความหมายของอาเซียน
อาเซียน คือประชาคมอาเซียน หรือ สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of
South East Asian Nations : ASEAN) เป็นองค์กรระหว่างประเทศระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มี
จุดเริ่มต้นโดยประเทศไทย มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ ได้ร่วมกันจัดตั้ง สมาคมอาสา (Association of South East
Asia) เมื่อเดือน ก.ค.2504 เพื่อการร่วมมือกันทาง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม แต่ดาเนินการไปได้เพียง 2 ปี ก็
ต้องหยุดชะงักลง เนื่องจากความผกผันทางการเมืองระหว่างประเทศอินโดนีเซียและประเทศมาเลเซีย จนเมื่อมีการ
ฟื้นฟูสัมพันธ์ทางการฑูตระหว่างสองประเทศ จึงได้มีการแสวงหาหนทางความร่วมมือกันอีกครั้ง
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จึงก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 8 ส.ค.2510 หลังจากการลง
นามในปฎิญญาสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Declaration of ASEAN Concord) หรือเป็นที่
รู้จักกันในอีกชื่อหนึ่งว่า ปฏิญญากรุงเทพ (The Bangkok Declaration)
วัตถุประสงค์ในการก่อตั้งประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน ก่อตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เริ่มแรกเพื่อสร้างสันติภาพในภูมิภาคเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้ อันนามาซึ่งเสถียรภาพทางการเมือง และความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม และเมื่อ
การค้าระหว่างประเทศในโลกมีแนวโน้มกีดกันการค้ารุนแรงขึ้น ทาให้อาเซียนได้หันมามุ่งเน้นกระชับและขยาย
ความร่วมมือด้านเศรษฐกิจการค้าระหว่างกันมากขึ้น วัตถุประสงค์หลักที่กาหนดไว้ในปฏิญญาอาเซียน (The
ASEAN Declaration) มี 7 ประการ ดังนี้
1. ส่งเสริมความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความก้าวหน้าทางสังคมและวัฒนธรรม
2. ส่งเสริมการมีเสถียรภาพ สันติภาพและความมั่นคงของภูมิภาค
3. ส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม วิชาการ วิทยาศาสตร์ และด้านการ
บริหาร
4. ส่งเสริมความร่วมมือซึ่งกันและกันในการฝึกอบรมและการวิจัย
5. ส่งเสริมความร่วมมือในด้านเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม การค้า การคมนาคม การสื่อสาร
และปรับปรุงมาตรฐานการดารงชีวิต
6. ส่งเสริมการมีหลักสูตรการศึกษาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
7. ส่งเสริมความร่วมมือกับองค์กรระดับภูมิภาคและองค์กรระหว่างประเทศอาเซียน คือ สมาคม
ประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East AsianNations หรือ ASEAN) โดยการ
จัดตั้งในครั้งแรกมีจุดประสงค์เพื่อ ส่งเสริมและร่วมมือในเรื่องสันติภาพ,ความมั่นคง, เศรษฐกิจ, องค์ความรู้, สังคม
วัฒนธรรม บนพื้นฐานความเท่าเทียมกันและผลประโยชน์ร่วมกันของประเทศสมาชิก โดย อาเซียน ได้ก่อตั้งขึ้นโดย
ปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ.2510 โดยมีผู้ร่วมก่อตั้ง 5 ประเทศคือ
1. ไทย โดย พันเอก (พิเศษ) ถนัด คอมันตร์ (รัฐมนตรีต่างประเทศ)
2. สิงคโปร์ โดย นายเอส ราชารัตนัม (รัฐมนตรีต่างประเทศ)
3. มาเลเซีย โดย ตุน อับดุล ราชัก บิน ฮุสเซน (รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีกลาโหมและ
รัฐมนตรีกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ)
4. ฟิลิปปินส์ โดย นายนาซิโซ รามอส (รัฐมนตรีต่างประเทศ)
5. อินโดนีเซีย โดย นายอาดัม มาลิก (รัฐมนตรีต่างประเทศ)
ต่อมาได้มีประเทศต่างๆ เข้าร่วมเป็นสมาชิกเพิ่มเติม คือ 8 ม.ค.2527 บรูไนดารุสซาลาม, 28 ก.ค. 2538
เวียดนาม, 23 ก.ค. 2540 สปป.ลาว และ พม่า, 30 เม.ย. 2542 กัมพูชา ให้ปัจจุบันมีสมาชิกอาเซียนทั้งหมด 10
ประเทศ
2.3 ความสาคัญ
ประชาคมอาเซียนหรือสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East
Asian Nation : ASEAN ) เป็นองค์กรระหว่างประเทศระดับภูมิภาคตะวันออกเฉียงใต้ โดยมีจุดเริ่มต้นจากสมาคม
อาสา เมื่อปี พ.ศ. 2504 ได้พัฒนาเป็นสมาคมประชาชาติแห่งเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ.
2510 และปัจจุบันมีสมาชิกทั้งหมด 10 ประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์หลัก เพื่อความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ สังคม
วัฒนธรรม และความมั่นคง มุ่งการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
จากพัฒนาการความร่วมมือของประชาคมอาเซียนส่งผลจากการมีวิสัยทัศน์ อัตลักษณ์ เป็นหนึ่ง
เดียวกันในปี พ.ศ. 2558 สมาชิกประเทศอาเซียนจะกลายเป็นประชาคมอาเซียนที่แท้จริง นั่นเป็นเสมือนหนึ่งว่า
ประชากรของ 10 ชาติ จะเดินทางไปมาหาสู่กันและกันในลักษณะต่างๆ ที่หลากหลายราวกับเป็นประเทศเดียวกัน
คนไทยในฐานะที่เป็นหนึ่งในกลุ่มประชาคมอาเซียน จาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องรับรู้ มีความเข้าใจในสภาวะที่เกิดขึ้น
ต้องเรียนรู้ถึงเรื่องราวที่สาคัญของกลุ่มประเทศ 9 ประเทศ เพื่อการปรับเปลี่ยนการดาเนินชีวิตที่อาจได้รับ
ผลกระทบจากการนี้ต้องยอมรับในความต่าง และจุดรวมของกันและกัน ประเทศใดที่มีการเตรียมความพร้อมให้กับ
ประชาชนของตนเองได้ดีที่สุด ย่อมมีความได้เปรียบเป็นเบื้องต้น
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมทางสังคม
1. ความหมายของพัฒนาการทางสังคม
สานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ (2536 : 10) ได้ให้ความหมายของ
พัฒนาทางสังคมว่า หมายถึง การแสดงพฤติกรรมของมนุษย์ที่สังคมนั้น ๆ ยอมรับ และสามารถปฏิบัติตนตาม
บทบาทได้อย่างถูกต้อง โดยที่รู้สึกว่าตนเป็นส่วนหนึ่งของสังคมนั้น ๆ
พัฒนาการด้านสังคม (social development) การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย ( 2550 :
11-5 ถึง 11-6 ) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงความสามารถในการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างตนเองกับบุคคลอื่น
มีทักษะการปรับตัวอยู่ในสังคม รวมทั้งความสามารถในการช่วยเหลือตนเองในชีวิตประจาวัน ความรู้สึกผิดชอบชั่ว
ดี ตลอดจนคุณธรรม จริยธรรม
สิริมา ภิญโญอนันตพงษ์ (2550 : 91 – 92) ได้ให้ความหมายของพัฒนาการทางสังคม
ไว้ว่า พัฒนาการทางสังคม หมายถึง พัฒนาการเรียนรู้ทางสังคมจากความรู้สึกผูกพันใกล้ชิดภายในครอบครัวที่
พึ่งพาตนเองและปรับตัวเข้ากับผู้อื่น
ทิติลดา พิไลกุล (2551 : 23 – 24) ได้ให้ความหมายของพัฒนาการทางสังคมไว้ว่าพัฒนาการทางสังคม
หมายถึง พัฒนาการการเปลี่ยนแปลงในแต่ละวัยที่เป็นพฤติกรรมการแสดงออก ต่อสังคมและการเรียนรู้ที่จะ
ปรับตัวให้อยู่ร่วมกับสังคมและสิ่งแวดล้อมที่แต่ละบุคคลอาศัยอยู่ได้
อัจจิมา ศิริพิบูลย์ผล (2552 : 23 – 24) ให้ความหมายทักษะทางสังคม ว่าเป็นความสามารถในการอยู่ใน
สังคมได้อย่างมีความสุข รู้จักรับผิดชอบ รู้จักบทบาทหน้าที่ของตนเอง รู้จักปฏิบัติต่อผู้อื่น ได้รับการยอมรับจาก
สมาชิกในสังคมและสร้างประโยชน์ให้แก่สังคม
จริยา สันตานนท์ (2553 : 9 - 10) ได้ให้ความหมายของพัฒนาการทางสังคม สรุปได้ว่าเป็นการ
แสดงออกของพฤติกรรมต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์ต่อบุคคล สถานการณ์หรือสิ่งแวดล้อมรอบตัว ซึ่งเริ่มจากการ
เรียนรู้และมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลและสภาพแวดล้อมที่ใกล้ตัว สู่การปรับพฤติกรรมให้เหมาะสมและเป็นที่ยอมรับ
ของผู้อื่นในสังคม สามารถปรับตัวร่วมเล่นร่วมทางานและดาเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขเหมาะสมตาม
วัยและช่วงอายุของแต่ละบุคคล
สรุปได้ว่า พัฒนาการทางสังคม หมายถึง การแสดงพฤติกรรมของมนุษย์ที่สังคมยอมรับหรือต้องการ โดย
ได้รับการเรียนรู้จากสังคมและเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ดี เป็นที่ยอมรับของผู้อื่นในสังคม สามารถอยู่ร่วมกับสังคม
และสิ่งแวดล้อมที่แต่ละบุคคลอาศัยอยู่ได้ ทั้งนี้ สภาพสังคม วัฒนธรรม และ การอบรมเลี้ยงดูที่เด็กได้รับ จะมีส่วน
ช่วยกาหนดความรู้สึกและลักษณะนิสัยของเด็ก
2. ความหมายของพฤติกรรมทางสังคม
พฤติกรรมทางสังคมถูกหล่อหลอมขึ้นจากอิทธิพลของสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบ ๆ ตัว สถาบัน
ต่าง ๆ ในสังคมที่ทาหน้าที่ถ่ายทอดคุณสมบัติต่าง ๆ ให้กับบุคคลในสังคมตั้งแต่เยาว์วัย ซึ่งนักการศึกษาได้ให้
ความหมายและกล่าวถึงลักษณะของพฤติกรรมทางสังคมไว้หลายท่านดังต่อไปนี้
อิงลิช และ อิงลิช (ขจิตพรรณ ทองคา. 2536 : 12 ; อ้างอิงจาก English ;& English. 1958.
A Comprehensive Dictionary of Psychological and Psychoanalytical Terms. p. 506) ได้ให้
ความหมายของพฤติกรรมทางสังคมว่า พฤติกรรมทางสังคม หมายถึง พฤติกรรมที่แสดงออกเนื่องจากได้รับอิทธิพล
จากพฤติกรรมของบุคคลหรือองค์กรทางสังคม อาทิ ครอบครัว โรงเรียน
กู๊ด (จิตรา ชนะกุล 2539 : 12 ; อ้างอิงจาก Good. 1973. Dictionary of Education. p.
44) ได้ให้ความหมายของพฤติกรรมทางสังคมว่า เป็นการแสดงออกที่แตกต่างกันไปใน
แต่ละบุคคล ซึ่งเป็นสมาชิกของสังคม หรือเป็นการแสดงออกของกลุ่มบุคคล
เพจ โทมัส และ มาร์แชล (บุศรินทร์ สิริปัญญาธร. 2541 : 11 ; อ้างอิงจาก Page,
Thomas ;& Marshall. 1977. International Dictionary of Education. p. 314) ได้ให้ความหมายของ
พฤติกรรมทางสังคมไว้ว่า พฤติกรรมทางสังคม หมายถึง พฤติกรรมที่บุคคลแสดงออกอย่างต่อเนื่องจากการได้รับ
อิทธิพลจากพฤติกรรมกลุ่มบุคคล ที่ได้รับการควบคุมโดยองค์กรทางสังคม หรือเป็นพฤติกรรมที่แสดงออกเพื่อ
พยายามมีอิทธิพลเหนือบุคคลอื่น
ชไมมน ศรีสุรักษ์ (2540 : 13) ได้สรุปความหมายของพฤติกรรมทางสังคมว่า หมายถึง พฤติกรรม
แสดงออกของบุคคลในสังคมซึ่งได้รับอิทธิพลจากกลุ่มบุคคลหรือองค์กรทางสังคม
เฮอรลอค (สุดาพร วิชิตชัยชาคร. 2551: 23 ; อ้างอิงจาก Hurlock. 1987: 228) ได้ให้
ความหมายของพัฒนาการทางสังคมว่า เป็นการพัฒนาความสามารถในการแสดงพฤติกรรมให้ตรงกับ
แบบแผนที่สังคมยอมรับเพื่อให้สามารถเข้ากับสังคมได้
จากการให้ความหมายของนักการศึกษาตามที่ได้กล่าวมา สามารถสรุปได้ว่า พฤติกรรมทางสังคม
หมายถึง ความสามารถในการแสดงออกของพฤติกรรม จากการได้รับอิทธิพลจากพฤติกรรมกลุ่มบุคคล ที่ได้รับ
การควบคุมโดยองค์กรทางสังคม หรือเป็นพฤติกรรมที่แสดงออกเพื่อพยายามมีอิทธิพลเหนือบุคคลอื่น
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
1. งานวิจัยในประเทศ
ณัฐนันท์ ไชยประสงค์สุข (2549:61-62) ได้ศึกษาผลของการเล่นแบบไทยที่มีต่อความสามารถด้านมิติ
สัมพันธ์ของเด็กปฐมวัย กับนักเรียนที่มีอายุ 5- 6 ปี จานวน 20 คน ที่กาลังเรียนในชั้นอนุบาลปีที่ 2 ภาคเรียนที่
2 ปีการศึกษา 2549 ใช้เวลาในการทดลอง 8 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 4 วัน จานวน 32 ครั้ง ผลการศึกษาพบว่า
1. เด็กปฐมวัยที่ได้รับการเล่นแบบไทยมีทักษะความสัมพันธ์โดยรวมสูงขึ้นอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ
.01
2. เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์การเล่นแบบไทย มีทักษะความสามารถทางมิติสัมพันธ์ด้านการ
จาแนกความเหมือน ด้านความแตกต่างของวัตถุสิ่งของ ด้านการบอกความสัมพันธ์ของวัตถุกับทิศทาง และด้าน
ความสามารถในการสังเกต และค้นหาวัตถุอย่างมีทิศทางสูงขึ้นอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ส่วนด้านการ
บอกลักษณะร่วมของวัตถุสิ่งของ และด้านการบอกตาแหน่งของวัตถุที่สัมพันธ์กับตาแหน่งของตนเองสูงขึ้นกว่าก่อน
การทดลองอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติ
สุภาภรณ์ สงนวน (2551 : 87) ได้เปรียบเทียบทักษะทางสังคมของเด็กปฐมวัยระหว่าง
การจัดกิจกรรมการละเล่นพื้นบ้านกับการจัดกิจกรรมการละเล่นปกติ ของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2 ปีการศึกษา
2550 จากการศึกษาพบว่าจากการเปรียบเทียบทักษะทางสังคมของเด็กปฐมวัยระหว่าง
การจัดบรรยากาศการเรียนรู้ที่ได้รับการพัฒนาโดยใช้จัดกิจกรรมการละเล่นพื้นบ้านแบบปกติในระดับชั้นอนุบาลปี
ที่ 2 ปี สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาศรีสะเกษ เขต 4 สรุปผลไดดังนี้
1. เด็กปฐมวัยการจัดกิจกรรมการละเล่นพื้นบ้านมีทักษะทางสังคมหลังจากจัดกิจกรรมสูงขึ้น อยู่
ในระดับดี
2. เด็กปฐมวัยหลังการจัดกิจกรรมการละเล่นพื้นบ้าน มีคะแนนเฉลี่ยทักษะทางสังคมมากกว่าก่อนการจัด
กิจกรรมการละเล่นพื้นบ้าน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01
3. เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการละเล่นพื้นบ้าน มีคะแนนเฉลี่ยทักษะทางสังคมสูงกว่าเด็กปฐมวัย
ที่ได้รับการจัดกิจกรรมตามปกติ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01
สุดาพร วิชิตชัยสาคร (2551 : 89-90) ศึกษาผลการจัดประสบการณ์แบบโครงการ ที่มีต่อ
พัฒนาการของพฤติกรรมด้านสังคมของเด็กปฐมวัยและเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษในห้องเรียนร่วม
ผลการวิจัยสรุปว่าเด็กปฐมวัยปกติและเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษในห้องเรียนร่วมหลังจากได้รับการจัด
ประสบการณ์แบบโครงการ มีพฤติกรรมด้านสังคมโดยรวมและรายด้าน ได้แก่ ด้านการช่วยเหลือ ด้านการยอมรับ
และด้านการแบ่งปัน สูงขึ้นอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ดังนี้
ผลการวิเคราะห์คะแนนเด็กปฐมวัยปกติและเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษในห้องเรียนร่วมหลังจาก
ได้รับการจัดประสบการณ์แบบโครงการ พฤติกรรมด้านสังคมทั้ง 3 พฤติกรรมคือการช่วยเหลือ
การยอมรับ และการแบ่งปัน ของเด็กปฐมวัยปกติและเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษในห้องเรียนร่วม
ก่อนที่ได้รับการจัดประสบการณ์แบบโครงการ มีคะแนนเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 1.45 - 1.58 ซึ่งอยู่ในระดับไม่
เหมาะสมทุกพฤติกรรม และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐานของพฤติกรรมด้านสังคมทั้ง 3 พฤติกรรม มีค่าอยู่ระหว่าง
0.67 - 0.98
ระหว่างการจัดประสบการณ์แบบโครงการ ทั้ง 3 ด้าน พบว่ามีคะแนนเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 3.66 -5.09 ซึ่งอยู่
ในระดับค่อนข้างเหมาะสมทุกพฤติกรรม และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐานของพฤติกรรมด้านสังคมทั้ง 3 พฤติกรรม
มีค่าอยู่ระหว่าง 0.42 -0.59
เมื่อพิจารณาหลังการจัดประสบการณ์แบบโครงการ ทั้ง 3 ด้าน พบว่ามีคะแนนเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 6.28 -
8.00 ซึ่งอยู่ในระดับเหมาะสมทุกพฤติกรรม และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐานของพฤติกรรมด้านสังคมทั้ง 3 ด้าน มี
ค่าอยู่ระหว่าง 0.97 -1.20 ซึ่งได้มาจากการสังเกตการเปลี่ยนแปลงเด็กปฐมวัยปกติและเด็กปฐมวัยที่มีความ
ต้องการพิเศษในห้องเรียนร่วมที่ได้รับการจัดประสบการณ์แบบโครงการ ก่อนการทดลอง ระหว่างการทดลองและ
หลังการทดลอง
ทิติลดา พิไลกุล (2551 : 63) ศึกษาและเปรียบเทียบคะแนนพฤติกรรมทางสังคมของเด็กปฐมวัย
ใช้เวลาทดลอง 8 สัปดาห์ ผลการวิจัยพบว่า
1. เด็กปฐมวัยที่ได้รับการเรียนรู้แบบนักวิจัย พบว่าในแต่ละช่วงสัปดาห์ มีสัปดาห์
ที่มีพฤติกรรมทางสังคมโดยรวมก่อนการทดลองและช่วงการทดลองการจัดการเรียนรู้แบบนักวิจัย มีระดับคะแนน
พฤติกรรมทางสังคมของเด็กปฐมวัยแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ P < .05 ทั้งโดยรวม (
F=914.54) และเมื่อวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลง โดยการจัดการเรียนรู้แบบนักวิจัยพฤติกรรมทางสังคมโดยรวม
ร้อยละ 98
2. เด็กปฐมวัยที่ได้รับการเรียนรู้แบบนักวิจัยมีพฤติกรรมทางสังคมแยกเป็นรายด้าน
คือ ด้านการช่วยเหลือ การแบ่งปัน การร่วมมือ พบว่าคะแนนพฤติกรรมทางสังคมทั้ง 3 ด้าน มีการเปลี่ยนแปลงใน
ลักษณะที่สอดคล้องกับการวิเคราะห์คะแนนรวมทั้งหมด โดยมีการเปลี่ยนแปลงก่อนการทดลองและช่วงการ
ทดลองการเรียนรู้แบบนักวิจัย มีระดับคะแนนพฤติกรรมทางสังคมของเด็กปฐมวัยแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทาง
สถิติที่ระดับ ระดับ P < .05 ด้านการช่วยเหลือ (F=139.60) ด้านการแบ่งปัน (F=171.40) ด้านการร่วมมือ
(F=127.05) โดยการเรียนรู้แบบนักวิจัยส่งผลต่อพฤติกรรมทางสังคม ด้านการช่วยเหลือ ร้อยละ 88 ด้านการ
แบ่งปันร้อยละ 90 ด้านการร่วมมือร้อยละ 87 ตามลาดับ
อริสา โสคาภา (2551 : 65) ศึกษาการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางสังคมของเด็กปฐมวัยที่ได้รับ
การจัดกิจกรรมการเล่านิทานอีสปประกอบการใช้สถานการณ์จาลอง ผลการศึกษา พบว่า
1. เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเล่านิทานอีสปประกอบการใช้สถานการณ์
จาลอง ในแต่ละช่วงสัปดาห์ก่อนและหลังการทดลองมีคะแนนพฤติกรรมทางสังคม โดยรวมเท่ากับ 0.09 และ 0.75
คะแนนด้านความร่วมมือ เฉลี่ยเท่ากับ 1.30 และ 0.52 คะแนนด้านการช่วยเหลือ เฉลี่ยเท่ากับ 0.66 และ 0.41
คะแนนด้านการแบ่งปัน เฉลี่ยเท่ากับ 1.12 และ 0.25 ตามลาดับ
2. เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกิจกรรมการเล่านิทานอีสปประกอบการใช้สถานการณ์จาลอง
มีพฤติกรรมทางสังคมรายด้าน มีค่าเฉลี่ยเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ P <.01 โดยด้านความร่วมมือ
การช่วยเหลือ ด้านการแบ่งปัน มีค่าเฉลี่ยสูงขึ้นเท่ากับ 3.38 3.48 และ 3.71 แสดงว่าการจัดกิจกรรมการเล่านิทาน
อีสปประกอบการใช้สถานการณ์จาลอง ส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยมีพฤติกรรมทางสังคมสูงขึ้นอย่างชัดเจน
อัจจิมา ศิริพิบูลยผล. (2552 : 74) ศึกษาทักษะทางสังคมของเด็กปฐมวัยออทิสติก ที่ไดรับการจัด
กิจกรรมการเลนแบบรวมมือ และเพื่อเปรียบเทียบทักษะทางสังคมของเด็กปฐมวัย ออทิสติกก่อนและหลังได้รับ
การจัดกิจกรรมการเลนแบบรวมมือ พบว่าเด็กปฐมวัยออทิสติกที่ไดรับการจัดกิจกรรมการเลนแบบรวมมือมีทักษะ
ทางสังคมสูงกว่าก่อนได้รับการจัดกิจกรรมการเลนแบบรวมมือ อยางมีนัยสาคัญที่ระดับ .01 ทั้งโดยรวมและราย
ด้าน ได้แก่ด้านการมีส่วนร่วมในการทากิจกรรม ด้านการแบ่งปัน และด้านการปฏิบัติตามข้อตกลงกลุ่ม และพบว่า
ทักษะทางสังคมด้านการมีส่วนร่วมมีการเปลี่ยนแปลงดีขึ้นมากเป็นอันดับแรก รองลงมาคือการปฏิบัติตามข้อตกลง
และอันดับสุดท้ายคือด้านการแบ่งปัน
2. งานวิจัยต่างประเทศ
เวบสเทอร์ และรีด (Webster; & Reid. 2004 : 96 – 113) กล่าวว่า ความสามารถของเด็กปฐมวัยใน
การจัดการกับอารมณ์และสร้างสัมพันธภาพเป็นพื้นฐานที่สาคัญของความสาเร็จในการอ่านและการเรียนชั้นที่
สูงขึ้น เด็กที่มีความสามารถทางสังคมดีจะสามารถทานายความสาเร็จในการเรียนได้ดีกว่าเด็กที่มีความสามารถทาง
สังคมต่า สาหรับหลักสูตรการพัฒนาทักษะสังคมและการแก้ไขปัญหาในเด็กที่ได้ศึกษานี้เป็นโปรแกรมที่ช่วยสอน
ทักษะต่าง ๆ เช่น การควบคุมอารมณ์ในชั้นเรียนการสื่อสารแบบเห็นใจ สัมพันธภาพและทักษะการสื่อสาร การ
จัดการอารมณ์โกรธ การแก้ไขปัญหาสัมพันธภาพระหว่างบุคคล และวิธีการประสบความสาเร็จในชั้นเรียน กลุ่ม
ตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ เด็กปฐมวัยที่ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่า มีความบกพร่องทางพฤติกรรม เรื่อง การ
ต่อต้านสังคมและก้าวร้าว ปัจจุบันหลักสูตรนี้อยู่ในระหว่างการปรับปรุงเพื่อประยุกต์ใช้ในเด็กปฐมวัยและเด็กวัย
เรียนเพื่อเพิ่มทักษะต่าง ๆ เช่น สังคม อารมณ์ และความสามารถการเรียนในชั้นเรียน และเพื่อลดปัญหาพฤติกรรม
ของเด็กในชั้นเรียน
มากาเรทต์ (Margharet. 2008 : 957) ได้ศึกษาพฤติกรรมสังคม และอารมณ์ของเด็กปฐมวัย
พบว่า เด็กที่มีปัญหาพฤติกรรมดังกล่าวตั้งแต่ช่วงวัย 12 – 36 เดือน มีความเสี่ยงที่จะมีปัญหาพฤติกรรมสังคม –
อารมณ์ในวัยประถมศึกษาหรือวัยเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ศึกษา จานวน 1,004 คน ซึ่งอยู่ในช่วง 12 – 36 เดือน
โดยผู้ปกครองจะเป็นผู้ประเมินแบบสอบถาม “The Brief infant-Toddler Social and Emotional
Assessment” ข้อคาถามมีเนื้อหาเกี่ยวกับความวิตกกังวลของพัฒนาการทางสังคมและอารมณ์ที่ผู้ปกครองมีต่อ
เด็ก หลังจากนั้นเมื่อเด็กอยู่ในช่วงต้นของวัยเรียน และผู้ปกครองจะประเมินอีกครั้ง (ช่วงอายุเฉลี่ย 6 ปี, SD=
0.4 ปี) โดยแบบประเมิน “The Child Behavior Checklist” ส่วนครูก็จะประเมินโดยใช้ “The Teacher
Report Form Regarding behavioral problem” จากผลการประเมินผู้ปกครองที่รายงานถึงพยาธิสภาพ
ของพฤติกรรมเด็กวัยเรียนจากกลุ่มตัวอย่าง จานวน 389 คน พิจารณาในรายละเอียดพบว่า ผู้ปกครองที่รายงานถึง
ความวิตกกังวลของพฤติกรรมเด็กเล็กมีนัยสาคัญทางสถิติกับพยาธิสภาพทางจิตหรือพฤติกรรมในวัยเข้าเรียน
เช่นเดียวกับครูที่ประเมินว่าเด็กมีปัญหาทางคลินิก แสดงถึงความวิตกกังวลของผู้ปกคอรงที่มีต่อพฤติกรรมสังคม
อารมณ์เด็กเล็ก สามารถทานายพฤติกรรมที่เป็นปัญหาทางสังคมอารมณ์ในวัยเรียนได้ และการประเมินอย่างเป็น
มาตรฐานในเด็กปฐมวัยเป็นสิ่งสาคัญที่จะระบุลักษณะเด่นที่มีผลหรือมีความสัมพันธ์กับปัญหาพฤติกรรมสังคม
และอารมณ์ของเด็กในวัยเรียน
บาร์ตัน และแอสเชียน (อัจจิมา ศิริพิบูลย์ผล. 2552 : 55; อ้างอิงจาก Barton; & Ascion.
p.417 - 430) ได้ฝึกการร่วมมือทางกายและการร่วมมือทางวาจาแก่เด็กเล็กอายุ 3 -3 ½ ปี ในการเล่นร่วมกัน
โดยแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ฝึกการร่วมมือโดยแสดงพฤติกรรมทางกาย เช่น ส่งของให้เพื่อน กลุ่มที่ 2 ฝึก
การร่วมมือโดยแสดงพฤติกรรมทางวาจา เช่น การพูดแสดงความคิดเห็น ต่อเพื่อน กลุ่มที่ 3 ฝึกให้มีพฤติกรรมทั้ง
สองอย่างร่วมกัน โดยผู้ทดลองใช้วิธีการหลายอย่างร่วมกัน เช่น ให้คาแนะนา ให้ดูตัวแบบ บอกให้ทา และให้การ
ชมเชย ผลการศึกษาพบว่าเด็กมีพฤติกรรมที่ต้องการเพิ่มขึ้น
จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยในประเทศและต่างประเทศ สรุปได้ว่า การจัดกิจกรรมตามโครงการหนู
น้อยอาเซียน ส่งผลให้ผู้เรียนมีพฤติกรรมทางสังคม เรื่องการปฏิบัติตามข้อตกลงของกลุ่ม การเข้าแถวรอคอย
ตามลาดับก่อนหลัง การเล่นหรือทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม การช่วยเหลือเพื่อนในการทางาน/เล่นร่วมกัน และการ
ร่วมทากิจกรรมกับเพื่อนอย่างสนุกสนาน สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดี
ของสังคม ซึ่งเป็นพื้นฐานในการปรับตัวเข้าสู่สังคมในวัยผู้ใหญ่ต่อไป
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน
หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน

More Related Content

What's hot

สรุปผลการแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 64 ระดับภาคใต้
สรุปผลการแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 64 ระดับภาคใต้สรุปผลการแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 64 ระดับภาคใต้
สรุปผลการแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 64 ระดับภาคใต้ยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะBoonlert Aroonpiboon
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อwisheskerdsilp
 
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖Makiya Khompong
 
ภาษาไทย ไตรยางค์
ภาษาไทย ไตรยางค์ภาษาไทย ไตรยางค์
ภาษาไทย ไตรยางค์pui003
 
เด็กออทิสติก
เด็กออทิสติกเด็กออทิสติก
เด็กออทิสติกDarika Roopdee
 
3 กิตติกรรมประกาศ
3 กิตติกรรมประกาศ3 กิตติกรรมประกาศ
3 กิตติกรรมประกาศkasetpcc
 
ข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างkrupeak
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงkrupornpana55
 
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาดGob Chantaramanee
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2supap6259
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนkrupornpana55
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์koorimkhong
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษามาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาBoonlert Aroonpiboon
 
โครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียนโครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียนMontira Butyothee
 

What's hot (20)

สรุปผลการแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 64 ระดับภาคใต้
สรุปผลการแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 64 ระดับภาคใต้สรุปผลการแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 64 ระดับภาคใต้
สรุปผลการแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 64 ระดับภาคใต้
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
 
คำศัพท์พื้นฐาน ชั้น อนุบาล
คำศัพท์พื้นฐาน ชั้น อนุบาลคำศัพท์พื้นฐาน ชั้น อนุบาล
คำศัพท์พื้นฐาน ชั้น อนุบาล
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อ
 
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
 
ภาษาไทย ไตรยางค์
ภาษาไทย ไตรยางค์ภาษาไทย ไตรยางค์
ภาษาไทย ไตรยางค์
 
เด็กออทิสติก
เด็กออทิสติกเด็กออทิสติก
เด็กออทิสติก
 
3 กิตติกรรมประกาศ
3 กิตติกรรมประกาศ3 กิตติกรรมประกาศ
3 กิตติกรรมประกาศ
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
ข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่าง
 
พฤติกรรมการมาสาย
พฤติกรรมการมาสายพฤติกรรมการมาสาย
พฤติกรรมการมาสาย
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
 
งานวิจัยในชั้นเรียนบาสเกตบอลม.หก
งานวิจัยในชั้นเรียนบาสเกตบอลม.หกงานวิจัยในชั้นเรียนบาสเกตบอลม.หก
งานวิจัยในชั้นเรียนบาสเกตบอลม.หก
 
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
 
แบบฝึกอ่านสระ
แบบฝึกอ่านสระแบบฝึกอ่านสระ
แบบฝึกอ่านสระ
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษามาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
 
โครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียนโครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียน
 

Similar to หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน

แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2krupornpana55
 
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57คมสัน คงเอี่ยม
 
โครงงานฟิสิกส์
โครงงานฟิสิกส์โครงงานฟิสิกส์
โครงงานฟิสิกส์Phiromporn Norachan
 
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุคKruBeeKa
 
จุดเน้น 3
จุดเน้น  3จุดเน้น  3
จุดเน้น 3kruchaily
 
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนmadechada
 
แนวทางการดำเนินงานเรียนฟรี 1detail
แนวทางการดำเนินงานเรียนฟรี 1detailแนวทางการดำเนินงานเรียนฟรี 1detail
แนวทางการดำเนินงานเรียนฟรี 1detailxwarx
 
โครงงานกอท
โครงงานกอทโครงงานกอท
โครงงานกอทManaf Joraka
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 

Similar to หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน (20)

แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
 
Radchaneeporn
RadchaneepornRadchaneeporn
Radchaneeporn
 
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57
 
จุดเน้นที่ 3
จุดเน้นที่ 3จุดเน้นที่ 3
จุดเน้นที่ 3
 
Id plan
Id planId plan
Id plan
 
โครงงานฟิสิกส์
โครงงานฟิสิกส์โครงงานฟิสิกส์
โครงงานฟิสิกส์
 
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
 
Focus2
Focus2Focus2
Focus2
 
จุดเน้น 3
จุดเน้น  3จุดเน้น  3
จุดเน้น 3
 
ส่วนที่ 1
ส่วนที่ 1ส่วนที่ 1
ส่วนที่ 1
 
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
 
แนวทางการดำเนินงานเรียนฟรี 1detail
แนวทางการดำเนินงานเรียนฟรี 1detailแนวทางการดำเนินงานเรียนฟรี 1detail
แนวทางการดำเนินงานเรียนฟรี 1detail
 
รายงานผลการปฏิบัติงานของผผอ.ร.ร. (Web)
รายงานผลการปฏิบัติงานของผผอ.ร.ร. (Web)รายงานผลการปฏิบัติงานของผผอ.ร.ร. (Web)
รายงานผลการปฏิบัติงานของผผอ.ร.ร. (Web)
 
แบบสัมภาษณ์
แบบสัมภาษณ์แบบสัมภาษณ์
แบบสัมภาษณ์
 
4 ตอน4 sar57
4 ตอน4 sar574 ตอน4 sar57
4 ตอน4 sar57
 
โครงงานกอท
โครงงานกอทโครงงานกอท
โครงงานกอท
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
My School
My SchoolMy School
My School
 

หนูน้อยอาเซียน โรงเรียนสนามบิน

  • 2. ประกาศคุณูปการ การศึกษาค้นคว้าอิสระฉบับนี้สาเร็จสมบูรณ์ได้ด้วยความกรุณาและความช่วยเหลืออย่างดียิ่ง จาก อาจารย์สุธรรม เทพชาลี ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ โรงเรียนสนามบิน ที่ได้กรุณาให้คาปรึกษา ตรวจ แก้ไขข้อบกพร่องทุกขั้นตอนของการศึกษาค้นคว้าตลอดมาจนสาเร็จเรียบร้อย ผู้ศึกษาค้นคว้าขอกราบขอบพระคุณ ไว้อย่างสูง ขอขอบคุณ อาจารย์บัวเครือ จักรบุตร อาจารย์เสาวลักษณ์ ทองโคตร และอาจารย์อรัญญา กุฎจอมศรี ที่ได้กรุณาเป็นผู้เชี่ยวชาญในการพิจารณาตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าและให้ คาแนะนาอย่างดียิ่งจนสาเร็จลุล่วงด้วยดี ขอขอบคุณผู้บริหาร คณะครูและนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 1 และ 2 โรงเรียนสนามบิน ที่ได้อานวยความ สะดวกในการเก็บข้อมูลเป็นอย่างดี ขอขอบพระคุณ พันโทเรวัต ไคขุนทด นางสาววรารัตน์ ไคขุนทด และนางสาวศิรประภา ไคขุนทด ที่ให้การสนับสนุนช่วยเหลือและเป็นกาลังใจแก่ผู้ศึกษาค้นคว้าด้วยดีมาโดยตลอด จิตราภรณ์ ไคขุนทด
  • 3. สารบัญ บทที่ หน้า 1 บทนา ............................................................................................................................. 1 ความสาคัญ .............................................................................................................. 1 วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า ............................................................................ 2 ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า ................................................................................... 2 ระยะเวลาในการศึกษาค้นคว้า ................................................................................... 2 นิยามศัพท์เฉพาะ ....................................................................................................... 3 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ..................................................................................... 4 หลักสูตรอาเซียนศึกษาปฐมวัย ................................................................................. 4 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ................................................................................. 13 ความหมายของโครงการ ...................................................................................... 13 ความหมายของอาเซียน ....................................................................................... 13 ความสาคัญของอาเซียน ................................................................................ 14 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมทางสังคม ................................. 15 ความหมายของการพัฒนาการทางสังคม ............................................................... 15 ความหมายของพฤติกรรมทางสังคม .................................................................... 15 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ..................................................................................................... 16 ในประเทศ ............................................................................................................... 16 ต่างประเทศ ............................................................................................................. 18 3 วิธีดาเนินการศึกษาค้นคว้า ............................................................................................ 20 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ...................................................................................... 20 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า ............................................................................ 20 การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือ ..................................................................... 20 การดาเนินการทดลอง ............................................................................................. 25 การเก็บรวบรวมข้อมูล ............................................................................................. 26 การวิเคราะห์ข้อมูล .................................................................................................. 27 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ................................................................................. 27 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ................................................................................................... 29 สัญลักษณ์ในการใช้วิเคราะห์ข้อมูล .......................................................................... 29 ลาดับขั้นในการวิเคราะห์ข้อมูล ................................................................................ 29 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ............................................................................................. 30 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ....................................................................... 36 ความมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า .......................................................................... 36
  • 4. สรุปผล .................................................................................................................... 36 อภิปรายผล .............................................................................................................. 36 ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................ 39 บรรณานุกรม ....................................................................................................................... 40 ภาคผนวก ............................................................................................................................ 43 แบบสังเกตพฤติกรรมทางสังคม ............................................................................... 44 คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงาน ..................................................................... 57 คณะทางาน ........................................................................................................ 58 ภาพ ประวัติย่อของผู้ศึกษาค้นคว้า ............................................................................................... 59
  • 5. บทที่ 1 บทนา ความสาคัญ ประชาคมอาเซียนหรือสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nation : ASEAN ) เป็นองค์กรระหว่างประเทศระดับภูมิภาคตะวันออกเฉียงใต้ โดยมีจุดเริ่มต้นจากสมาคม อาสา เมื่อปี พ.ศ. 2504 ได้พัฒนาเป็นสมาคมประชาชาติแห่งเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 และปัจจุบันมีสมาชิกทั้งหมด 10 ประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์หลัก เพื่อความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และความมั่นคง มุ่งการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข จากพัฒนาการความร่วมมือของประชาคมอาเซียนส่งผลจากการมีวิสัยทัศน์ อัตลักษณ์ เป็นหนึ่งเดียวกัน ในปี พ.ศ. 2558 สมาชิกประเทศอาเซียนจะกลายเป็นประชาคมอาเซียนที่แท้จริง นั่นเป็นเสมือนหนึ่งว่าประชากร ของ 10 ชาติ จะเดินทางไปมาหาสู่กันและกันในลักษณะต่างๆ ที่หลากหลายราวกับเป็นประเทศเดียวกัน คนไทยใน ฐานะที่เป็นหนึ่งในกลุ่มประชาคมอาเซียน จาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องรับรู้ มีความเข้าใจในสภาวะที่เกิดขึ้น ต้องเรียนรู้ ถึงเรื่องราวที่สาคัญของกลุ่มประเทศ 9 ประเทศ เพื่อการปรับเปลี่ยนการดาเนินชีวิตที่อาจได้รับผลกระทบจากการ นี้ต้องยอมรับในความต่าง และจุดรวมของกันและกัน ประเทศใดที่มีการเตรียมความพร้อมให้กับประชาชนของ ตนเองได้ดีที่สุด ย่อมมีความได้เปรียบเป็นเบื้องต้น โรงเรียนถือเป็นสถาบันหลักและมีความสาคัญอย่างยิ่งในการเตรียมความพร้อมการเป็นประชาคมอาเซียน ให้แก่เยาวชนคนไทยให้มีความรู้ ความเข้าใจ ทั้งในหลักวิชาการ และแนวปฏิบัติตนในการเป็นผู้ต้อนรับ ชาวต่างชาติ การแสวงหาความร่วมมือในการดาเนินชีวิต การประกอบสัมมาอาชีพตลอดจนการเป็นผู้เยือนที่ดี เนื่องจากโรงเรียนสนามบินเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ จัดการศึกษาตั้งแต่ระดับการศึกษาปฐมวัย ประถมศึกษา และมัธยมศึกษาตอนต้น นอกจากนี้ยังเป็นโรงเรียนมาตรฐานสากล ซึ่งนักเรียนทุกคนต้องเตรียม ความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเฉพาะเด็กปฐมวัย เป็นวัยที่ต้องให้ความสาคัญเป็นอย่างมาก ข้าพเจ้าและ คณะครูในระดับการศึกษาปฐมวัยโรงเรียนสนามบินจึงเห็นความสาคัญในการเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคม อาเซียนและทักษะในศตวรรษที่ 21 นอกจากนี้ทักษะทางสังคมของเด็กเป็นทักษะที่จาเป็นต้องใช้ปฏิบัติตัวร่วมกัน ในสังคม ทาให้มีการช่วยเหลือซึ่งกันและกันทั้งด้านส่วนตัวและด้านการปฏิบัติงานส่วนรวมที่ส่งผลให้บุคคลดาเนิน ชีวิตได้อย่างราบรื่น (สมร ทองดี. 2538 ; อ้างอิงจาก ชไมมน ศรีสุรักษ์. 2540 :1) โดยเฉพาะด้านการปฏิบัติงาน ส่วนรวมนั้น บุคคลที่มีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันในการอยู่ร่วมกันในสังคมจะสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี ความสุข มีบรรยากาศแห่งความเป็นมิตรที่ดีต่อกัน ก่อให้เกิดพลังสร้างสรรค์ความเจริญก้าวหน้าให้กับสังคมได้ใน ที่สุด โดยเฉพาะเด็กวัย 1-6 ปี ซึ่งเป็นวัยที่จิตใต้สานึกจะทาหน้าที่ได้ดีที่สุด ถ้าสิ่ง ต่าง ๆ ที่บันทึกไว้เป็นข้อมูลในแง่ดี เด็กจะมีความรู้สึกนึกคิดไปในทางบวกและเติบโตเป็นบุคคลที่สามารถใช้ ศักยภาพของตนได้อย่างสูงสุด ดังนั้นการพัฒนาความสัมพันธ์ทางสังคมของเด็กในวัยนี้ ต้องฝึกให้เด็กเกิดความ ไว้วางใจในผู้อื่นเมื่ออยู่ร่วมกัน ให้ทางานและเล่นร่วมกับผู้อื่นได้ มีความรับผิดชอบร่วมกับผู้อื่นอย่างง่าย ๆ เข้าใจ ข้อตกลงและกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ฝึกให้รู้จักอดทน รอคอยให้ถึงโอกาสของตน โดยเฉพาะพฤติกรรมทางสังคมจึงได้จัด ให้เด็กระดับการศึกษาปฐมวัย ได้รับความรู้พื้นฐานภายใต้โครงการหนูน้อยอาเซียน เพื่อเป็นการส่งเสริม พัฒนาการทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญาต่อไป
  • 6. วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า 1. เพื่อศึกษาพฤติกรรมทางสังคมของเด็กปฐมวัยตามโครงการหนูน้อยอาเซียน ให้นักเรียนร้อยละ 80 มี พฤติกรรมทางสังคม ตั้งแต่ร้อยละ 80 ขึ้นไป 2. เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมทางสังคมของเด็กปฐมวัย ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นนักเรียน อายุระหว่าง 4-6 ปี กาลังเรียนใน ชั้นอนุบาลปี ที่ 1 , 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 โรงเรียนสนามบิน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 1 จังหวัดขอนแก่น จานวน 10 ห้อง 320 คน ตามตาราง 1 ดังนี้ ตาราง 1 นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 1,2 โรงเรียนสนามบิน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 ชั้น จานวนนักเรียน จานวนห้อง ชาย หญิง รวม อนุบาลปีที่ 1/1 16 19 35 1 อนุบาลปีที่ 1/2 16 18 34 1 อนุบาลปีที่ 1/3 20 13 33 1 อนุบาลปีที่ 1/4 21 14 34 1 อนุบาลปีที่ 1/5 20 13 33 1 รวมอนุบาลปีที่ 1 93 77 170 5 อนุบาลปีที่ 2/1 16 15 31 1 อนุบาลปีที่ 2/2 16 15 31 1 อนุบาลปีที่ 2/3 19 11 30 1 อนุบาลปีที่ 2/4 17 12 29 1 อนุบาลปีที่ 2/5 14 15 29 1 รวมอนุบาลปีที่ 2 82 68 150 5 รวมทั้งสิ้น 175 145 320 10 กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการประเมินผลกิจกรรมครั้งนี้ เป็นนักเรียน อายุระหว่าง 5-6 ปี กาลัง เรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2/3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 โรงเรียนสนามบิน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาขอนแก่น เขต 1 จังหวัดขอนแก่น จานวน 30 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) ระยะเวลาในการศึกษาค้นคว้า ผู้ศึกษาค้นคว้าใช้เวลาในการศึกษาค้นคว้า ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 วันที่ 7 มกราคม ถึง 22 กุมภาพันธ์ 2556
  • 7. นิยามศัพท์เฉพาะ 1. โครงการหนูน้อยอาเซียน หมายถึง โครงการที่ทางระดับการศึกษาปฐมวัยได้จัดขึ้น เพื่อเตรียมความพร้อมเด็กเข้าสู่ประชาคมอาเซียนส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับประเทศอาเซียนในด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ส่งเสริมด้านทักษะ กระบวนการ มีความสามารถในการทางานและอยู่ร่วมกับผู้อื่น ส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา และสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูและเด็กในโรงเรียน 2. พฤติกรรมทางสังคม หมายถึง ความสามารถในการแสดงออกของเด็กปฐมวัย เกี่ยวกับ การปฏิบัติ ตามข้อตกลงของกลุ่ม การเข้าแถวรอคอยตามลาดับก่อนหลัง การเล่นหรือทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม การช่วยเหลือเพื่อนในการทางาน/เล่นร่วมกัน และการร่วมทากิจกรรมกับเพื่อนอย่างสนุกสนาน
  • 8. บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โครงการหนูน้อยอาเซียน ระดับการศึกษาปฐมวัย โรงเรียนสนามบิน ผู้ศึกษาค้นคว้าได้ศึกษาค้นคว้า แนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยนาเสนอตามลาดับ ดังนี้ 1. หลักสูตรอาเซียนการศึกษาปฐมวัย 1.1 หลักการของหลักสูตรอาเซียนการศึกษาปฐมวัย 1.2 วัตถุประสงค์ 1.3 คุณลักษณะเด็กไทยในประชาคมอาเซียน 1.4 การจัดการเรียนรู้รายปีเด็กปฐมวัย ปีการศึกษา 2555 1.5 ผังมโนทัศน์ อาเซียนศึกษาเด็กปฐมวัย 1.6 ตารางหน่วยการเรียนรู้ อาเซียนศึกษาเด็กปฐมวัย 1.7 ตารางวิเคราะห์หลักสูตร อาเซียนศึกษาเด็กปฐมวัย 2. เอกสารที่เกี่ยวข้อง 2.1 ความหมายของโครงการ 2.2 ความหมายของอาเซียน 2.3 ความสาคัญของอาเซียน 3. เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมทางสังคม 3.1 ความหมายของพัฒนาการทางสังคม 3.2 ความหมายของพฤติกรรมทางสังคม 4. เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 4.1 งานวิจัยในประเทศ 4.2 งานวิจัยต่างประเทศ หลักสูตรอาเซียนศึกษาระดับปฐมวัย 1. หลักการของหลักสูตรอาเซียนการศึกษาปฐมวัย ในปี พ.ศ. 2558 ประเทศไทยจะก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน สถานศึกษาได้ตะหนักถึงบทบาทและภารกิจ สาคัญในการเสริมสร้างความร่วมมือกับประชาคมอาเซียนเพื่อพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน และมีคุณภาพอันจะไปสู่ การพัฒนาศักยภาพของนักเรียน รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างประชาคมอาเซียนให้บรรลุเป้าหมายตาม กฎบัตร 3 ภายในปี พ.ศ. 2558 โดยเร่งขับเคลื่อนกลไกการศึกษา เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อม มุ่งพัฒนาเด็ก และเยาวชนให้เป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพ อันจะเป็นพื้นฐานสาคัญของการพัฒนาความเจริญรุ่งเรืองใน ภูมิภาคอาเซียนให้มีความเข้มแข็ง เตรียมเด็กปฐมวัย ก้าวไปสู่พลเมืองอาเซียน “เตรียมตน เตรียมคน เตรียมงาน เตรียมความพร้อมของลูกหลานคือรากฐานของการพัฒนา” คากล่าวนี้ยังใช้ได้ กับกระแสอาเซียนในขณะนี้ โดยเฉพาะการจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับอาเซียนกระทรวงศึกษาธิการได้กาหนด
  • 9. บทบาทการดาเนินงาน ด้านการต่างประเทศเชิงรุก โดยเน้นการกระชับความสัมพันธ์ และการขยายความร่วมมือ กับประเทศเพื่อนบ้าน และในภูมิภาคเอเชีย ภายใต้กรอบความร่วมมือด้านต่างๆ โดยเฉพาะกรอบความร่วมมือด้าน การศึกษาและได้กาหนดนโยบายการขับเคลื่อนการศึกษาในอาเซียนสู่เป้าหมายการจัดตั้งประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ. 2558 ดังนโยบายต่อไปนี้ นโยบายที่1 การเผยแพร่ความรู้ ข้อมูลข่าวสารและเจตนคติที่ดีเกี่ยวกับอาเซียนเพื่อเสริมสร้างความ ตระหนักเกี่ยวกับอาเซียน อัตลักษณ์อาเซียน และเตรียมความพร้อมของครู คณาจารย์ และบุคลากรทาง การศึกษา นักเรียน นักศึกษาและประชาชนเพื่อก้าวสู่ประชาคมอาเซียนภายในปี พ.ศ. 2558 นโยบายที่ 2 การพัฒนาศักยภาพของนักเรียน และประชาชนให้มีทักษะที่เหมาะเพื่อเตรียมความ พร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน นโยบายที่ 3 การพัฒนามาตรฐานการศึกษาเพื่อส่งเสริมการหมุนเวียนของนักศึกษาและครูอาจารย์ ในอาเซียน นโยบายที่ 4 การเตรียมความพร้อมเพื่อเปิดเสรีการศึกษาในอาเซียนเพื่อรองรับการก้าวสู่ ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน นโยบาย 5 การพัฒนาเยาวชนเพื่อเป็นทรัพยากรสาคัญในการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน เนื่องจากการศึกษาเป็นรากฐานสาคัญในการขับเคลื่อนความเจริญรุ่งเรืองของประเทศไทยและภูมิภาค ใน ความร่วมมือด้านการศึกษาอาเซียน ความร่วมมือดังกล่าวเป็นไปในทิศทางที่สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูป การศึกษาของประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งประกอบด้วยการปรับปรุงในเชิงปริมาณ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการขยาย โอกาสทางการศึกษา การยกระดับคุณภาพการศึกษา การนาโครงสร้างพื้นฐาน สิ่งอานวยความสะดวกและ เทคโนโลยี การสื่อสารเข้ามารองรับ ตลอดจนการบริหารจัดการทางการศึกษา วัตถุประสงค์ 1. เด็กเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 2. ส่งเสริมด้านความรู้เกี่ยวกับประเทศอาเซียนในด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม 3. ส่งเสริมด้านทักษะ/กระบวนการ มีความสามารถในการทางานและอยู่ร่วมกับผู้อื่น 4. ส่งเสริมด้านเจตคติ ดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คุณลักษณะเด็กไทยในประชาคมอาเซียน คุณลักษณะของเด็กไทยในประชาคมอาเซียน กาหนดคุณลักษณะ 3 ด้าน ดังนี้ 1. ด้านความรู้ 1.1 มีความรู้เกี่ยวกับประเทศอาเซียนในด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม 1.2 มีความรู้เกี่ยวกับอาเซียน 1.2.1 จุดกาเนิดอาเซียน 1.2.2 กฎบัตรอาเซียน 1.2.3 ประชาคมอาเซียน 1.2.4 ความสัมพันธ์กับภายนอกอาเซียน 2. ด้านทักษะ/กระบวนการ 2.1 ทักษะพื้นฐาน 2.1.1 สื่อสารได้อย่างน้อย 2 ภาษา (ภาษาอังกฤษ และภาษาประเทศเพื่อนบ้านอีกอย่างน้อย 1 ภาษา) 2.1.2 มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างสร้างสรรค์
  • 10. 2.1.3 มีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสันติวิธี 2.1.4 มีความสามารถในการทางานและอยู่ร่วมกับผู้อื่น 2.2 ทักษะพลเมือง/ความรับผิดชอบทางสังคม 2.2.1 เคารพและยอมรับความหลากหลายทางวัฒนธรรม 2.2.2 มีภาวะผู้นา 2.2.3 เห็นปัญหาสังคมและลงมือทาเพื่อนาไปสู่การเปลี่ยนแปลง 2.3 ทักษะการเรียนรู้และพัฒนาตน 3.3.1 เห็นคุณค่าความเป็นมนุษย์เท่าเทียมกัน 3.3.2 มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 3.3.3 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล มีวิธีคิดอย่างถูกต้อง 3.3.4 มีความสามารถในการจัดการ/ควบคุมตนเอง 3. ด้านเจตคติ 3.1 มีความภูมิใจในความเป็นไทย/ความเป็นอาเซียน 3.2 ร่วมกันรับผิดชอบต่อประชาคมอาเซียน 3.3 มีความตระหนักในความเป็นอาเซียน 3.4 มีวิถีชีวิตประชาธิปไตย ยึดมั่นในหลักธรรมาภิบาล สันติวิธี /สันติธรรม 3.5 ยอมรับความแตกต่างในการนับถือศาสนา 3.6 ดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การจัดการเรียนรู้รายปีเด็กปฐมวัย ปีการศึกษา 2555 สาระที่ควรเรียนรู้ ชั้นอนุบาลปีที่ 1 (อายุ 4-5 ปี) ชั้นอนุบาลปีที่ 2 (อายุ 5-6 ปี) สัปดาห์ สัปดาห์ เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก - หนูน้อยสุขภาพดี - ปฐมวัยพอเพียง 10 1 1 8 1 1 เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่ แวดล้อมเด็ก - วันสาคัญ - ขอนแก่นแหล่งวัฒนธรรม 5 6 1 4 6 1 ธรรมชาติรอบตัว - ธรรมชาติสวยงาม 5 3 7 2 รวม 8 9 สิ่งต่าง ๆ รอบตัวเด็ก - ชีวิตประจาวัน - หนูน้อยอาเซี่ยน 4 6 1 1 3 3 รวม 40 40
  • 11. ผังมโนทัศน์ อาเซียนศึกษาเด็กปฐมวัย หนูน้อยอาเซียน สัญลักษณ์ธงของอาเซียน จานวน 1 คาบ ชื่อประเทศสมาชิกอาเซียน จานวน 1 คาบ สมาชิกอาเซียน - ธงประจาชาติ - คาทักทาย - เครื่องแต่งกายประจาชาติ - ดอกไม้ประจาชาติ - อาหารประจาชาติ จานวน 10 คาบ ประเทศลาวประเทศไทย ประเทศเมียรม่าร์ประเทศกัมพูชา ประเทศฟิลิปปินส์ประเทศบรูไน ประเทศอินโดนีเชียประเทศสิงคโปร์ จัดนิทรรศการ แสดงผลงาน จานวน 3 คาบ ประเทศมาเลียเซียประเทศเวียดนาม
  • 12. ตาราง 2 หน่วยการเรียนรู้ อาเซียนศึกษาเด็กปฐมวัย ที่ ชื่อหน่วย สาระการเรียนรู้ บูรณาการใน 6 กิจกรรมหลัก/วัน 1 หนูน้อยอาเซียน สัญลักษณ์ธงของอาเซียน 1 2 หนูน้อยอาเซียน ชื่อประเทศสมาชิกอาเซียน 1 3 สยามเมืองยิ้ม ประเทศไทย - ธง - คาทักทาย - เครื่องแต่งกาย - ดอกไม้ประจาชาติ - อาหาร 1 4 พิมพ์ใจดอกจาปา ประเทศลาว - ธง - คาทักทาย - เครื่องแต่งกาย - ดอกไม้ประจาชาติ - อาหาร 1 5 งามสง่า มาเลเซีย ประเทศมาเลเซีย - ธง - คาทักทาย - เครื่องแต่งกาย - ดอกไม้ประจาชาติ - อาหาร 1 6 เดียรดาษเกาะ อินโดนีเซีย ประเทอินโดนีเซีย - ธง - คาทักทาย - เครื่องแต่งกาย - ดอกไม้ประจาชาติ - อาหาร 1 7 สิงค์โปรโชว์เศรษฐกิจ ประเทศสิงค์โปร - ธง - คาทักทาย - เครื่องแต่งกาย - ดอกไม้ประจาชาติ - อาหาร 1
  • 13. ที่ ชื่อหน่วย สาระการเรียนรู้ บูรณาการใน 6 กิจกรรมหลัก/วัน 8 เมืองมิตรฟิลิปปินส์ ประเทศฟิลิปปินส์ - ธง - คาทักทาย - เครื่องแต่งกาย - ดอกไม้ประจาชาติ - อาหาร 1 9 ยลยินถิ่นเวียดนาม ประเทศเวียดนาม - ธง - คาทักทาย - เครื่องแต่งกาย - ดอกไม้ประจาชาติ - อาหาร 1 10 ประสาทงามกัมพูชา ประเทศกัมพูชา - ธง - คาทักทาย - เครื่องแต่งกาย - ดอกไม้ประจาชาติ - อาหาร 1 11 บรูไนหนาตัวน้ามัน ประเทศบรูไน - ธง - คาทักทาย - เครื่องแต่งกาย - ดอกไม้ประจาชาติ - อาหาร 1 12 ชาวดากองของเมียรม่าร์ ปั้นล้าค่าวัฒนธรรม ประเทศเมียรม่าร์ - ธง - คาทักทาย - เครื่องแต่งกาย - ดอกไม้ประจาชาติ - อาหาร 1 13 รวมพลังหนูน้อยอาเซียน การจัดนิทรรศการแสดงผล งานนักเรียนเกี่ยวกับ อาเซียน 3 รวม 15
  • 14. ตาราง 3 การวิเคราะห์หลักสูตร อาเซียนศึกษาเด็กปฐมวัย มาตรฐาน คุณลักษณะ พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ อนุบาลปีที่ 1 อนุบาลปีที่ 2 สภาพที่พึง ประสงค์ สาระการเรียนรู้ สภาพที่พึง ประสงค์ สาระการเรียนรู้ สาระ ที่ควร เรียนรู้ ประสบการ ณ์สาคัญ สาระ ที่ควรเรียนรู้ ประสบการ ณ์สาคัญ ด้านร่างกาย มาตรฐานที่ 1 ร่างกาย เจริญเติบโต ตามวัยและมี สุขนิสัย ที่ดี ตัวบ่งชี้ที่ 2 รู้จัก รักษา สุขภาพ อนามัย และ ความ ปลอดภั ย 1. รับประทาน อาหารที่มี ประโยชน์ได้ บางชนิด -หนูน้อย อาเซียน การเลือก รับประทา นอาหารที่ มี ประโยชน์ -การปฏิบัติ ตนตาม สุขอนามัย 1. รับประทาน อาหารที่มี ประโยชน์ได้ บางชนิด หนูน้อย อาเซียน -การเลือก รับประทาน อาหารที่มี ประโยชน์ -การปฏิบัติ ตนตาม สุขอนามัย ด้านอารมณ์- จิตใจ มาตรฐานที่ 3 มีสุขภาพจิตดี และมีความสุข ตัวบ่งชี้ที่ 2 มี ความรู้สึ กที่ดีต่อ ตนเอง และ ผู้อื่น 1.มีความ มั่นใจใน ตนเอง 2.ชื่นชม ความสามาร ถและ ผลงานของ ตนเองและ ผู้อื่นได้บ้าง -หนูน้อย อาเซียน การแสดง ความรู้สึก ต่อผลงาน ของ ตนเอง และของ ผู้อื่น -ความ ภูมิใจใน ตนเอง -การชื่นชม และ สร้างสรรค์ สิ่งสวยงาม -การเล่น และทางาน ร่วมกับผู้อื่น -การมี โอกาสได้รับ รู้ความรู้สึก ความสนใจ และความ ต้องการ ของตนเอง และผู้อื่น 1.มีความ มั่นใจใน ตนเองและ กล้า แสดงออก 2.พึงพอใจ ในตนเอง 3.ชื่นชม ความสามาร ถและ ผลงานของ ตนเองและ ผู้อื่น -หนูน้อย อาเซียน การเล่น และทางาน ร่วมกับผู้อื่น -ความ ภาคภูมิใจ ในผลงาน ของตนเอง -การชื่นชม และ สร้างสรรค์ สิ่งสวยงาม -การเล่น และทางาน ร่วมกับผู้อื่น -การมี โอกาสได้รับ รู้ความรู้สึก ความสนใจ และความ ต้องการ ของตนเอง และผู้อื่น ด้านสังคม มาตรฐานที่ 8 อยู่ร่วมกับ ผู้อื่นได้อย่างมี ความสุขและ ปฏิบัติตนเอ็น สมาชิกที่ดีของ สังคมในระบบ ตัวบ่งชี้ที่ 1 เล่นและ ทางาน ร่วมกับ ผู้อื่นได้ 1.รู้จักรอ คอย 2.เล่นและ ทากิจกรรม ร่วมกับเด็ก อื่นได้ หนูน้อย อาเซียน -การรอ คอย -การเล่น และทา กิจกรรม ต่าง ๆ -การเล่น และการ ทางาน ร่วมกับผู้อื่น -การ วางแผนตัด ใจสินใจ เลือกและ 1.รู้จักรอ คอย ตามลาดับ ก่อน หลัง 2.เล่นหรือ ทางาน ร่วมกันเป็น กลุ่มได้ หนูน้อย อาเซียน -การรอคอย -การเล่น และทา กิจกรรม ต่าง ๆ -การร่วม -การเล่น และการ ทางาน ร่วมกับผู้อื่น -การ วางแผนตัด ใจสินใจ เลือกและ
  • 15. ประชาธิปไตย อันมี พระมหากษัต ริย์เป็นประมุข ลงมือ ปฏิบัติ -การ แลกเปลี่ยน ความ คิดเห็นและ เคารพความ คิดเห็นของ ผู้อื่น -การ แก้ปัญหาใน การเล่น กิจกรรม ทางสังคม -การ แก้ปัญหาใน การเล่น และการ ทางาน ลงมือ ปฏิบัติ -การ แลกเปลี่ยน ความ คิดเห็นและ เคาระความ คิดเห็นของ ผู้อื่น -การ แก้ปัญหาใน การเล่น ด้านสติปัญญา มาตรฐานที่ 9 ใช้ภาษา สื่อสารได้ เหมาะสมกับ วัย ตัวบ่งชี้ที่ 1 สนทนา โต้ตอบ เล่าเรื่อง ให้ผู้อื่น เข้าใจ 1.สนทนา โต้ตอบเล่า เรื่องเป็น ประโยค อย่าง ต่อเนื่อง 2.ฟังแล้ว ปฏิบัติตาม หนูน้อย อาเซียน -การพูด สื่อสาร -การฟัง เรื่องราว -การ ปฏิบัติ ตามคาสั่ง -การแสดง ความรู้สึก ด้วยคาพูด -การพูดกับ ผู้อื่น เกี่ยวกับ ประสบการ ณ์หรือเล่า 1.สนทนา โต้ตอบเล่า เป็น เรื่องราวได้ 2.ฟังแล้ว นามา ถ่ายทอดได้ หนูน้อย อาเซียน - การ สื่อสาร แลกเปลี่ยน -การเล่า เรื่องจาก ประสบการ ณ์ -การแสดง ความรู้สึก ด้วยคาพูด -การพูดกับ ผู้อื่น เกี่ยวกับ ประสบการ ณ์หรือเล่า คาสั่งที่ ต่อเนื่องได้ เรื่องราว เกี่ยวกับ ตนเอง -การอธิบาย เกี่ยวกับ สิ่งของ เหตุการณ์ และ ความสัมพัน ธ์ของสิ่งต่าง ๆ เรื่องราว เกี่ยวกับ ตนเอง -การอธิบาย เกี่ยวกับ สิ่งของ เหตุการณ์ และ ความสัมพัน ธ์ของสิ่งต่าง ๆ มาตรฐานที่12 มีเจตคติที่ดีต่อ การเรียนรู้ และมีทักษะ ในการ แสวงหา ความรู้ ตัวบ่งชี้ที่ 1 สนใจ เรียนรู้ สิ่งต่างๆ รอบตัว 1.ร่วม กิจกรรม ด้วยความ สนใจ อย่าง มีความสุข -การอธิบาย เกี่ยวกับ สิ่งของ เหตุการณ์ และ ความสัมพัน ธ์ของสิ่งต่าง 1.ร่วม กิจกรรม ด้วยความ สนใจตั้งแต่ ต้นจนจบ อย่างมี ความสุข -การอธิบาย เกี่ยวกับ สิ่งของ เหตุการณ์ และ ความสัมพัน ธ์ของสิ่งต่าง
  • 16. ๆ -การสารวจ และอธิบาย ความ เหมือน ความต่าง ๆ -การจับคู่ การจาแนก และการจัด กลุ่ม -การเรียน ในหลาย รูปแบบ ประสบการ ณ์ที่สื่อ ความหมาย 2. รักและ สนใจขีด เขียน ลากเส้น ต่าง ๆ อย่างมี ความหมาย ต่อเด็ก ๆ -การจับคู่ การจาแนก และการจัด กลุ่ม -การเรียน ในหลาย รูปแบบ ประสบการ ณ์ที่สื่อ ความหมาย ต่อเด็ก เขียน ภาพ ขีดเขี่ย คล้าย ตัวอักษร เหมือน สัญลักษณ์ -เขียน สัญลักษณ์ 2. เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2.1 ความหมายของโครงการ โครงการหมายถึงอะไรได้มีการให้คาจากัดความของความหมายของโครงการไว้มากมายทั้งนัก การศึกษา นักการตลาด และนักกฎหมายซึ่งโดยรวมแล้วเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า โครงการ คือ : กิจกรรมหรือแผนงานที่เป็นหน่วยอิสระหนึ่งที่ สามารถทาการวิเคราะห์วางแผน และ นาไปปฏิบัติ พร้อมทั้งมีลักษณะแจ้งชัดถึงจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุด โดยแผนสาหรับกิจการต่างๆ ต้องระบุ วัตถุประสงค์ตามระยะเวลาที่กาหนด โครงการ คือ : การวางแผนล่วงหน้าที่จัดทาขึ้นอย่างมีระบบประกอบด้วยกิจกรรมย่อยหลาย กิจกรรมที่ต้องใช้ทรัพยากรในการดาเนินงาน และคาดหวังที่จะได้ผลตอบแทนอย่างคุ้มค่าแต่ละโครงการ มีเป้าหมายเพื่อการผลิตหรือการให้บริการเพื่อเพิ่มพูนสมรรถภาพของแผนงาน ดังนั้นโครงการ จึงเป็นส่วนสาคัญ ส่วนหนึ่ง ของการวางแผนที่จะทาให้องค์กรบรรลุวัตถุประสงค์ตามเป้าหมายลักษณะของโครงการที่ดีสามารถ แก้ปัญหาขององค์การหรือหน่วยงานนั้น ๆ ได้มีรายละเอียด วัตถุประสงค์เป้าหมายต่างๆ ชัดเจน สามารถ ดาเนินงานได้ มีความเป็นไปได้กาหนดขึ้นอย่างมีข้อมูลความจริง(มีสถิติ ตัวเลข ข้อมูลจากองค์กรดังกล่าว)และเป็น ข้อมูลที่ได้รับการวิเคราะห์อย่างรอบคอบอ่านแล้วเข้าใจว่านี้คือโครงการอะไร มีประโยชน์อย่างไร ทาไปเพื่ออะไร มีขอบเขตการทาแค่ไหนมีระยะเวลาในการดาเนินงานแน่นอน ระบุวันเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดสามารถติดตาม ประเมินผลได้
  • 17. 2.2 ความหมายของอาเซียน อาเซียน คือประชาคมอาเซียน หรือ สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nations : ASEAN) เป็นองค์กรระหว่างประเทศระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มี จุดเริ่มต้นโดยประเทศไทย มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ ได้ร่วมกันจัดตั้ง สมาคมอาสา (Association of South East Asia) เมื่อเดือน ก.ค.2504 เพื่อการร่วมมือกันทาง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม แต่ดาเนินการไปได้เพียง 2 ปี ก็ ต้องหยุดชะงักลง เนื่องจากความผกผันทางการเมืองระหว่างประเทศอินโดนีเซียและประเทศมาเลเซีย จนเมื่อมีการ ฟื้นฟูสัมพันธ์ทางการฑูตระหว่างสองประเทศ จึงได้มีการแสวงหาหนทางความร่วมมือกันอีกครั้ง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จึงก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 8 ส.ค.2510 หลังจากการลง นามในปฎิญญาสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Declaration of ASEAN Concord) หรือเป็นที่ รู้จักกันในอีกชื่อหนึ่งว่า ปฏิญญากรุงเทพ (The Bangkok Declaration) วัตถุประสงค์ในการก่อตั้งประชาคมอาเซียน ประชาคมอาเซียน ก่อตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เริ่มแรกเพื่อสร้างสันติภาพในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ อันนามาซึ่งเสถียรภาพทางการเมือง และความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม และเมื่อ การค้าระหว่างประเทศในโลกมีแนวโน้มกีดกันการค้ารุนแรงขึ้น ทาให้อาเซียนได้หันมามุ่งเน้นกระชับและขยาย ความร่วมมือด้านเศรษฐกิจการค้าระหว่างกันมากขึ้น วัตถุประสงค์หลักที่กาหนดไว้ในปฏิญญาอาเซียน (The ASEAN Declaration) มี 7 ประการ ดังนี้ 1. ส่งเสริมความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความก้าวหน้าทางสังคมและวัฒนธรรม 2. ส่งเสริมการมีเสถียรภาพ สันติภาพและความมั่นคงของภูมิภาค 3. ส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม วิชาการ วิทยาศาสตร์ และด้านการ บริหาร 4. ส่งเสริมความร่วมมือซึ่งกันและกันในการฝึกอบรมและการวิจัย 5. ส่งเสริมความร่วมมือในด้านเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม การค้า การคมนาคม การสื่อสาร และปรับปรุงมาตรฐานการดารงชีวิต 6. ส่งเสริมการมีหลักสูตรการศึกษาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 7. ส่งเสริมความร่วมมือกับองค์กรระดับภูมิภาคและองค์กรระหว่างประเทศอาเซียน คือ สมาคม ประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East AsianNations หรือ ASEAN) โดยการ จัดตั้งในครั้งแรกมีจุดประสงค์เพื่อ ส่งเสริมและร่วมมือในเรื่องสันติภาพ,ความมั่นคง, เศรษฐกิจ, องค์ความรู้, สังคม วัฒนธรรม บนพื้นฐานความเท่าเทียมกันและผลประโยชน์ร่วมกันของประเทศสมาชิก โดย อาเซียน ได้ก่อตั้งขึ้นโดย ปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ.2510 โดยมีผู้ร่วมก่อตั้ง 5 ประเทศคือ 1. ไทย โดย พันเอก (พิเศษ) ถนัด คอมันตร์ (รัฐมนตรีต่างประเทศ) 2. สิงคโปร์ โดย นายเอส ราชารัตนัม (รัฐมนตรีต่างประเทศ) 3. มาเลเซีย โดย ตุน อับดุล ราชัก บิน ฮุสเซน (รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีกลาโหมและ รัฐมนตรีกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ) 4. ฟิลิปปินส์ โดย นายนาซิโซ รามอส (รัฐมนตรีต่างประเทศ) 5. อินโดนีเซีย โดย นายอาดัม มาลิก (รัฐมนตรีต่างประเทศ) ต่อมาได้มีประเทศต่างๆ เข้าร่วมเป็นสมาชิกเพิ่มเติม คือ 8 ม.ค.2527 บรูไนดารุสซาลาม, 28 ก.ค. 2538 เวียดนาม, 23 ก.ค. 2540 สปป.ลาว และ พม่า, 30 เม.ย. 2542 กัมพูชา ให้ปัจจุบันมีสมาชิกอาเซียนทั้งหมด 10 ประเทศ
  • 18. 2.3 ความสาคัญ ประชาคมอาเซียนหรือสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nation : ASEAN ) เป็นองค์กรระหว่างประเทศระดับภูมิภาคตะวันออกเฉียงใต้ โดยมีจุดเริ่มต้นจากสมาคม อาสา เมื่อปี พ.ศ. 2504 ได้พัฒนาเป็นสมาคมประชาชาติแห่งเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 และปัจจุบันมีสมาชิกทั้งหมด 10 ประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์หลัก เพื่อความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และความมั่นคง มุ่งการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข จากพัฒนาการความร่วมมือของประชาคมอาเซียนส่งผลจากการมีวิสัยทัศน์ อัตลักษณ์ เป็นหนึ่ง เดียวกันในปี พ.ศ. 2558 สมาชิกประเทศอาเซียนจะกลายเป็นประชาคมอาเซียนที่แท้จริง นั่นเป็นเสมือนหนึ่งว่า ประชากรของ 10 ชาติ จะเดินทางไปมาหาสู่กันและกันในลักษณะต่างๆ ที่หลากหลายราวกับเป็นประเทศเดียวกัน คนไทยในฐานะที่เป็นหนึ่งในกลุ่มประชาคมอาเซียน จาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องรับรู้ มีความเข้าใจในสภาวะที่เกิดขึ้น ต้องเรียนรู้ถึงเรื่องราวที่สาคัญของกลุ่มประเทศ 9 ประเทศ เพื่อการปรับเปลี่ยนการดาเนินชีวิตที่อาจได้รับ ผลกระทบจากการนี้ต้องยอมรับในความต่าง และจุดรวมของกันและกัน ประเทศใดที่มีการเตรียมความพร้อมให้กับ ประชาชนของตนเองได้ดีที่สุด ย่อมมีความได้เปรียบเป็นเบื้องต้น เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมทางสังคม 1. ความหมายของพัฒนาการทางสังคม สานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ (2536 : 10) ได้ให้ความหมายของ พัฒนาทางสังคมว่า หมายถึง การแสดงพฤติกรรมของมนุษย์ที่สังคมนั้น ๆ ยอมรับ และสามารถปฏิบัติตนตาม บทบาทได้อย่างถูกต้อง โดยที่รู้สึกว่าตนเป็นส่วนหนึ่งของสังคมนั้น ๆ พัฒนาการด้านสังคม (social development) การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย ( 2550 : 11-5 ถึง 11-6 ) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงความสามารถในการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างตนเองกับบุคคลอื่น มีทักษะการปรับตัวอยู่ในสังคม รวมทั้งความสามารถในการช่วยเหลือตนเองในชีวิตประจาวัน ความรู้สึกผิดชอบชั่ว ดี ตลอดจนคุณธรรม จริยธรรม สิริมา ภิญโญอนันตพงษ์ (2550 : 91 – 92) ได้ให้ความหมายของพัฒนาการทางสังคม ไว้ว่า พัฒนาการทางสังคม หมายถึง พัฒนาการเรียนรู้ทางสังคมจากความรู้สึกผูกพันใกล้ชิดภายในครอบครัวที่ พึ่งพาตนเองและปรับตัวเข้ากับผู้อื่น ทิติลดา พิไลกุล (2551 : 23 – 24) ได้ให้ความหมายของพัฒนาการทางสังคมไว้ว่าพัฒนาการทางสังคม หมายถึง พัฒนาการการเปลี่ยนแปลงในแต่ละวัยที่เป็นพฤติกรรมการแสดงออก ต่อสังคมและการเรียนรู้ที่จะ ปรับตัวให้อยู่ร่วมกับสังคมและสิ่งแวดล้อมที่แต่ละบุคคลอาศัยอยู่ได้ อัจจิมา ศิริพิบูลย์ผล (2552 : 23 – 24) ให้ความหมายทักษะทางสังคม ว่าเป็นความสามารถในการอยู่ใน สังคมได้อย่างมีความสุข รู้จักรับผิดชอบ รู้จักบทบาทหน้าที่ของตนเอง รู้จักปฏิบัติต่อผู้อื่น ได้รับการยอมรับจาก สมาชิกในสังคมและสร้างประโยชน์ให้แก่สังคม จริยา สันตานนท์ (2553 : 9 - 10) ได้ให้ความหมายของพัฒนาการทางสังคม สรุปได้ว่าเป็นการ แสดงออกของพฤติกรรมต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์ต่อบุคคล สถานการณ์หรือสิ่งแวดล้อมรอบตัว ซึ่งเริ่มจากการ เรียนรู้และมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลและสภาพแวดล้อมที่ใกล้ตัว สู่การปรับพฤติกรรมให้เหมาะสมและเป็นที่ยอมรับ ของผู้อื่นในสังคม สามารถปรับตัวร่วมเล่นร่วมทางานและดาเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขเหมาะสมตาม วัยและช่วงอายุของแต่ละบุคคล สรุปได้ว่า พัฒนาการทางสังคม หมายถึง การแสดงพฤติกรรมของมนุษย์ที่สังคมยอมรับหรือต้องการ โดย ได้รับการเรียนรู้จากสังคมและเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ดี เป็นที่ยอมรับของผู้อื่นในสังคม สามารถอยู่ร่วมกับสังคม
  • 19. และสิ่งแวดล้อมที่แต่ละบุคคลอาศัยอยู่ได้ ทั้งนี้ สภาพสังคม วัฒนธรรม และ การอบรมเลี้ยงดูที่เด็กได้รับ จะมีส่วน ช่วยกาหนดความรู้สึกและลักษณะนิสัยของเด็ก 2. ความหมายของพฤติกรรมทางสังคม พฤติกรรมทางสังคมถูกหล่อหลอมขึ้นจากอิทธิพลของสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบ ๆ ตัว สถาบัน ต่าง ๆ ในสังคมที่ทาหน้าที่ถ่ายทอดคุณสมบัติต่าง ๆ ให้กับบุคคลในสังคมตั้งแต่เยาว์วัย ซึ่งนักการศึกษาได้ให้ ความหมายและกล่าวถึงลักษณะของพฤติกรรมทางสังคมไว้หลายท่านดังต่อไปนี้ อิงลิช และ อิงลิช (ขจิตพรรณ ทองคา. 2536 : 12 ; อ้างอิงจาก English ;& English. 1958. A Comprehensive Dictionary of Psychological and Psychoanalytical Terms. p. 506) ได้ให้ ความหมายของพฤติกรรมทางสังคมว่า พฤติกรรมทางสังคม หมายถึง พฤติกรรมที่แสดงออกเนื่องจากได้รับอิทธิพล จากพฤติกรรมของบุคคลหรือองค์กรทางสังคม อาทิ ครอบครัว โรงเรียน กู๊ด (จิตรา ชนะกุล 2539 : 12 ; อ้างอิงจาก Good. 1973. Dictionary of Education. p. 44) ได้ให้ความหมายของพฤติกรรมทางสังคมว่า เป็นการแสดงออกที่แตกต่างกันไปใน แต่ละบุคคล ซึ่งเป็นสมาชิกของสังคม หรือเป็นการแสดงออกของกลุ่มบุคคล เพจ โทมัส และ มาร์แชล (บุศรินทร์ สิริปัญญาธร. 2541 : 11 ; อ้างอิงจาก Page, Thomas ;& Marshall. 1977. International Dictionary of Education. p. 314) ได้ให้ความหมายของ พฤติกรรมทางสังคมไว้ว่า พฤติกรรมทางสังคม หมายถึง พฤติกรรมที่บุคคลแสดงออกอย่างต่อเนื่องจากการได้รับ อิทธิพลจากพฤติกรรมกลุ่มบุคคล ที่ได้รับการควบคุมโดยองค์กรทางสังคม หรือเป็นพฤติกรรมที่แสดงออกเพื่อ พยายามมีอิทธิพลเหนือบุคคลอื่น ชไมมน ศรีสุรักษ์ (2540 : 13) ได้สรุปความหมายของพฤติกรรมทางสังคมว่า หมายถึง พฤติกรรม แสดงออกของบุคคลในสังคมซึ่งได้รับอิทธิพลจากกลุ่มบุคคลหรือองค์กรทางสังคม เฮอรลอค (สุดาพร วิชิตชัยชาคร. 2551: 23 ; อ้างอิงจาก Hurlock. 1987: 228) ได้ให้ ความหมายของพัฒนาการทางสังคมว่า เป็นการพัฒนาความสามารถในการแสดงพฤติกรรมให้ตรงกับ แบบแผนที่สังคมยอมรับเพื่อให้สามารถเข้ากับสังคมได้ จากการให้ความหมายของนักการศึกษาตามที่ได้กล่าวมา สามารถสรุปได้ว่า พฤติกรรมทางสังคม หมายถึง ความสามารถในการแสดงออกของพฤติกรรม จากการได้รับอิทธิพลจากพฤติกรรมกลุ่มบุคคล ที่ได้รับ การควบคุมโดยองค์กรทางสังคม หรือเป็นพฤติกรรมที่แสดงออกเพื่อพยายามมีอิทธิพลเหนือบุคคลอื่น งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 1. งานวิจัยในประเทศ ณัฐนันท์ ไชยประสงค์สุข (2549:61-62) ได้ศึกษาผลของการเล่นแบบไทยที่มีต่อความสามารถด้านมิติ สัมพันธ์ของเด็กปฐมวัย กับนักเรียนที่มีอายุ 5- 6 ปี จานวน 20 คน ที่กาลังเรียนในชั้นอนุบาลปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2549 ใช้เวลาในการทดลอง 8 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 4 วัน จานวน 32 ครั้ง ผลการศึกษาพบว่า 1. เด็กปฐมวัยที่ได้รับการเล่นแบบไทยมีทักษะความสัมพันธ์โดยรวมสูงขึ้นอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2. เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์การเล่นแบบไทย มีทักษะความสามารถทางมิติสัมพันธ์ด้านการ จาแนกความเหมือน ด้านความแตกต่างของวัตถุสิ่งของ ด้านการบอกความสัมพันธ์ของวัตถุกับทิศทาง และด้าน
  • 20. ความสามารถในการสังเกต และค้นหาวัตถุอย่างมีทิศทางสูงขึ้นอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ส่วนด้านการ บอกลักษณะร่วมของวัตถุสิ่งของ และด้านการบอกตาแหน่งของวัตถุที่สัมพันธ์กับตาแหน่งของตนเองสูงขึ้นกว่าก่อน การทดลองอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติ สุภาภรณ์ สงนวน (2551 : 87) ได้เปรียบเทียบทักษะทางสังคมของเด็กปฐมวัยระหว่าง การจัดกิจกรรมการละเล่นพื้นบ้านกับการจัดกิจกรรมการละเล่นปกติ ของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2 ปีการศึกษา 2550 จากการศึกษาพบว่าจากการเปรียบเทียบทักษะทางสังคมของเด็กปฐมวัยระหว่าง การจัดบรรยากาศการเรียนรู้ที่ได้รับการพัฒนาโดยใช้จัดกิจกรรมการละเล่นพื้นบ้านแบบปกติในระดับชั้นอนุบาลปี ที่ 2 ปี สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาศรีสะเกษ เขต 4 สรุปผลไดดังนี้ 1. เด็กปฐมวัยการจัดกิจกรรมการละเล่นพื้นบ้านมีทักษะทางสังคมหลังจากจัดกิจกรรมสูงขึ้น อยู่ ในระดับดี 2. เด็กปฐมวัยหลังการจัดกิจกรรมการละเล่นพื้นบ้าน มีคะแนนเฉลี่ยทักษะทางสังคมมากกว่าก่อนการจัด กิจกรรมการละเล่นพื้นบ้าน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการละเล่นพื้นบ้าน มีคะแนนเฉลี่ยทักษะทางสังคมสูงกว่าเด็กปฐมวัย ที่ได้รับการจัดกิจกรรมตามปกติ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 สุดาพร วิชิตชัยสาคร (2551 : 89-90) ศึกษาผลการจัดประสบการณ์แบบโครงการ ที่มีต่อ พัฒนาการของพฤติกรรมด้านสังคมของเด็กปฐมวัยและเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษในห้องเรียนร่วม ผลการวิจัยสรุปว่าเด็กปฐมวัยปกติและเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษในห้องเรียนร่วมหลังจากได้รับการจัด ประสบการณ์แบบโครงการ มีพฤติกรรมด้านสังคมโดยรวมและรายด้าน ได้แก่ ด้านการช่วยเหลือ ด้านการยอมรับ และด้านการแบ่งปัน สูงขึ้นอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ดังนี้ ผลการวิเคราะห์คะแนนเด็กปฐมวัยปกติและเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษในห้องเรียนร่วมหลังจาก ได้รับการจัดประสบการณ์แบบโครงการ พฤติกรรมด้านสังคมทั้ง 3 พฤติกรรมคือการช่วยเหลือ การยอมรับ และการแบ่งปัน ของเด็กปฐมวัยปกติและเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษในห้องเรียนร่วม ก่อนที่ได้รับการจัดประสบการณ์แบบโครงการ มีคะแนนเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 1.45 - 1.58 ซึ่งอยู่ในระดับไม่ เหมาะสมทุกพฤติกรรม และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐานของพฤติกรรมด้านสังคมทั้ง 3 พฤติกรรม มีค่าอยู่ระหว่าง 0.67 - 0.98 ระหว่างการจัดประสบการณ์แบบโครงการ ทั้ง 3 ด้าน พบว่ามีคะแนนเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 3.66 -5.09 ซึ่งอยู่ ในระดับค่อนข้างเหมาะสมทุกพฤติกรรม และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐานของพฤติกรรมด้านสังคมทั้ง 3 พฤติกรรม มีค่าอยู่ระหว่าง 0.42 -0.59 เมื่อพิจารณาหลังการจัดประสบการณ์แบบโครงการ ทั้ง 3 ด้าน พบว่ามีคะแนนเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 6.28 - 8.00 ซึ่งอยู่ในระดับเหมาะสมทุกพฤติกรรม และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐานของพฤติกรรมด้านสังคมทั้ง 3 ด้าน มี ค่าอยู่ระหว่าง 0.97 -1.20 ซึ่งได้มาจากการสังเกตการเปลี่ยนแปลงเด็กปฐมวัยปกติและเด็กปฐมวัยที่มีความ ต้องการพิเศษในห้องเรียนร่วมที่ได้รับการจัดประสบการณ์แบบโครงการ ก่อนการทดลอง ระหว่างการทดลองและ หลังการทดลอง ทิติลดา พิไลกุล (2551 : 63) ศึกษาและเปรียบเทียบคะแนนพฤติกรรมทางสังคมของเด็กปฐมวัย ใช้เวลาทดลอง 8 สัปดาห์ ผลการวิจัยพบว่า 1. เด็กปฐมวัยที่ได้รับการเรียนรู้แบบนักวิจัย พบว่าในแต่ละช่วงสัปดาห์ มีสัปดาห์ ที่มีพฤติกรรมทางสังคมโดยรวมก่อนการทดลองและช่วงการทดลองการจัดการเรียนรู้แบบนักวิจัย มีระดับคะแนน พฤติกรรมทางสังคมของเด็กปฐมวัยแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ P < .05 ทั้งโดยรวม ( F=914.54) และเมื่อวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลง โดยการจัดการเรียนรู้แบบนักวิจัยพฤติกรรมทางสังคมโดยรวม ร้อยละ 98
  • 21. 2. เด็กปฐมวัยที่ได้รับการเรียนรู้แบบนักวิจัยมีพฤติกรรมทางสังคมแยกเป็นรายด้าน คือ ด้านการช่วยเหลือ การแบ่งปัน การร่วมมือ พบว่าคะแนนพฤติกรรมทางสังคมทั้ง 3 ด้าน มีการเปลี่ยนแปลงใน ลักษณะที่สอดคล้องกับการวิเคราะห์คะแนนรวมทั้งหมด โดยมีการเปลี่ยนแปลงก่อนการทดลองและช่วงการ ทดลองการเรียนรู้แบบนักวิจัย มีระดับคะแนนพฤติกรรมทางสังคมของเด็กปฐมวัยแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทาง สถิติที่ระดับ ระดับ P < .05 ด้านการช่วยเหลือ (F=139.60) ด้านการแบ่งปัน (F=171.40) ด้านการร่วมมือ (F=127.05) โดยการเรียนรู้แบบนักวิจัยส่งผลต่อพฤติกรรมทางสังคม ด้านการช่วยเหลือ ร้อยละ 88 ด้านการ แบ่งปันร้อยละ 90 ด้านการร่วมมือร้อยละ 87 ตามลาดับ อริสา โสคาภา (2551 : 65) ศึกษาการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางสังคมของเด็กปฐมวัยที่ได้รับ การจัดกิจกรรมการเล่านิทานอีสปประกอบการใช้สถานการณ์จาลอง ผลการศึกษา พบว่า 1. เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเล่านิทานอีสปประกอบการใช้สถานการณ์ จาลอง ในแต่ละช่วงสัปดาห์ก่อนและหลังการทดลองมีคะแนนพฤติกรรมทางสังคม โดยรวมเท่ากับ 0.09 และ 0.75 คะแนนด้านความร่วมมือ เฉลี่ยเท่ากับ 1.30 และ 0.52 คะแนนด้านการช่วยเหลือ เฉลี่ยเท่ากับ 0.66 และ 0.41 คะแนนด้านการแบ่งปัน เฉลี่ยเท่ากับ 1.12 และ 0.25 ตามลาดับ 2. เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกิจกรรมการเล่านิทานอีสปประกอบการใช้สถานการณ์จาลอง มีพฤติกรรมทางสังคมรายด้าน มีค่าเฉลี่ยเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ P <.01 โดยด้านความร่วมมือ การช่วยเหลือ ด้านการแบ่งปัน มีค่าเฉลี่ยสูงขึ้นเท่ากับ 3.38 3.48 และ 3.71 แสดงว่าการจัดกิจกรรมการเล่านิทาน อีสปประกอบการใช้สถานการณ์จาลอง ส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยมีพฤติกรรมทางสังคมสูงขึ้นอย่างชัดเจน อัจจิมา ศิริพิบูลยผล. (2552 : 74) ศึกษาทักษะทางสังคมของเด็กปฐมวัยออทิสติก ที่ไดรับการจัด กิจกรรมการเลนแบบรวมมือ และเพื่อเปรียบเทียบทักษะทางสังคมของเด็กปฐมวัย ออทิสติกก่อนและหลังได้รับ การจัดกิจกรรมการเลนแบบรวมมือ พบว่าเด็กปฐมวัยออทิสติกที่ไดรับการจัดกิจกรรมการเลนแบบรวมมือมีทักษะ ทางสังคมสูงกว่าก่อนได้รับการจัดกิจกรรมการเลนแบบรวมมือ อยางมีนัยสาคัญที่ระดับ .01 ทั้งโดยรวมและราย ด้าน ได้แก่ด้านการมีส่วนร่วมในการทากิจกรรม ด้านการแบ่งปัน และด้านการปฏิบัติตามข้อตกลงกลุ่ม และพบว่า ทักษะทางสังคมด้านการมีส่วนร่วมมีการเปลี่ยนแปลงดีขึ้นมากเป็นอันดับแรก รองลงมาคือการปฏิบัติตามข้อตกลง และอันดับสุดท้ายคือด้านการแบ่งปัน 2. งานวิจัยต่างประเทศ เวบสเทอร์ และรีด (Webster; & Reid. 2004 : 96 – 113) กล่าวว่า ความสามารถของเด็กปฐมวัยใน การจัดการกับอารมณ์และสร้างสัมพันธภาพเป็นพื้นฐานที่สาคัญของความสาเร็จในการอ่านและการเรียนชั้นที่ สูงขึ้น เด็กที่มีความสามารถทางสังคมดีจะสามารถทานายความสาเร็จในการเรียนได้ดีกว่าเด็กที่มีความสามารถทาง สังคมต่า สาหรับหลักสูตรการพัฒนาทักษะสังคมและการแก้ไขปัญหาในเด็กที่ได้ศึกษานี้เป็นโปรแกรมที่ช่วยสอน ทักษะต่าง ๆ เช่น การควบคุมอารมณ์ในชั้นเรียนการสื่อสารแบบเห็นใจ สัมพันธภาพและทักษะการสื่อสาร การ จัดการอารมณ์โกรธ การแก้ไขปัญหาสัมพันธภาพระหว่างบุคคล และวิธีการประสบความสาเร็จในชั้นเรียน กลุ่ม ตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ เด็กปฐมวัยที่ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่า มีความบกพร่องทางพฤติกรรม เรื่อง การ ต่อต้านสังคมและก้าวร้าว ปัจจุบันหลักสูตรนี้อยู่ในระหว่างการปรับปรุงเพื่อประยุกต์ใช้ในเด็กปฐมวัยและเด็กวัย เรียนเพื่อเพิ่มทักษะต่าง ๆ เช่น สังคม อารมณ์ และความสามารถการเรียนในชั้นเรียน และเพื่อลดปัญหาพฤติกรรม ของเด็กในชั้นเรียน มากาเรทต์ (Margharet. 2008 : 957) ได้ศึกษาพฤติกรรมสังคม และอารมณ์ของเด็กปฐมวัย พบว่า เด็กที่มีปัญหาพฤติกรรมดังกล่าวตั้งแต่ช่วงวัย 12 – 36 เดือน มีความเสี่ยงที่จะมีปัญหาพฤติกรรมสังคม – อารมณ์ในวัยประถมศึกษาหรือวัยเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ศึกษา จานวน 1,004 คน ซึ่งอยู่ในช่วง 12 – 36 เดือน
  • 22. โดยผู้ปกครองจะเป็นผู้ประเมินแบบสอบถาม “The Brief infant-Toddler Social and Emotional Assessment” ข้อคาถามมีเนื้อหาเกี่ยวกับความวิตกกังวลของพัฒนาการทางสังคมและอารมณ์ที่ผู้ปกครองมีต่อ เด็ก หลังจากนั้นเมื่อเด็กอยู่ในช่วงต้นของวัยเรียน และผู้ปกครองจะประเมินอีกครั้ง (ช่วงอายุเฉลี่ย 6 ปี, SD= 0.4 ปี) โดยแบบประเมิน “The Child Behavior Checklist” ส่วนครูก็จะประเมินโดยใช้ “The Teacher Report Form Regarding behavioral problem” จากผลการประเมินผู้ปกครองที่รายงานถึงพยาธิสภาพ ของพฤติกรรมเด็กวัยเรียนจากกลุ่มตัวอย่าง จานวน 389 คน พิจารณาในรายละเอียดพบว่า ผู้ปกครองที่รายงานถึง ความวิตกกังวลของพฤติกรรมเด็กเล็กมีนัยสาคัญทางสถิติกับพยาธิสภาพทางจิตหรือพฤติกรรมในวัยเข้าเรียน เช่นเดียวกับครูที่ประเมินว่าเด็กมีปัญหาทางคลินิก แสดงถึงความวิตกกังวลของผู้ปกคอรงที่มีต่อพฤติกรรมสังคม อารมณ์เด็กเล็ก สามารถทานายพฤติกรรมที่เป็นปัญหาทางสังคมอารมณ์ในวัยเรียนได้ และการประเมินอย่างเป็น มาตรฐานในเด็กปฐมวัยเป็นสิ่งสาคัญที่จะระบุลักษณะเด่นที่มีผลหรือมีความสัมพันธ์กับปัญหาพฤติกรรมสังคม และอารมณ์ของเด็กในวัยเรียน บาร์ตัน และแอสเชียน (อัจจิมา ศิริพิบูลย์ผล. 2552 : 55; อ้างอิงจาก Barton; & Ascion. p.417 - 430) ได้ฝึกการร่วมมือทางกายและการร่วมมือทางวาจาแก่เด็กเล็กอายุ 3 -3 ½ ปี ในการเล่นร่วมกัน โดยแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ฝึกการร่วมมือโดยแสดงพฤติกรรมทางกาย เช่น ส่งของให้เพื่อน กลุ่มที่ 2 ฝึก การร่วมมือโดยแสดงพฤติกรรมทางวาจา เช่น การพูดแสดงความคิดเห็น ต่อเพื่อน กลุ่มที่ 3 ฝึกให้มีพฤติกรรมทั้ง สองอย่างร่วมกัน โดยผู้ทดลองใช้วิธีการหลายอย่างร่วมกัน เช่น ให้คาแนะนา ให้ดูตัวแบบ บอกให้ทา และให้การ ชมเชย ผลการศึกษาพบว่าเด็กมีพฤติกรรมที่ต้องการเพิ่มขึ้น จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยในประเทศและต่างประเทศ สรุปได้ว่า การจัดกิจกรรมตามโครงการหนู น้อยอาเซียน ส่งผลให้ผู้เรียนมีพฤติกรรมทางสังคม เรื่องการปฏิบัติตามข้อตกลงของกลุ่ม การเข้าแถวรอคอย ตามลาดับก่อนหลัง การเล่นหรือทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม การช่วยเหลือเพื่อนในการทางาน/เล่นร่วมกัน และการ ร่วมทากิจกรรมกับเพื่อนอย่างสนุกสนาน สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดี ของสังคม ซึ่งเป็นพื้นฐานในการปรับตัวเข้าสู่สังคมในวัยผู้ใหญ่ต่อไป