SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
คานา
หลักการออกเเบบเว็บไซต์ เป็นหนังสือที่จัดทําขึ้น เพื่อให้ศึกษาหลักการ ทฤษฎี
ต่างๆ เกี่ยวกับการออกแบบเว็บไซต์ได้เป็นอย่างดี และเมื่ออ่านหนังสือเล่มนี้แล้ว
สามารถออกแบบเว็บไซต์ให้สวยงานได้
หนังสือเล่มนี้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับ แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสื่อสาร
การประชาสัมพันธ์ของเว็บไซต์ ความหมายของเว็บไซต์ การออกแบบและการ
พัฒนาเว็บไซต์ ขั้นตอนการพัฒนาเว็บไซต์ ส่วนประกอบของหน้าเว็บไซต์ โดย
ผู้จัดทําได้เรียบเรียงเป็นลําดับดับขั้นตอน ซึ่งง่ายต่อการศึกษา การเข้าใจ และ
การจดจําเป็นอย่างดี
ผู้จัดทําได้หวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือหลักการออกเเบบเว็บไซต์ นี้จะเป็น
ประโยชน์ต่อผู้เรียน ผู้สอน สําหรับนําไปใช้ ในการเรียนรู้และศึกษาด้วยตนเอง
ขอขอบคุณผู้เจ้าของข้อมูลทั้งด้านหนังสือคู่มือ และเว็บไซท์ที่มีส่วนช่วย ในการ
จัดทําทุกท่านมา ณ โอกาสนี้
ผู้จัดทํา
30 กรกฎาคม 2556
สารบัญ
เรื่อง หน้า
บทที่ 1 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสื่อสาร
แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสื่อสารของแมคครอสกี้และรี
ชมอน
1
แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสื่อสารในแงของจิตวิทยา 1
แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสื่อสารในของ วิจิตร อาวะกุล 1
แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสื่อสารในของ สุรสิทธิ์ วิทยารัฐ 3
บทที่ 2 ทฤษฎีการประชาสัมพันธ์ 5
นิยามและคําจํากัดความต่าง ๆ ของการประชาสัมพันธ์ 5
บทที่ 3 เว็บไซต์ 7
ความหมายของเว็บไซต์ 7
บทที่ 4 การออกแบบและการพัฒนาเว็บไซต์ 10
การกําหนดขอบเขต 10
กําหนดเป้าหมาย 10
กําหนดโครงสรางขอมูล 11
กําหนดการสืบทอดขอมูล 11
สรางไซตแม็ป 12
แบงเฟรมพื้นที่การแสดงผล 12
สรางเว็บเพจแตละหนาตามที่ออกแบบ 13
ลงทะเบียนขอพื้นที่เว็บไซต 13
อัฟโหลดเว็บไซต 14
สารบัญ
เรื่อง หน้า
บทที่ 5 ขั้นตอนการพัฒนาเว็บไซต์ 15
บททื่ 6 ส่วนประกอบของหน้าเว็บไซต์ 18
ส่วนหัวของเว็บเพ็จ (Page Header) 18
ส่วนของเนื้อหา (Page Body) 19
ส่วนท้ายของหน้า (Page Footer) 19
บทที่ 7 ทฤษฎีสีกับการออกแบบเว็บไซต์ 20
บรรณานุกรม
บทที่ 1
แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสื่อสาร
การสื่อสารนี้เกิดจากแนวความคิดที่วาการสื่อสารเปนกระบวนการ
แลกเปลี่ยนโดยมีสาระสําคัญที่วาผูสื่อสารทําหนาที่ทั้งผูสงและผูรับขาวใน
ขณะเดียวกันไมอาจระบุวาการสื่อสารเริ่มตนและสิ้นสุดที่จุดใด เพราะถือวา การ
สื่อสารมีลักษณะเปนวงกลม และไมมีที่สิ้นสุด ผูรับขาวและผูสงขาวนอกจากจะ
ทําหน้าที่ทั้งการเข้ารหสัและถอดรหัสแล้วยังเป็นผู้กอใหเกิดขาวสารและกาหนด
พฤติกรรม
แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสื่อสารของแมคครอสกี้และรีชมอน
แมคครอสกี้และรีชมอน (McCroskey & Richmon, 1997) ได้กล่าวว่า
การสื่อสารนี้เกิดจากแนวความคิดที่วา การสื่อสารเป็นกระบวนการหรือการ
แลกเปลี่ยนโดยมีสาระสําคัญที่วาผูสื่อสาร ทําหนาที่ทั้งผูสงและผูรับขาวใน
ขณะเดียวกัน ไมอาจระบุว่าการสื่อสารเริ่มตนและสิ้นสุดที่จุดใดเพราะถือวาการ
สื่อสารมีลักษณะเปนวงกลม และไมมีที่สิ้นสุดผูรับขาวและผูสงขาว นอกจากจะ
ทําหนาที่ทั้งการเขารหัสและถอดรหัสแลวยังเปนผูกอใหเกิดข่าวสารและกําหนด
พฤติกรรม
แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสื่อสารในแงของจิตวิทยา
ชองทางการสื่อสารคือความรูสึกที่ผูรับขาวสารสามารถรับรูขาวสารจาก
ผูสงขาวไดหมายความวา เราใหคําจํากัดความของชองทางการสื่อสารในฐานะที่
เป็นกลไกอยางหนึ่งของความรูสึกภาษาที่จะรับรูขาวสารชองทางการสื่อสารจึง
รวมถึงการมองเห็นการไดยินการสัมผัสการไดกลิ่นและการรูรส
โดยสรุป ชองทางการสื่อสารคือวิธีการที่จะติดตอสื่อสารที่จะชวยให้
ข่าวสารไปยังผูรับขาวสารโดยอาศัยชองทางไปสูประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ การ
มองเห็น การสัมผัส การไดยิน การไดกลิ่น การลิ้มรส โดยใชชองทางคือการ
บันทึกขอความ คําสั่ง เปนลายลักษณอักษร การพูด
สามารถแบงประเภทตามวิธีการตาง ๆ ดังนี้คือ การติดตอสื่อสารทาง
ลายลักษณอักษร การติดตอสื่อสารทางวาจาและการติดตอสื่อสารที่เกี่ยวของกับ
เทคโนโลยี
1. การติดตอสื่อสารทางลายลักษณอักษร
2. การติดตอสื่อสารทางวาจา
วิจิตร อาวะกุล (2525)ได้กล่าวถึงการสื่อสารที่มีประสิทธิผลตองมีองค
ประกอบ 7 ประการคือ
1. ความนาเชื่อถือ (Credibility) การสื่อสารจะไดผลนั้นตองมีความ
เชื่อถือของในเรื่องของผูใหขาวสารแหลงขาวเพื่อใหเกิดความมั่นใจหรือเต็มใจ
รับฟงขาวสารนั้น
2. ความเหมาะสม (Context) การสื่อสารที่ดีตองมีความเหมาะสม
กลมกลืนกับวัฒนธรรมของสังคม เครื่องมือสื่อสารนั้นเปนเพียงสิ่งประกอบ แต
ความสําคัญอยูที่ทาทีทาทางภาษาคําพูดที่เหมาะสมกับวัฒนธรรมสังคมหมูชน
หรือสภาพแวดลอมนั้นๆ การยกมือไหวสําหรับสังคมไทยยอมเหมาะสมกวาการ
จับมือหรือการจับมือของฝรั่งยอมเหมาะสมกวาการไหว เปนตน
3. เนื้อหาสาระ (Content) ขาวสารที่ดีจะต้องมีความหมายสําหรับผูรับ
มีสาระ ประโยชนแกกลุมชนหรือมีสิ่งที่เขาจะไดผลประโยชนจึงนาสนใจบางครั้ง
สิ่งที่เปนประโยชน์ต่อกลุมชนกลุมหนึ่งแตอาจจะไมมีสาระสําหรับคนบางกลุม ใน
เรื่องนี้จึงตองใช้การพิจารณากลมชุนเปาหมายดวย
4. บอยและสม่ําเสมอตอเนื่องกัน (Continuity and Consistency)
การสื่อขาวสารจะไดผลตองสง บอย ๆ ติดตอกันหรือมีการย้าย เพื่อเตือนความ
ทรงจําหรือเปลี่ยนทัศนคติและมีความสม่ําเสมอเสมอตนเสมอปลาย มิใชสงข
าวสารชนิดขาด ๆหาย ๆ ไมเที่ยงตรงแน่นอน
5. ชองทางขาวสาร (Channels) ขาวสารจะเผยพรได้จะต้องสงให้ถูกช
องทางของการสื่อสารนั้นๆ โดยมองหาชองทางที่เปดรับขาวสารที่เราจะสงและส
งถูกสายงานสงถึงตัวบุคคลโดยตรงจะรวดเร็วกวาหรือส่ง
บานไดรับเร็วกวาการสงไปใหทํางานเราควรเลือกชองทางที่ไดผลเร็วที่สุด
6. ความสามารถของผูรับขาวสาร (Capability of Audience) การ
สื่อสารที่ถือวาไดผลนั้น ตองใชความพยายามหรือแรงงานนอยที่สดุ การสื่อสาร
จะงายสะดวกก็ขึ้นอยู้กับความสามารถในการรับของผูรับซึ่งขึ้นอยูกับปจจัย
หลายอยาง เชน สถานที่โอกาสอํานวยนความรูพื้นฐานที่จะชวยใหเขาใจเปนตน
7. ความแจมแจงของขาวสาร (Clarity) ขาวสารตองงายใชภาษาที่ผูรับ
เขาใจคือใช้ภาษา ของเขาศัพทที่ยากและสูงไมมีประโยชน์ควรตัดออกใหหมดให
ชัดเจน เขาใจงาย มีความมุงหมายเดียว อยาใหคลุมเครือหรือมีความหมายหลาย
แงหรือตกหลนขอความบางตอนที่สําคัญไป
สุรสิทธิ์ วิทยารัฐ (2549) ไดสรุปไววา การเปลี่ยนแปลงจากผลของ
การสื่อสารอาจกอใหเกิดผล 3 ประการ กลาวคือ การเปลี่ยนแปลงความรู
การเปลี่ยนทัศนคติ และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม โดยการเปลี่ยนแปลง
สามารถแบงไดตามหลักเกณฑความดีและไมดีของผลที่เกิดขึ้นซึ่งเปนการพิ
จารณาวาผลของการสื่อสารในครั้งนั้นๆ กอใหเกิดผลดีตอบุคคลหรือเปนผลที่ทํา
ใหผูสงสารบรรลุวัตถุประสงคตามที่ตั้งใจหรือไมทั้งนี้ สามารถแบงไดเปน 2
ประเภท คือ ประเภทแรกคือผลทางบวก (Positive Effect)
ซึ่งเปนผลของการสื่อสารที่บรรลุวัตถุประสงคของผูสงสารที่ตั้งไวและก
อใหเกิดผลดีตอบุคคลประเภทที่สองคือผลทางลบ(Negative Effect) เปนผลของ
การสื่อสารที่ไมบรรลุวัตถุประสงคที่ผูสงสารไดคาดหมายไวอีกทั้งยังกอใหเกิดผล
ไมดีตออตัวบุคคลอีกดวยเมื่อผลของการสื่อสารเกิดในทางบวกหรือลบก็ตามสิ่งที่
เกิดขึ้นตอมาแกผูรับสารก็คือความพึงพอใจของสื่อสาร
บทที่ 2
การประชาสัมพันธ์
การประชาสัมพันธ์ เป็นคําที่นักวิชาการหรือผู้เชี่ยวชาญทางด้านวิชานี้
ซึ่งมีทั้งนักวิชาการ (theorists) และนักปฏิบัติการ (Practitioners) ได้ให้คํานิยาม
หรือคําจํากัดความไว้มากมายพอสมควร มีทั้งนิยามที่เน้นไปทางด้านทฤษฎีหรือ
หลักการ และนิยามที่เน้นหนักไปทางด้านการกระทําหรือปฏิบัติการ จนบางครั้ง
ทําให้ผู้ศึกษามีความรู้สึกหลายกับว่าการประชาสัมพันธ์ เป็น “นิยามที่ไม่รู้จบ”
(Interminable definitions) หรือเป็นนิยามที่ไม่มีที่สิ้นสุด (endless) หรือ
หมายความว่าการประชาสัมพันธ์มีนิยามหรือ คําจํากัดความที่ค่อนข้างกว้างขวาง
มาก และครอบคลุมไปถึงหลายสิ่งหลายอย่าง รวมทั้งมีมากมายหลายนิยาม
ด้วยกัน นักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญทางด้านวิชาการประชาสัมพันธ์ ได้ให้
อรรถาธิบาย คําว่าการประชาสัมพันธ์ไว้อย่างกว้างขวางหลายทัศนะหลายแง่มุม
และไพศาลของขอบเขตที่การประชาสัมพันธ์แผ่คลุมไปถึง
นิยามและคาจากัดความต่าง ๆ ของการ
ประชาสัมพันธ์ มีดังนี้
1.สมาคมการประชาสัมพันธ์
ระหว่างประเทศ (IPRA) ได้ให้ความหมาย
ของการประชาสัมพันธ์ว่าการประชาสัมพันธ์
คือภาระหน้าที่ของฝ่ายบริหารหรือฝ่ายจัดการ (management function) ซึ่ง
ต้องอาศัยการวางแผนงานที่ดี และมีการกระทําอย่างต่อเนื่องสม่ําเสมอ เพื่อ
สร้างสรรค์และธํารงรักษาไว้ซึ่งความเข้าใจดี มีความเห็นอกเห็นใจ (sympathy)
และได้รับการสนับสนุนร่วมมือจากกลุ่มประชาชนที่องค์การสถาบัน เพื่อให้
สอดคล้องกับประชามติหรือความต้องการของประชาชน พร้อมทั้งใช้วิธีการ
เผยแพร่กระจายข่าวสารสู่ประชาชน เพื่อให้เกิดความร่วมมือและบรรลุถึง
ผลประโยชน์ร่วมกันของทั้งสองฝ่าย คือ องค์การและกลุ่มประชาชนที่เกี่ยวข้อง
2. สมาคมการประชาสัมพันธ์แห่ง
สหรัฐอเมริกา (PRSA) ได้ให้คําจํากัดความ
ของการประชาสัมพันธ์ไว้ว่า การ
ประชาสัมพันธ์เป็นอาชีพที่ให้บริการ
ผลประโยชน์อย่างถูกต้องตามกฎหมายแก่
บรรดาลูกจ้างและผู้ว่าจ้าง อาชีพการ
ประชาสัมพันธ์จึงมีวัตถุประสงค์พื้นฐานอยู่
ที่ความเข้าใจร่วมกัน และความร่วมมือ
ระหว่างกลุ่มต่าง ๆ ของสถาบันสังคม
จะเห็นได้ว่า นิยามความหมาย
ข้างบนนี้ เป็นนิยามความหมายหรือคําจํากัดความของสถาบันและสมาคมวิชาชีพ
(Professional Society) ทางด้านการประชาสัมพันธ์ ซึ่งทําหน้าที่เกี่ยวข้องและ
รับผิดชอบโดยตรงกับงานประชาสัมพันธ์ มีหน้าที่ในการควบคุมมาตรฐานแห่ง
วิชาชีพนี้ รวมทั้งการให้การศึกษาความรู้และฝึกฝนอบรม (Training) ด้านวิชาชีพ
การประชาสัมพันธ์ให้แก่บรรดานักประชาสัมพันธ์และผู้ประกอบวิชาชีพทางด้าน
นี้โดยเฉพาะ
บทที่ 3
เว็บไซต์
ความหมายของเว็บไซต์
เวิลด์ไวด์เว็บ นิยมเรียกสั้นๆ ว่าเว็บ หรือ WWW ถือเป็นส่วนที่น่าสนใจ
ที่สุดบนอินเทอร์เน็ตเพราะสามารถแสดงสารสนเทศต่างๆ ได้หลากหลาย เช่น
นิตยสารหรือหนังสือพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ข้อมูลด้านดนตรี กีฬา การศึกษา ซึ่ง
สามารถนําเสนอได้ทั้งภาพ เสียง รวมถึงภาพเคลื่อนไหว เช่นแฟ้มภาพวีดิทัศน์
หรือตัวอย่าง ภาพยนตร์ และการสืบค้นสารสนเทศในเวิลด์ไวด์เว็บนั้นจําเป็นต้อง
อาศัยโปรแกรมค้นดูเว็บ ในการเข้าถึงแหล่งข้อมูล โดยที่เว็บกับโปรแกรมค้นผ่าน
จะทําหน้าที่รวบรวมและกระจายเอกสารที่เครือข่าย
ที่ทําไว้
เกตส์ (Gates, 1995) ได้กล่าวถึงเว็บไว้ว่า นอกเหนือจากการส่งจดหมาย
อิเล็กทรอนิกส์และการแลกเปลี่ยนเอกสารกันแล้ว อินเทอร์เน็ตยังสนับสนุน
สืบค้นข้อมูล อันเป็นโปรแกรมการใช้งานที่ได้รับความนิยมมากที่สุดแบบหนึ่งนั่น
คือเวิลด์ไวด์เว็บ ซึ่งหมายถึงเครื่องบริการเว็บที่ต่อเชื่อมเข้ากับอินเทอร์เน็ตโดยมี
ข่าวสารเป็นภาพกราฟิก เมื่อเชื่อมต่อเข้ากับเครื่องบริการเว็บประเภทนั้น
จอภาพจะปรากฏข่าวสารพร้อมด้วยการเชื่อมโยง เมื่อเลื่อนเมาส์ไปคลิกที่จุด
เชื่อมโยงใดๆ ก็จะเป็นการเปิดไปสู่อีกหน้าหนึ่งที่มีข่าวสารเพิ่มเติม
พร้อมทั้งการเชื่อมโยงจุดใหม่อื่นๆ ซึ่งข่าวสารหน้าใหม่นี้อาจจะอยู่ในเครื่อง
บริการเว็บเดียวกันหรืออาจเป็นเครื่องบริการเว็บอื่นๆ ในอินเทอร์เน็ต
ดานันท์ มลิทอง(2540) ได้กล่าวถึงเวิลด์ไวด์เว็บว่า เป็นบริการสืบค้น
สารสนเทศที่อยู่ในอินเทอร์เน็ต ในระบบข้อความหลายมิติ โดยคลิกที่จุดเชื่อมโยง
เพื่อเสนอหน้าเอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องสารสนเทศที่นําเสนอจะมีรูปแบบทั้งใน
ลักษณะของตัวอักษร ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง การเข้าสู่ระบบ
เว็บจะต้องใช้โปรแกรมทํางานซึ่งโปรแกรมที่นิยมใช้กันในปัจจุบัน
เว็บไซต์ (Web site)
ปิยวิท เจนกิจจาไพบูลย์ (2540) ได้กล่าวว่า เว็บไซต์ ถูกเรียกเป็น
ตําแหน่งที่อยู่ของผู้ที่มีเว็บเพจเป็นของตัวเองบนระบบอินเทอร์เน็ต ซึ่งได้จากการ
ลงทะเบียนกับผู้ให้บริการเช่าพื้นที่บนระบบอินเทอร์เน็ตเมื่อลงทะเบียนในชื่อที่
ต้องการแล้ว ก็สามารถจัดทําเว็บเพจและส่งให้ศูนย์บริการนําขึ้นไปไว้บน
อินเทอร์เน็ต ซึ่งถือว่ามีเว็บไซต์เป็นของตนเองแล้วทั้งนี้เนื่องจากเราสามารถ
เปลี่ยนแปลงสารสนเทศบนเว็บไซต์ได้ตลอดเวลา และแต่ละเว็บเพจจะมีการ
เชื่อมโยงกันภายในเว็บไซต์หรือไปยังเว็บไซต์อื่นๆ เพื่อให้ผู้อ่านสามารถอ่านได้ใน
เวลาอันรวดเร็ว
นิรุธ อํานวยศิลป์ (2542) กล่าวถึงเว็บไซต์ว่า เป็นชื่อเรียก Host หรือ
Server ที่ได้จดทะเบียนอยู่ในเวิลด์ไวด์เว็บ ซึ่งก็คือชื่อชื่อ Host ที่ถูกกําหนดให้มี
ชื่อในเวิลด์ไวด์เว็บ และขึ้นต้นด้วย http และมีโดเมนหรือนามสกุลเป็น .com,
.net, .org หรืออื่นๆ
แมทธิว ( Matthews, 1997) ได้ให้ความหมายของเว็บเพจว่า เป็น
แฟ้มข้อความที่อยู่ในรูปของ HTML ซึ่งสามารถเชื่อมโยงไปสู่แฟ้มข้อมูลและเว็บ
เพจอื่นๆ โดยที่แฟ้มข้อมูลจะถูกเก็บไว้ในเครื่องบริการเว็บ )web server) และ
สามารถที่เข้าถึงแฟ้มข้อมูลได้ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์อื่นๆ ที่เชื่อมโยงกับเครื่อง
บริการเว็บ โดยผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ตหรือระบบแลน
ส่วนอีกความหมายหนึ่งของเว็บเพจ คือ รูปแบบการปฏิสัมพันธ์ของการ
สื่อสารโดยใช้เครือข่ายคอมพิวเตอร์ โดยส่วนประกอบสําคัญของเว็บเพจมีสอง
ส่วน คือ ส่วนที่เป็นปฏิสัมพันธ์ และส่วนที่เป็นสื่อประสมสําหรับส่วนที่เป็นสื่อ
ประสมนั้นจะประกอบไปด้วย ตัวอักษร เสียง ภาพเคลื่อนไหว และแฟ้มวีดิทัศน์
ซึ่งทั้งหมดนี้จะประกอบกันเพื่อนําเสนอเนื้อหา และในส่วนที่เป็นปฏิสัมพันธ์
เนื่องจากผู้ใช้สามารถส่งข้อมูลหรือคําสั่งไปยังเว็บไซต์ที่ถูกควบคุมด้วยบริการเว็บ
อีกทอดหนึ่ง ในแต่ละเว็บเพจจะมีที่อยู่เว็บที่เรียกว่า Uniform Resource
Locator (URL) โดยที่อยู่เว็บ จะปรากฏในช่อง Address ที่ส่วนบนของจอภาพ
โดยที่อยู่เว็บนั้นเปรียบเสมือนทางผ่านบนอินเทอร์เน็ตเพื่อไปยังเว็บเพจที่ต้องการ
เช่นเดียวกับการค้นหาแฟ้มต่างๆ ในคอมพิวเตอร์
บทที่ 4
การออกแบบและการพัฒนาเว็บไซต์
การออกแบบเว็บไซตใหมีประสิทธิภาพและตรงกับความตองการมาก
ที่สุดมีขั้นตอนดังตอไปนี้ (ประเวศน วงษคําชัย และพิรพร หมุนสนิท, 2550 :
60-62)
1. การกาหนดขอบเขต
การพัฒนาเว็บไซตไมไดมีหลักการหรือการกําหนดขอบเขตที่
ตายตัว แตจะขึ้นอยูกับเปาหมายและความตองการในการใชงานเว็บไซตนั้นวาสร
างเพื่ออะไร เชน เพื่อประชาสัมพันธบริษัทหรือเพื่อขายสินคา เปนตน ซึ่งผูพัฒนา
จะตองศึกษาความตองการของผูใชอยางละเอียดกอน เพื่อใชเปนแนวทางในการ
สรางเว็บไซตใหสามารถตอบสนองความตองการของผูใชไดอยางถูกตอง โดย
สามารถจําแนกขั้นตอนการกําหนดขอบเขตที่ผูพัฒนาเว็บไซตสวนใหญยึดถือเป
นหลักการ
2. กาหนดเปาหมาย
การกําหนดเปาหมายหรือวัตถุประสงคจะชวยใหผูพัฒนา
สามารถกําหนดทิศทางการดําเนินงาน งบประมาณ รวมทั้งระยะเวลาไดอยาง
เหมาะสม ซึ่งถือไดวาเปนขั้นตอนที่สําคัญที่สุดของการดําเนินงานทั้งหมด อยางไร
ก็ตามเพื่อใหผลงานตรงตามความตองการของลูกคามากที่สุด จึงควรคํานึงและให
ความสําคัญกับปจจัย ดังนี้
2.1 ความตองการ
2.2 เปาหมาย
2.3 ขอมูลทางเทคนิค
2.4 ความสวยงามของการออกแบบ
3. กาหนดโครงสรางขอมูล
การกําหนดโครงสรางขอมูลภายในเว็บไซตจะชวยใหผูพัฒนาสามารถ
กําหนดลําดับการทํางานตางๆ ภายในเว็บไซตไดงาย และสะดวกยิ่งขึ้น รวมไปถึง
ทําใหลูกคาเห็นโครงสรางของเว็บไซต แนวทางการออกแบบ และรูปแบบของ
การทํางานตางๆ ซึ่งโดยสวนใหญจะเปนงานบนกระดาษกอนที่จะมีการพัฒนา
จริง หลังจากที่ทราบข้อมูลเบื้อต้นแล้วสามารถกําหนดโครงสรางขอมูลและเพจ
เนื้อหาในเว็บไซตได
4. กาหนดการสืบทอดขอมูล
การกําหนดโครงสรางขอมูลเว็บไซตดังกลาวขางตน เพียงอยางเดียวจะ
ยังไมสามารถมองเห็นความสัมพันธของแตละเพจได ซึ่งผูพัฒนาจะตองทําการ
เปลี่ยนโครงสรางขอมูลไปเปนการสืบทอดขอมูล หรือรูปแบบโครงสรางขอมูล
แบบตนไม (Tree Structure) กอน ดวยการแบงเนื้อหาที่ตองการนํามาเสนอบน
เว็บไซตออกเปนกลุมหรือหมวดหมู โดยเริ่มตนกําหนดกลุมหลักกอน จากโครงสร
างขอมูลที่กําหนดไวขางตน
5. สรางไซตแม็ป (Site Map)
การสรางไซตแม็ป (Site Map) เปนการกําหนดโครงสรางการเชื่อมโยงของเพจใน
เว็บไซต เพื่อความสะดวกในการคนหา หรือเปนการนําองคประกอบทั้งหมดใน
เว็บไซตมาจัดลําดับเปนลําดับชั้นที่เกี่ยวของ
6. แบงเฟรมพื้นที่การแสดงผล
การสรางไซตแม็ปขางตนยังไมใชขั้นตอนสุดทายในการวางแผนเพื่อ
พัฒนาเว็บไซตผูพัฒนาจะตองสรางเพจสําหรับแสดงเนื้อหาของแตละสวนดวย
การแบงเฟรม ซึ่งการแบงเฟรมเปนการแบงพื้นที่การ
แสดงเนื้อหาบนเพจมีรูปแบบที่แตกตางกันออกไปตามความตองการของผูพัฒนา
หรือลูกคาในที่นี้จะยกตัวอยางการแบงเฟรมเพจ index.html ของเว็บไซต
บริษัท ณัฐพร จํากัด โดยแบงขอมูลที่ตองการเก็บภายในเพจไดดังนี้
6.1 โลโก (Logo) ของบริษัท ณัฐพร จํากัด
6.2 เมนูหลัก (Menu) หรือการ
เชื่อมโยงหลัก
6.3 เนื้อหาหลัก
6.4 การเชื่อมโยงที่เกี่ยวของ
6.5 การเชื่อมโยงยอย
6.6 โฆษณาตางๆที่ตองการแสดง
บนเพจ
6.7 ขอมูลลิขสิทธ
7. สรางเว็บเพจแตละหนาตามที่ออกแบบ
หลังจากที่ไดออกแบบเว็บเพจแตละหนาเรียบรอยแลว ขั้นตอนนี้จะเป
นการสรางหนาเว็บเพจตามที่ไดออกแบบไวดังกลาวขางตน ดวยภาษาหรือ
เครื่องมือตางๆ ตามที่ผูพัฒนาเว็บไซตตองการ เชน HTML,
PHP, ASP หรือโปรแกรม Dreamweaver เปนตน
8. ลงทะเบียนขอพื้นที่เว็บไซต
เมื่อสิ้นสุดขั้นตอนการพัฒนาเว็บไซตทั้งหมดเรียบรอยแลว ขั้นตอนตอไป
คือ การนําเว็บไซตนั้นไปเผยแพรบนเครือขายอินเทอรเน็ต เพื่อใหผูคนสามารถเข
ามาชมเว็บไซตได โดยการนําขึ้นไปเก็บไวที่เว็บเซิรฟเวอรองคกร หรือขอพื้นที่เว็บ
ไซตกับผูใหบริการเว็บโอสติ้ง (Web Hosting) ซึ่งมีทั้งฟรีและเสียคาใชจาย
(ประชา พฤกษประเสริฐ, 2550 : 11)
9. อัฟโหลดเว็บไซต
เมื่อพัฒนาเว็บไซตเสร็จสมบูรณ และมีพื้นที่สําหรับเก็บเว็บไซตที่ตอง
การนําไปเผยแพรสูอินเทอรเน็ตเรียบรอยแลว ขั้นตอนสุดทายคือการอัฟโหลด
ไฟลเว็บไซตทั้งหมดขึ้นไปเก็บไวในพื้นที่ที่ไดจัดเตรียมไวดวยโปรแกรม FTP หรือ
เครื่องมือที่ผูใหบริการไดจัดเตรียมไวใหการสรางเว็บไซตที่ดีนั้น ตองอาศัย
หลักการออกแบบและการจัดระบบขอมูลอยางเหมาะสม เพื่อใหเว็บไซตที่สราง
ขึ้นมีความนาสนใจ และสรางความประทับใจใหกับผูใชบริการ ทําใหอยากกลับเข
ามาใชอีกใน
ซึ่งการออกแบบเว็บไซตที่ดีนั้นนอกจากจะสรางความประทับใจใหกับผู
ใชบริการแลวยังทําใหไดเปรียบ
เหนือเว็บไซตของคูแขง หรือที่กําลังจะเกิดขึ้นในอนาคตได โดยการ
ออกแบบเว็บไซตที่ดีนั้นไมไดหมายถึงเฉพาะการออกแบบหนาตาของเว็บไซต
เพียงอยางเดียวเทานั้น แตจะเกี่ยวของตั้งแตการเริ่มตนกําหนดเปาหมายของเว็บ
ไซต ระบุกลุม ผูใช การจัดระบบขอมูล การสรางระบบเนวิเกชัน การออกแบบ
หนาเว็บ รวมไปถึงการใชกราฟก การเลือกใชสี และรูปแบบตัวอักษรที่เหมาะสม
บทที่ 5
ขั้นตอนการพัฒนาเว็บไซต์
ดวงพร เกี๋ยงคํา (2549: 27) กล่าวถึงกระบวนการพัฒนาเว็บไซต์ไว้เป็น
ขั้นตอนดังนี้
การออกแบบเว็บไซต์ที่ดี คือ การออกแบบให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย
และลักษณะของเว็บไซต์ โดยคํานึงถึงความสะดวกในการใช้งานของผู้ใช้เป็นหลัก
เว็บไซต์ที่ออกแบบอย่างมีประสิทธิภาพ ควรมีความเรียบง่าย มีความสม่ําเสมอ
สะท้อนเอกลักษณ์และลักษณะขององค์กรนั้นได้ มีเนื้อหาที่มีประโยชน์ มีระบบ
Navigation ที่ใช้งานง่าย มีลักษณะที่น่าสนใจและดึงดูด มีโลโก้และชื่อเว็บไซต์
ทุกหน้า เข้าถึงข้อมูลได้โดยไม่ต้องเข้าเมนูที่ซับซ้อน สามารถเข้าถึงข้อมูลให้ได้
มากที่สุดโดยไม่ต้องบังคับให้ผู้ใช้ต้องติดตั้งโปรแกรมเพิ่มเติม หรือเลือกใช้
บราวเซอร์ชนิดใดชนิดหนึ่ง สามารถแสดงผลในหน้าจอที่มีความละเอียดต่างๆกัน
ได้ มีคุณภาพในการออกแบบ เลี่ยงลาย background ที่ลายตา เลือกสี
background และสี font ให้เหมาะสม ขนาดตัวอักษรพอเหมาะ รองรับเว็บไซต์
ที่อาจมีข้อมูลเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ลิงค์ต่างๆเชื่อมโยงไปยังหน้าที่มีอยู่จริง ไม่มี
“broken link” ควรใช้เวลาในการดาวน์โหลดน้อย แสดงผลเร็ว และหมั่น
ปรับปรุงเนื้อหาอย่างสม่ําเสมอ (ธวัชชัย ศรีสุเทพ 2544: 14-23; ดวงพร เกี๋ยงคํา
และวงศ์ประชา จันทร์สมวงศ์ 2546: 26-43; Sklar 2003; Kentie 2002)
กระบวนการในการพัฒนาเว็บไซต์ สามารถแบ่งได้เป็น 5 ขั้นตอนที่
สําคัญคือ (ธวัชชัย ศรีสุเทพ 2544; ดวงพร เกี๋ยงคํา และวงศ์ประชา จันทร์สม
วงศ์ 2546; Geest 2001)
ขั้นตอนที่ 1 : สารวจปัจจัยสาคัญ (Research)
เริ่มต้นจากการศึกษาหน่วยงานเจ้าของเว็บไซต์ เพื่อกําหนดเป้าหมาย
ของเว็บไซต์ที่ชัดเจน ศึกษาผู้ใช้ เพื่อให้สามารถระบุกลุ่มผู้ใช้ และความต้องการ
ของผู้ใช้ และศึกษาคู่แข่ง เพื่อกําหนดกลยุทธ์ในการแข่งขัน
ขั้นตอนที่ 2 : พัฒนาเนื้อหา (Site Content)
หลังจากการศึกษาข้อมูลเบื้องต้นและกําหนดวัตถุประสงค์ของเว็บไซต์
แล้ว จะสามารถกําหนดแนวทางในการออกแบบเว็บไซต์ ขอบเขตเนื้อหาและการ
ใช้งาน เพื่อรวบรวมข้อมูลและเนื้อหาของเว็บไซต์ต่อไป
ขั้นตอนที่ 3 : พัฒนาโครงสร้างเว็บไซต์ (Site Structure)
ในขั้นตอนนี้ จะนําข้อมูลที่รวบรวมได้มาจัดระบบข้อมูล โดยจัดทํา
แผนผังโครงสร้างข้อมูล และออกแบบระบบ Navigation เพื่อออกแบบการใช้
ข้อมูลและแนวทางการท่องเว็บที่จะพัฒนา
ขั้นตอนที่ 4 : ออกแบบและพัฒนาหน้าเว็บ (Visual Design)
ในขั้นตอนนี้ จะทําการออกแบบลักษณะหน้าตาของเว็บเพจตาม
หลักการออกแบบเว็บที่ดี มีการจัดแบ่งพื้นที่ในหน้าเว็บเพจ และมีรูปแบบ
โครงสร้างข้อมูลอยู่ในหน้าเว็บที่ออกแบบนี้ ในขั้นตอนนี้ จะได้เว็บเพจต้นแบบที่
จะใช้พัฒนาเป็นเว็บไซต์ต่อไป
ขั้นตอนที่ 5 : พัฒนาและดําเนินการ (Production and Operation)
ในขั้นตอนนี้ จะทําการพัฒนาเว็บเพจที่ออกแบบ เป็นเว็บไซต์ที่สมบูรณ์
จนถึงการ upload เว็บไซต์สู่เครื่องแม่ข่ายเพื่อเผยแพร่สู่อินเทอร์เน็ต และ
กําหนดแนวทางการดูแลเนื้อหาและพัฒนาต่อไป
บททื่ 6
ส่วนประกอบของหน้าเว็บไซต์
แบ่งออกเป็น 3 ส่วนหลักๆ คือ
1. ส่วนหัวของเว็บเพ็จ (Page Header)
เป็นส่วนที่อยู่ตอนบนสุดของหน้า และเป็นส่วนที่สําคัญที่สุดของหน้า
เพราะเป็นส่วนที่ดึงดูดผู้ชมให้ติดตามเนื้อหาภายในเว็บไซต์มักใส่ภาพกราฟิกเพื่อ
สร้างความประทับใจส่วนใหญ่ประกอบด้วย
- โลโก้ (Logo) เป็นสิ่งที่เว็บไซต์ควรมี เป็นตัวแทนของเว็บไซต์
ได้เป็นอย่างดี และยังทาให้เว็บน่าเชื่อถือ
- ชื่อเว็บไซต์
- เมนูหลักหรือลิงค์ (Navigation Bar) เป็นจุดเชื่อมโยงไปสู่
เนื้อหาของเว็บไซต์
ภาพประกอบที่ 2 ส่วนหัวของเว็บเพ็จ
2.ส่วนของเนื้อหา (Page Body)
เป็นส่วนที่อยู่ตอนกลางของหน้า ใช้แสดงข้อมูลเนื้อหาของเว็บไซต์ ซึ่ง
ประกอบด้วยข้อความ, ตารางข้อมูล ภาพกราฟิก วีดีโอ และอื่นๆ และอาจมีเมนู
หลักหรือเมนูเฉพาะกลุ่มวางอยู่ในส่วนนี้ด้วย
สําหรับส่วนเนื้อหาควรแสดงใจความสําคัญที่เป็นหัวเรื่องไว้บนสุด ข้อมูล
มีความกระชับ ใช้รูปแบบตัวอักษรที่อ่านง่าย และจัด Layout ให้เหมาะสมและ
เป็นระเบียบ
ภาพประกอบที่ 3 ส่วนของเนื้อหา
3. ส่วนท้ายของหน้า (Page Footer)
เป็นส่วนที่อยู่ด้านล่างสุดของหน้า จะมีหรือไม่มีก็ได้ มักวางระบบนา
ทางที่เป็นลิงค์ข้อความง่าย ๆ และอาจแสดงข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับเนื้อหา
ภายในเว็บไซต์ เช่น เจ้าของเว็บไซต์, ข้อความแสดงลิขสิทธิ์, วิธีการติดต่อกับ
ผู้ดูแลเว็บไซต์, คาแนะนาการใช้เว็บไซต์ เป็นต้น
ภาพประกอบที่ 4 ส่วนของเนื้อหา
บทที่ 7
ทฤษฎีสีกับการออกแบบเว็บไซต์
สีสันในหน้าเว็บเพจ เป็นสิ่งที่มีความสําคัญมากในการดึงดูดความสนใจ
ของผู้ใช้ เนื่องจากสิ่งแรกที่พวกเขามองเห็นจากเว็บเพจก็คือ สี ซึ่งเป็นสิ่งกําหนด
บรรยากาศและความรู้สึกโดยรวมของเว็บไซต์ เราสามารถใช้สีได้กับองค์ประกอบ
ของเว็บเพจ ตั้งแต่ตัวอักษร,รูปภาพ,ลิงค์,สีพื้นหลัง และรูปภาพพื้นหลัง การ
เลือกใช้สีอย่างเหมาะสมจะช่วยในการสื่อความหมายของเนื้อหา และเพิ่มความ
สวยงามให้กับหน้าเว็บนั้น แต่ในทางกลับกัน สีที่ไม่เหมาะสมอาจสร้างความ
ยากลําบากในการอ่านหรือรบกวนสายตาผู้ใช้ รวมทั้งอาจทําให้การสื่อสาร
ความหมายไม่ถูกต้องได้
เรื่องของสีในเว็บไซต์มีความซับซ้อนพอสมควร เริ่มตั้งแต่การเข้าใจถึง
การแสดงออกของสีภายใต้สิ่งแวดล้อมที่ต่างกันของบราวเซอร์,จอมอนิเตอร์ และ
ระบบปฏิบัติการ ตลอดจนถึงการเข้าใจทฤษฎีสี รู้จักเลือกใช้สีที่เหมาะสมเพื่อการ
สื่อความหมายอย่างสวยงาม ดังนั้น เป้าหมายของเราคือ การตัดสินใจเลือกใช้สี
ให้เหมาะสมกับบุคลิกและเป้าหมายของเว็บไซต์ เพื่อการแสดงผลที่ตรงกับความ
ประสงค์มากที่สุด การใช้ชุดสีที่เหมาะสม กลมกลืน ไม่เพียงแต่จะสร้างความพึง
พอใจให้กับผู้ใช้ แต่ยังทําให้พวกเขามีความรู้สึกร่วมไปกับเป้าหมายของเว็บไซต์
นั้นด้วย ไม่ว่าจะเป็นการให้ข้อมูล สร้างความบันเทิง รวมถึงการขายสินค้าหรือ
บริการ
สีเป็นเครื่องมืออเนกประสงค์อย่างหนึ่งที่มีความสําคัญมากในการ
ออกแบบเว็บไซต์ เนื่องจากสีสามารถสื่อถึงความรู้สึกและอารมณ์ และยังช่วยสร้าง
ความสัมพันธ์ระหว่างสถานที่กับเวลาอีกด้วย ดังนั้นสีจึงเป็นปัจจัยสําคัญอย่างหนึ่ง
ที่จะช่วยเสริมสร้างความหมายขององค์ประกอบให้กับเว็บเพจได้ อย่างดี
ประโยชน์ของสีในรูปแบบต่างๆ มีดังนี้
- สีสามารถชักนําสายตาผู้อ่านให้ไปยังทุกบริเวณในหน้าเว็บเพจ
- สีช่วยเชื่อมโยงบริเวณที่ได้รับการออกแบบเข้าด้วยกัน
- สีสามารถนําไปใช้ในการแบ่งบริเวณต่างๆ ออกจากกัน ทํานอง
เดียวกับการเชื่อมโยงบริเวณที่มีสีเหมือนกันเข้าด้วยกัน
- สีสามารถใช้ในการดึงดูดความสนใจของผู้อ่านสายตาผู้อ่าน
- สีสามารถสร้างอารมณ์โดยรวมของเว็บเพจ และกระตุ้นความรู้สึก
ตอบสนองจากผู้ชมได้นอกเหนือจากความรู้สึกที่ได้รับจากสีตาม
หลักจิตวิทยาแล้ว ผู้ชมยังอาจมีอารมณ์และความรู้สึกสัมพันธ์กับสี
บางสีหรือบางกลุ่มเป็นพิเศษ
- สีช่วยสร้างระเบียบให้กับข้อความต่างๆ
ดังนั้นการเลือกใช้สีให้เหมาะสมและเกิดประโยชน์จึงเป็นเรื่องสําคัญ
แม้ว่าการเลือกชุดของสีมาใช้ในเว็บเพจค่อนข้างจะขึ้นอยู่กับความชอบของแต่ละ
คน อย่างน้อยเราควรมีความเข้าใจถึงหลักการใช้สีเบื้องต้น ที่จะช่วยในการ
เลือกใช้สีชุดใดชุดหนึ่งจากชุดสีพื้นฐานอื่นๆได้อย่างเหมาะสมกับลักษณะของ
เว็บไซต์ อย่างไรก็ตามทฤษฎีเหล่านี้จะไม่ทําให้คุณสามารถเลือกชุดสีได้ในทันที
ทันใด แต่อย่างน้อยก็จะช่วยนําคุณไปในทิศทางที่ถูกต้องได้
เพื่อความเข้าใจถึงความสัมพันธ์ของสีที่ดีขึ้นเราความทําความรู้จักกับ
ระบบสีที่เข้าใจง่าย และมีประโยชน์มากที่สุดที่เรียกกันว่า วงล้อสี ( color
wheel ) ซึ่งเป็นรูปแบบหนึ่งที่มีระบบการจัดเรียงสีทั้งหมดไว้ในวงกลม วงล้อสี
ถูกพัฒนาขึ้นจากความต้องการกฎระเบียบที่ชัดเจนของลําดับและความกลมกลืน
ของสี แม้ในอดีตจะมีการพัฒนาและออกแบบระบบสีในรูปแบบต่างๆมากมาย
แต่ส่วนใหญ่มักจะมีความซับซ้อนเกินกว่าที่จะนํามาใช้ประโยชน์ในการออกแบบ
จริง ในที่สุดเราจะใช้วงล้อสีแบบ 12 ขั้น ซึ่งถูกประดิษฐ์ขึ้นโดย Sir Isaac
Newton ในปี 1666 ที่ได้แสดงถึงการจัดลําดับเฉดสีอย่างมีเหตุผลและง่ายต่อ
การนําไปใช้ จึงเป็นประโยชน์อย่างมากต่อศิลปินในการศึกษาและออกแบบศิลปะ
ต่างๆ รวมทั้งการเลือกใช้สีในกระบวนการออกแบบเว็บไซต์ที่เรากําลังสนใจอยู่
รูปแบบชุดสีพื้นฐาน ( Simple Color Schemes )
หลังจากคุณได้รู้จักพื้นฐาน
ของสีมาพอสมควร ต่อไปจะเป็นเรื่อง
ของชุดสีที่ถูกจัดกลุ่มอย่างเข้ากันด้วย
รูปแบบต่างๆ ทําให้เรามีโอกาสเลือกชุด
สีเหล่านี้มาใช้ในการออกแบบได้โดยไม่
ต้องเสียเวลาสุ่มเลือกสีต่างๆให้ดูเข้ากัน
อย่างไรก็ตามคุณควรยึดรูปแบบเหล่านี้
เป็นเพียงหลักการเบื้องต้น และยังคง
ต้องทําการปรับเปลี่ยนค่าของสี ( hue ) ความอิ่มตัวของสี ( saturation ) และ
ความสว่างของสี ( lightness ) เพื่อให้เกิดลักษณะที่อ่านง่าย สวยงาม และ
เหมาะสมกับเนื้อหาของเว็บไซต์
ชุดสีแบบสีเดียว (Monochromatic Color Scheme)
รูปแบบของชุดสีที่ง่ายที่สุดคือชุดแบบสีเดียวที่มีค่าของสีบริสุทธิ์
เพียงสีเดียว ความหากหวายของสีชุดนี้เกิดจากการเพิ่มสีเดียว ความหลากหลาย
ของสีชุดนี้เกิดจากการเพิ่มความเข้มหรือความเข้มหรือความอ่อนในระดับต่างๆ
ให้กับสีตั้งต้น ดังนั้น ชุดสีแบบเดียวของสี
แดงอาจประกอบด้วยสีแดงล้วน สีแดง
อิฐ (สีเข้ม ของสีแดง) สีสตรอเบอรี่
(สีอ่อนปานกลางของสีแดง) ละชมพู
(สีอ่อนมากของสีชมพู) ชุดสีแบบนี้
ค่อนข้างจะมีความกลมกลืนเป็นหนึ่ง
เดียวกัน และประสิทธิภาพในการสร้าง
รูปแสดงชุดสีแบบเดียว อารมณ์โดยรวมด้วยการใช้สีเพียงสี
เดียว แต่ในบางครั้งรูปแบบที่มีสีเดียวนี้อาจดูไม่มีชีวิตชีวา เพราะขาดความ
หลากหลายของสี ซึ่งอาจทําให้ผู้อ่านความสนใจ
ชุดสีตรงข้าม (Complementary Color Scheme)
สีตรงข้ามในที่นี้ หมายถึง สีที่อยู่ตรงกันข้ามกันในวงล้อสี
เช่น สีแดงกับฟ้า หรือสีน้ําเงินอ่อนกับส้มน่าสนใจที่ว่าเมื่อนําสีทั้งสองนี้มาผสม
กัน จะได้ผลลัพธ์เป็นสีขาวสําหรับวงล้อสีแบบบวก หรือได้เป็นสีดําสําหรับวงล้อ
สีแบบลบ ที่เป็นเช่นนี้ก็เนื่องจากว่าสีแต่ละสีที่อยู่ตรงข้ามกัน จะมีอัตราส่วนของ
สีขั้นต้นที่ผกผันกัน ตัวอย่างเช่น สีแดงในวงล้อสีแบบบวกมีสีที่ตรงข้ามเป็นสีน้ํา
เงินแกมเขียว ซึ่งเป็นส่วนผสมจากสีน้ําเงินและเขียว จึงทําให้สีทั้งสองรวมกันยัง
ได้เป็นสีขาวอีกเช่นเดิม จากคุณสมบัตินี้เราอาจเรียกสีคู่นี้ว่าเป็น “สีเติมเต็ม” ก็
ได้
เมื่อนําสีทั้งสองมาใช้คู่กันก็จะทําให้สีทั้งสองมีความสว่าง และสดใสมาก
ขึ้น ซึ่งถือเป็นคุ่สีที่มีความแตกต่างมากที่สุด และยังมีความเสถียรมากที่สุด
(maximum contrast and maximum
stability) ข้อได้เปรียบของสีในรูปแบบนี้
คือ ความสดใส สะดุดตา และบางครั้งดู
น่าสนใจกว่าสีที่ใช้รูปแบบสามจุดเสียอีก
ทําให้แน่ใจได้ว่าชุดสี
รูปแสดงชุดสีตรงข้ามได้แก่สี 2 สีที่อยู่ตรงข้ามในวงล้อ ตรงกันข้ามนี้ จะไม่ดูจืดชือ
ขาดความ
น่าสนใจ อย่างไรก็ดีจํานวนสีที่จํากัดในรูปแบบนี้ ทําให้ผู้อ่านให้ความสนใจได้
ง่าย แล้วหลังจากนั้นก็อาจละทิ้งความรู้สึกสนใจไปได้ง่ายเช่นกัน
ข้อคิดเกี่ยวกับการใช้สีในเว็บไซท์
จากสีที่ได้เรียนรู้มาตั่งแต่ต้นเกี่ยวกับสีและสื่อต่างๆที่มีผลต่อกา
รสแดงออกของสี คงจะพอทําให้คุณออกแบบเว็บไซท์โดยใช้สีที่เหมาะสม
กลมกลืนกันในการสื่อความหมายถึงเนื้อหา และสร้างความสวยงานให้กับหน้า
เว็บเพจได้เป็นอย่างดี และที่สําคัญจาการใช้ชุดสีสําหรับเว็บเพจที่มีสีสันตรงกับ
ความตั้งใจอย่างไม่ผิดเพี้ยน
ในส่วนนี้ เป็นเรื่องของข้อคิดสั้นๆ เกี่ยวกับการใช้สีให้เกิดประโยชน์กับ
เว็บไซท์ 3 ข้อดังนี้
1. ใช้สีอย่าสม่าเสมอ
การออกแบบเว็บไซท์โดยใช้สีอย่างสม่ําเสมอช่วยสร้าง
ความรู้สึกถึงบริเวณของสถานที่ เช่นการใช้สีที่เป็นชุดเดียวกันตลอดทั้งไซท์เพื่อ
สร้างขอบเขตของเว็บไซท์ที่สัมผัสได้ด้วยตา เมื่อผู้ใช้คลิกเข้าไปในแต่ละหน้าก็ยัง
รู้สึกได้ว่ากําลังอยู่ภายในเว็บไซท์เดียวกัน
2. ใช้สีอย่างเหมาะสม
เว็บไซท์เปรียบเสมอสถานที่หนึ่งๆ ที่มีลักษณะเฉพาะ
เช่นเดียวกับสถานที่ต่างๆ ในชีวิตจริงอย่าง ธนาคาร โรงเรียน หรือร้านค้าต่างๆ
ดังนั้น การเลือกใช้สีที่เหมาะสมกับลักษณะของเว็บไซท์ จะช่วยส่งเสริมเป้าหมาย
และภาพพจน์ของเว็บไซท์ได้ นอกจากนี้คุณควรคํานึงถึงปัจจัยหลายๆอย่างที่มีผล
ต่อความเหมาะสมของสีในเว็บไซท์ เช่น วัฒนธรรม แนวโน้ม ของแฟชั่น อายุและ
ประสบการณ์ของผู้ใช้ ดังนั้นเราจึงรู้สึกเห็นด้วยเมื่อมีการใช้สีชมพูเพื่อสแดงถึง
ความรัก ใช้โทนสีน้ําตาลดํา สื่อถึงเหตุการณ์ใน อดีต ใช้สีสดใสสําหรับเด็ก และ
การใช้สีตามแฟชั่นในเว็บมีเกี่ยวกับเครื่องแต่งกาย
3. ใช้สีเพื่อสื่อความหมาย
ดังที่ได้เห็นแล้วว่า สีแต่ละสีให้ความหายและความรู้สึกต่างกัน
โดยสีหนึ่งๆ อาจสื่อความหายไปในทางบวกหรือทางลบก็ได้ขึ้นอยู่กับสถานการณ์
ตัวอย่างเช่น สีดําให้ความรู้สึกโศกเศร้าในงานศพ แต่กลับแสดงถึงความเป็นมือ
อาชีพในการแสดงผลงานของศิลปิน ดังนั้นสีที่ให้ความหมายและความรู้สึกตรง
กับเนื้อหา จะช่วยสนับสนุนให้ผู้ใช้ได้รับข้อมูลที่ถูกต้องและครบถ้วน
ระบบสีในเว็บไซท์
ระบบสีในเว็บไซท์มีรูปแบบเฉพาะตัวที่แตกต่างจากสีอื่นๆ
อย่างสิ้นเชิง ทําให้การใช้สีอย่างมีประสิทธิภาพในเว็บจึงต้องอาศัยความเข้าใจ
รายละเอียดทางเทคนิคพอสมควร ระบบสีที่มีความเฉพาะตัวนี้เป็นผลมาจาก
ความเกี่ยวข้องกับสื่อ 3 ประเภทที่มีอิทธิพลต่อการปรากฏของสี ได้ แก่
- จอมอนิเตอร์ : เป็นเพราะเว็บเพจถูกเรียกดูผ่านทาง
จอมอนิเตอร์ ดังนั้นการแสดงสีของเว็บเพจจึงขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพด้านสีของ
จอมอนิเตอร์
- บราวเซอร์ : เนื่องจากบราวเซอร์มีระบบการความคุมและ
แสดงสีภายในตัวเอง เมื่อใดที่มีการแสดงผลในหน้าจอที่มีจํานวนสีจํากัด
บราวเซอร์จะทําการสร้างสีทดแทนให้ดูเหมือนหรือไกล้เคียงกับสีที่กําหนดไว้
ผลลัพธ์ที่ได้จึงไม่แน่นอน
- HTML : สีในเว็บเพจที่ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของรูปภาพ เช่น สี
ของตัวอักษรและพื้นหลัง จะถูกควบคุมด้วยคําสั่งภาษา HTML โดยระบุค่าของสี
ในระบบเลขฐานสิบหก
เพราะฉะนั้น การเข้าใจถึงอิทธิพลของปัจจัยทั้งสาม และ
ออกแบบโดยคํานึงถึงข้อจํากัดเหล่านี้ จะทําให้ผู้ใช้โดยส่วนใหญ่ได้เห็นสีที่ถูกต้อง
อย่างที่คุณตั้งใจ
บรรณานุกรม
ดวงพร เกี๋ยงคํา (2549: 27). ขั้นตอนการพัฒนาเว็บไซต์
แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสื่อสาร.
www.exmba.buu.ac.th/Research/Bangsaen/Ex-24-Bs/.../05_ch2.pdf
ทฤษฎีการประชาสัมพันธ์. http://region3.prd.go.th/phrae/data/pr1.html
ความหมายของเว็บไซต์. http://panyaras.blogspot.com/2010/05/web-
site-web-page-home-page-links-www.html
การออกแบบและการพัฒนาเว็บไซต์.
https://docs.google.com/a/cas95.mygbiz.com/folder/d/
ส่วนประกอบของหน้าเว็บไซต์.
http://www.hellomyweb.com/index.php/main/content/134

More Related Content

What's hot

ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดChuleekorn Rakchart
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ Saranporn Rungrueang
 
ความหมายและองค์ประกอบการนำเสนองาน
ความหมายและองค์ประกอบการนำเสนองานความหมายและองค์ประกอบการนำเสนองาน
ความหมายและองค์ประกอบการนำเสนองานFair Kung Nattaput
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอ pis
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอ pisการใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอ pis
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอ pissofuwan
 
2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material
2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material
2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate materialPloykarn Lamdual
 
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจการสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจDrsek Sai
 
ทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศอิ่' เฉิ่ม
 
เทคโนโลยีสารสนเทศที่นำมาใช้กับการจัดการความรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศที่นำมาใช้กับการจัดการความรู้เทคโนโลยีสารสนเทศที่นำมาใช้กับการจัดการความรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศที่นำมาใช้กับการจัดการความรู้แอ้ม แอ้ม
 
ทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศSupaporn Khiewwan
 

What's hot (14)

Facebook marketing 2.0
Facebook marketing 2.0Facebook marketing 2.0
Facebook marketing 2.0
 
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
 
Work1 pjcom
Work1 pjcomWork1 pjcom
Work1 pjcom
 
Chapter 4
Chapter 4Chapter 4
Chapter 4
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ความหมายและองค์ประกอบการนำเสนองาน
ความหมายและองค์ประกอบการนำเสนองานความหมายและองค์ประกอบการนำเสนองาน
ความหมายและองค์ประกอบการนำเสนองาน
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอ pis
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอ pisการใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอ pis
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอ pis
 
2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material
2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material
2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4
 
Information service and dissemination
Information service and disseminationInformation service and dissemination
Information service and dissemination
 
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจการสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
 
ทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศที่นำมาใช้กับการจัดการความรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศที่นำมาใช้กับการจัดการความรู้เทคโนโลยีสารสนเทศที่นำมาใช้กับการจัดการความรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศที่นำมาใช้กับการจัดการความรู้
 
ทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศ
 

Similar to หนังสือเล่มเล็ก

บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมSuchabun Preawnapa
 
Presentations - การนำเสนอ
Presentations - การนำเสนอPresentations - การนำเสนอ
Presentations - การนำเสนอSuphol Sutthiyutthasenee
 
หลักการนำเสนอ.pdf
หลักการนำเสนอ.pdfหลักการนำเสนอ.pdf
หลักการนำเสนอ.pdfSuphol Sutthiyutthasenee
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
Computer project type (1)
Computer project type (1)Computer project type (1)
Computer project type (1)Natchaya49391
 
สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7Tsheej Thoj
 
สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพ
สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพสรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพ
สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพnunaka
 
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วยการออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วยMuBenny Nuamin
 
บทที่ 4 sec 1
บทที่ 4 sec 1บทที่ 4 sec 1
บทที่ 4 sec 1yaowalakMathEd
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภทAoy Amm Mee
 
ใบความรู้ 6.1การนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.1การนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 6.1การนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.1การนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
งานคอมบทที่ 2 ถึง 8
งานคอมบทที่ 2 ถึง 8งานคอมบทที่ 2 ถึง 8
งานคอมบทที่ 2 ถึง 8ฝฝ' ฝน
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2Krudoremon
 
การออกแบบและการนำเสนอ
การออกแบบและการนำเสนอการออกแบบและการนำเสนอ
การออกแบบและการนำเสนอWichit Chawaha
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน0872191189
 

Similar to หนังสือเล่มเล็ก (20)

Ch 2
Ch 2Ch 2
Ch 2
 
บทความ
บทความบทความ
บทความ
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
Presentations - การนำเสนอ
Presentations - การนำเสนอPresentations - การนำเสนอ
Presentations - การนำเสนอ
 
หลักการนำเสนอ.pdf
หลักการนำเสนอ.pdfหลักการนำเสนอ.pdf
หลักการนำเสนอ.pdf
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
Computer project type (1)
Computer project type (1)Computer project type (1)
Computer project type (1)
 
สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7
 
สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพ
สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพสรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพ
สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพ
 
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วยการออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
 
บทที่ 4 sec 1
บทที่ 4 sec 1บทที่ 4 sec 1
บทที่ 4 sec 1
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท
 
ใบความรู้ 6.1การนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.1การนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 6.1การนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.1การนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Work32 27-28
Work32 27-28Work32 27-28
Work32 27-28
 
Presentation-การนำเสนอ
Presentation-การนำเสนอPresentation-การนำเสนอ
Presentation-การนำเสนอ
 
งานคอมบทที่ 2 ถึง 8
งานคอมบทที่ 2 ถึง 8งานคอมบทที่ 2 ถึง 8
งานคอมบทที่ 2 ถึง 8
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
การออกแบบและการนำเสนอ
การออกแบบและการนำเสนอการออกแบบและการนำเสนอ
การออกแบบและการนำเสนอ
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
 

หนังสือเล่มเล็ก

  • 1. คานา หลักการออกเเบบเว็บไซต์ เป็นหนังสือที่จัดทําขึ้น เพื่อให้ศึกษาหลักการ ทฤษฎี ต่างๆ เกี่ยวกับการออกแบบเว็บไซต์ได้เป็นอย่างดี และเมื่ออ่านหนังสือเล่มนี้แล้ว สามารถออกแบบเว็บไซต์ให้สวยงานได้ หนังสือเล่มนี้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับ แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสื่อสาร การประชาสัมพันธ์ของเว็บไซต์ ความหมายของเว็บไซต์ การออกแบบและการ พัฒนาเว็บไซต์ ขั้นตอนการพัฒนาเว็บไซต์ ส่วนประกอบของหน้าเว็บไซต์ โดย ผู้จัดทําได้เรียบเรียงเป็นลําดับดับขั้นตอน ซึ่งง่ายต่อการศึกษา การเข้าใจ และ การจดจําเป็นอย่างดี ผู้จัดทําได้หวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือหลักการออกเเบบเว็บไซต์ นี้จะเป็น ประโยชน์ต่อผู้เรียน ผู้สอน สําหรับนําไปใช้ ในการเรียนรู้และศึกษาด้วยตนเอง ขอขอบคุณผู้เจ้าของข้อมูลทั้งด้านหนังสือคู่มือ และเว็บไซท์ที่มีส่วนช่วย ในการ จัดทําทุกท่านมา ณ โอกาสนี้ ผู้จัดทํา 30 กรกฎาคม 2556 สารบัญ เรื่อง หน้า บทที่ 1 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสื่อสาร แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสื่อสารของแมคครอสกี้และรี ชมอน 1 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสื่อสารในแงของจิตวิทยา 1 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสื่อสารในของ วิจิตร อาวะกุล 1 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสื่อสารในของ สุรสิทธิ์ วิทยารัฐ 3 บทที่ 2 ทฤษฎีการประชาสัมพันธ์ 5 นิยามและคําจํากัดความต่าง ๆ ของการประชาสัมพันธ์ 5 บทที่ 3 เว็บไซต์ 7 ความหมายของเว็บไซต์ 7 บทที่ 4 การออกแบบและการพัฒนาเว็บไซต์ 10 การกําหนดขอบเขต 10 กําหนดเป้าหมาย 10 กําหนดโครงสรางขอมูล 11 กําหนดการสืบทอดขอมูล 11 สรางไซตแม็ป 12 แบงเฟรมพื้นที่การแสดงผล 12 สรางเว็บเพจแตละหนาตามที่ออกแบบ 13 ลงทะเบียนขอพื้นที่เว็บไซต 13 อัฟโหลดเว็บไซต 14
  • 2. สารบัญ เรื่อง หน้า บทที่ 5 ขั้นตอนการพัฒนาเว็บไซต์ 15 บททื่ 6 ส่วนประกอบของหน้าเว็บไซต์ 18 ส่วนหัวของเว็บเพ็จ (Page Header) 18 ส่วนของเนื้อหา (Page Body) 19 ส่วนท้ายของหน้า (Page Footer) 19 บทที่ 7 ทฤษฎีสีกับการออกแบบเว็บไซต์ 20 บรรณานุกรม บทที่ 1 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสื่อสาร การสื่อสารนี้เกิดจากแนวความคิดที่วาการสื่อสารเปนกระบวนการ แลกเปลี่ยนโดยมีสาระสําคัญที่วาผูสื่อสารทําหนาที่ทั้งผูสงและผูรับขาวใน ขณะเดียวกันไมอาจระบุวาการสื่อสารเริ่มตนและสิ้นสุดที่จุดใด เพราะถือวา การ สื่อสารมีลักษณะเปนวงกลม และไมมีที่สิ้นสุด ผูรับขาวและผูสงขาวนอกจากจะ ทําหน้าที่ทั้งการเข้ารหสัและถอดรหัสแล้วยังเป็นผู้กอใหเกิดขาวสารและกาหนด พฤติกรรม แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสื่อสารของแมคครอสกี้และรีชมอน แมคครอสกี้และรีชมอน (McCroskey & Richmon, 1997) ได้กล่าวว่า การสื่อสารนี้เกิดจากแนวความคิดที่วา การสื่อสารเป็นกระบวนการหรือการ แลกเปลี่ยนโดยมีสาระสําคัญที่วาผูสื่อสาร ทําหนาที่ทั้งผูสงและผูรับขาวใน ขณะเดียวกัน ไมอาจระบุว่าการสื่อสารเริ่มตนและสิ้นสุดที่จุดใดเพราะถือวาการ สื่อสารมีลักษณะเปนวงกลม และไมมีที่สิ้นสุดผูรับขาวและผูสงขาว นอกจากจะ ทําหนาที่ทั้งการเขารหัสและถอดรหัสแลวยังเปนผูกอใหเกิดข่าวสารและกําหนด พฤติกรรม แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสื่อสารในแงของจิตวิทยา ชองทางการสื่อสารคือความรูสึกที่ผูรับขาวสารสามารถรับรูขาวสารจาก ผูสงขาวไดหมายความวา เราใหคําจํากัดความของชองทางการสื่อสารในฐานะที่
  • 3. เป็นกลไกอยางหนึ่งของความรูสึกภาษาที่จะรับรูขาวสารชองทางการสื่อสารจึง รวมถึงการมองเห็นการไดยินการสัมผัสการไดกลิ่นและการรูรส โดยสรุป ชองทางการสื่อสารคือวิธีการที่จะติดตอสื่อสารที่จะชวยให้ ข่าวสารไปยังผูรับขาวสารโดยอาศัยชองทางไปสูประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ การ มองเห็น การสัมผัส การไดยิน การไดกลิ่น การลิ้มรส โดยใชชองทางคือการ บันทึกขอความ คําสั่ง เปนลายลักษณอักษร การพูด สามารถแบงประเภทตามวิธีการตาง ๆ ดังนี้คือ การติดตอสื่อสารทาง ลายลักษณอักษร การติดตอสื่อสารทางวาจาและการติดตอสื่อสารที่เกี่ยวของกับ เทคโนโลยี 1. การติดตอสื่อสารทางลายลักษณอักษร 2. การติดตอสื่อสารทางวาจา วิจิตร อาวะกุล (2525)ได้กล่าวถึงการสื่อสารที่มีประสิทธิผลตองมีองค ประกอบ 7 ประการคือ 1. ความนาเชื่อถือ (Credibility) การสื่อสารจะไดผลนั้นตองมีความ เชื่อถือของในเรื่องของผูใหขาวสารแหลงขาวเพื่อใหเกิดความมั่นใจหรือเต็มใจ รับฟงขาวสารนั้น 2. ความเหมาะสม (Context) การสื่อสารที่ดีตองมีความเหมาะสม กลมกลืนกับวัฒนธรรมของสังคม เครื่องมือสื่อสารนั้นเปนเพียงสิ่งประกอบ แต ความสําคัญอยูที่ทาทีทาทางภาษาคําพูดที่เหมาะสมกับวัฒนธรรมสังคมหมูชน หรือสภาพแวดลอมนั้นๆ การยกมือไหวสําหรับสังคมไทยยอมเหมาะสมกวาการ จับมือหรือการจับมือของฝรั่งยอมเหมาะสมกวาการไหว เปนตน 3. เนื้อหาสาระ (Content) ขาวสารที่ดีจะต้องมีความหมายสําหรับผูรับ มีสาระ ประโยชนแกกลุมชนหรือมีสิ่งที่เขาจะไดผลประโยชนจึงนาสนใจบางครั้ง สิ่งที่เปนประโยชน์ต่อกลุมชนกลุมหนึ่งแตอาจจะไมมีสาระสําหรับคนบางกลุม ใน เรื่องนี้จึงตองใช้การพิจารณากลมชุนเปาหมายดวย 4. บอยและสม่ําเสมอตอเนื่องกัน (Continuity and Consistency) การสื่อขาวสารจะไดผลตองสง บอย ๆ ติดตอกันหรือมีการย้าย เพื่อเตือนความ ทรงจําหรือเปลี่ยนทัศนคติและมีความสม่ําเสมอเสมอตนเสมอปลาย มิใชสงข าวสารชนิดขาด ๆหาย ๆ ไมเที่ยงตรงแน่นอน 5. ชองทางขาวสาร (Channels) ขาวสารจะเผยพรได้จะต้องสงให้ถูกช องทางของการสื่อสารนั้นๆ โดยมองหาชองทางที่เปดรับขาวสารที่เราจะสงและส งถูกสายงานสงถึงตัวบุคคลโดยตรงจะรวดเร็วกวาหรือส่ง บานไดรับเร็วกวาการสงไปใหทํางานเราควรเลือกชองทางที่ไดผลเร็วที่สุด 6. ความสามารถของผูรับขาวสาร (Capability of Audience) การ สื่อสารที่ถือวาไดผลนั้น ตองใชความพยายามหรือแรงงานนอยที่สดุ การสื่อสาร จะงายสะดวกก็ขึ้นอยู้กับความสามารถในการรับของผูรับซึ่งขึ้นอยูกับปจจัย หลายอยาง เชน สถานที่โอกาสอํานวยนความรูพื้นฐานที่จะชวยใหเขาใจเปนตน 7. ความแจมแจงของขาวสาร (Clarity) ขาวสารตองงายใชภาษาที่ผูรับ เขาใจคือใช้ภาษา ของเขาศัพทที่ยากและสูงไมมีประโยชน์ควรตัดออกใหหมดให ชัดเจน เขาใจงาย มีความมุงหมายเดียว อยาใหคลุมเครือหรือมีความหมายหลาย แงหรือตกหลนขอความบางตอนที่สําคัญไป สุรสิทธิ์ วิทยารัฐ (2549) ไดสรุปไววา การเปลี่ยนแปลงจากผลของ การสื่อสารอาจกอใหเกิดผล 3 ประการ กลาวคือ การเปลี่ยนแปลงความรู การเปลี่ยนทัศนคติ และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม โดยการเปลี่ยนแปลง สามารถแบงไดตามหลักเกณฑความดีและไมดีของผลที่เกิดขึ้นซึ่งเปนการพิ จารณาวาผลของการสื่อสารในครั้งนั้นๆ กอใหเกิดผลดีตอบุคคลหรือเปนผลที่ทํา
  • 4. ใหผูสงสารบรรลุวัตถุประสงคตามที่ตั้งใจหรือไมทั้งนี้ สามารถแบงไดเปน 2 ประเภท คือ ประเภทแรกคือผลทางบวก (Positive Effect) ซึ่งเปนผลของการสื่อสารที่บรรลุวัตถุประสงคของผูสงสารที่ตั้งไวและก อใหเกิดผลดีตอบุคคลประเภทที่สองคือผลทางลบ(Negative Effect) เปนผลของ การสื่อสารที่ไมบรรลุวัตถุประสงคที่ผูสงสารไดคาดหมายไวอีกทั้งยังกอใหเกิดผล ไมดีตออตัวบุคคลอีกดวยเมื่อผลของการสื่อสารเกิดในทางบวกหรือลบก็ตามสิ่งที่ เกิดขึ้นตอมาแกผูรับสารก็คือความพึงพอใจของสื่อสาร บทที่ 2 การประชาสัมพันธ์ การประชาสัมพันธ์ เป็นคําที่นักวิชาการหรือผู้เชี่ยวชาญทางด้านวิชานี้ ซึ่งมีทั้งนักวิชาการ (theorists) และนักปฏิบัติการ (Practitioners) ได้ให้คํานิยาม หรือคําจํากัดความไว้มากมายพอสมควร มีทั้งนิยามที่เน้นไปทางด้านทฤษฎีหรือ หลักการ และนิยามที่เน้นหนักไปทางด้านการกระทําหรือปฏิบัติการ จนบางครั้ง ทําให้ผู้ศึกษามีความรู้สึกหลายกับว่าการประชาสัมพันธ์ เป็น “นิยามที่ไม่รู้จบ” (Interminable definitions) หรือเป็นนิยามที่ไม่มีที่สิ้นสุด (endless) หรือ หมายความว่าการประชาสัมพันธ์มีนิยามหรือ คําจํากัดความที่ค่อนข้างกว้างขวาง มาก และครอบคลุมไปถึงหลายสิ่งหลายอย่าง รวมทั้งมีมากมายหลายนิยาม ด้วยกัน นักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญทางด้านวิชาการประชาสัมพันธ์ ได้ให้ อรรถาธิบาย คําว่าการประชาสัมพันธ์ไว้อย่างกว้างขวางหลายทัศนะหลายแง่มุม และไพศาลของขอบเขตที่การประชาสัมพันธ์แผ่คลุมไปถึง นิยามและคาจากัดความต่าง ๆ ของการ ประชาสัมพันธ์ มีดังนี้ 1.สมาคมการประชาสัมพันธ์ ระหว่างประเทศ (IPRA) ได้ให้ความหมาย ของการประชาสัมพันธ์ว่าการประชาสัมพันธ์ คือภาระหน้าที่ของฝ่ายบริหารหรือฝ่ายจัดการ (management function) ซึ่ง ต้องอาศัยการวางแผนงานที่ดี และมีการกระทําอย่างต่อเนื่องสม่ําเสมอ เพื่อ สร้างสรรค์และธํารงรักษาไว้ซึ่งความเข้าใจดี มีความเห็นอกเห็นใจ (sympathy)
  • 5. และได้รับการสนับสนุนร่วมมือจากกลุ่มประชาชนที่องค์การสถาบัน เพื่อให้ สอดคล้องกับประชามติหรือความต้องการของประชาชน พร้อมทั้งใช้วิธีการ เผยแพร่กระจายข่าวสารสู่ประชาชน เพื่อให้เกิดความร่วมมือและบรรลุถึง ผลประโยชน์ร่วมกันของทั้งสองฝ่าย คือ องค์การและกลุ่มประชาชนที่เกี่ยวข้อง 2. สมาคมการประชาสัมพันธ์แห่ง สหรัฐอเมริกา (PRSA) ได้ให้คําจํากัดความ ของการประชาสัมพันธ์ไว้ว่า การ ประชาสัมพันธ์เป็นอาชีพที่ให้บริการ ผลประโยชน์อย่างถูกต้องตามกฎหมายแก่ บรรดาลูกจ้างและผู้ว่าจ้าง อาชีพการ ประชาสัมพันธ์จึงมีวัตถุประสงค์พื้นฐานอยู่ ที่ความเข้าใจร่วมกัน และความร่วมมือ ระหว่างกลุ่มต่าง ๆ ของสถาบันสังคม จะเห็นได้ว่า นิยามความหมาย ข้างบนนี้ เป็นนิยามความหมายหรือคําจํากัดความของสถาบันและสมาคมวิชาชีพ (Professional Society) ทางด้านการประชาสัมพันธ์ ซึ่งทําหน้าที่เกี่ยวข้องและ รับผิดชอบโดยตรงกับงานประชาสัมพันธ์ มีหน้าที่ในการควบคุมมาตรฐานแห่ง วิชาชีพนี้ รวมทั้งการให้การศึกษาความรู้และฝึกฝนอบรม (Training) ด้านวิชาชีพ การประชาสัมพันธ์ให้แก่บรรดานักประชาสัมพันธ์และผู้ประกอบวิชาชีพทางด้าน นี้โดยเฉพาะ บทที่ 3 เว็บไซต์ ความหมายของเว็บไซต์ เวิลด์ไวด์เว็บ นิยมเรียกสั้นๆ ว่าเว็บ หรือ WWW ถือเป็นส่วนที่น่าสนใจ ที่สุดบนอินเทอร์เน็ตเพราะสามารถแสดงสารสนเทศต่างๆ ได้หลากหลาย เช่น นิตยสารหรือหนังสือพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ข้อมูลด้านดนตรี กีฬา การศึกษา ซึ่ง สามารถนําเสนอได้ทั้งภาพ เสียง รวมถึงภาพเคลื่อนไหว เช่นแฟ้มภาพวีดิทัศน์ หรือตัวอย่าง ภาพยนตร์ และการสืบค้นสารสนเทศในเวิลด์ไวด์เว็บนั้นจําเป็นต้อง อาศัยโปรแกรมค้นดูเว็บ ในการเข้าถึงแหล่งข้อมูล โดยที่เว็บกับโปรแกรมค้นผ่าน จะทําหน้าที่รวบรวมและกระจายเอกสารที่เครือข่าย ที่ทําไว้ เกตส์ (Gates, 1995) ได้กล่าวถึงเว็บไว้ว่า นอกเหนือจากการส่งจดหมาย อิเล็กทรอนิกส์และการแลกเปลี่ยนเอกสารกันแล้ว อินเทอร์เน็ตยังสนับสนุน สืบค้นข้อมูล อันเป็นโปรแกรมการใช้งานที่ได้รับความนิยมมากที่สุดแบบหนึ่งนั่น คือเวิลด์ไวด์เว็บ ซึ่งหมายถึงเครื่องบริการเว็บที่ต่อเชื่อมเข้ากับอินเทอร์เน็ตโดยมี ข่าวสารเป็นภาพกราฟิก เมื่อเชื่อมต่อเข้ากับเครื่องบริการเว็บประเภทนั้น จอภาพจะปรากฏข่าวสารพร้อมด้วยการเชื่อมโยง เมื่อเลื่อนเมาส์ไปคลิกที่จุด เชื่อมโยงใดๆ ก็จะเป็นการเปิดไปสู่อีกหน้าหนึ่งที่มีข่าวสารเพิ่มเติม พร้อมทั้งการเชื่อมโยงจุดใหม่อื่นๆ ซึ่งข่าวสารหน้าใหม่นี้อาจจะอยู่ในเครื่อง บริการเว็บเดียวกันหรืออาจเป็นเครื่องบริการเว็บอื่นๆ ในอินเทอร์เน็ต
  • 6. ดานันท์ มลิทอง(2540) ได้กล่าวถึงเวิลด์ไวด์เว็บว่า เป็นบริการสืบค้น สารสนเทศที่อยู่ในอินเทอร์เน็ต ในระบบข้อความหลายมิติ โดยคลิกที่จุดเชื่อมโยง เพื่อเสนอหน้าเอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องสารสนเทศที่นําเสนอจะมีรูปแบบทั้งใน ลักษณะของตัวอักษร ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง การเข้าสู่ระบบ เว็บจะต้องใช้โปรแกรมทํางานซึ่งโปรแกรมที่นิยมใช้กันในปัจจุบัน เว็บไซต์ (Web site) ปิยวิท เจนกิจจาไพบูลย์ (2540) ได้กล่าวว่า เว็บไซต์ ถูกเรียกเป็น ตําแหน่งที่อยู่ของผู้ที่มีเว็บเพจเป็นของตัวเองบนระบบอินเทอร์เน็ต ซึ่งได้จากการ ลงทะเบียนกับผู้ให้บริการเช่าพื้นที่บนระบบอินเทอร์เน็ตเมื่อลงทะเบียนในชื่อที่ ต้องการแล้ว ก็สามารถจัดทําเว็บเพจและส่งให้ศูนย์บริการนําขึ้นไปไว้บน อินเทอร์เน็ต ซึ่งถือว่ามีเว็บไซต์เป็นของตนเองแล้วทั้งนี้เนื่องจากเราสามารถ เปลี่ยนแปลงสารสนเทศบนเว็บไซต์ได้ตลอดเวลา และแต่ละเว็บเพจจะมีการ เชื่อมโยงกันภายในเว็บไซต์หรือไปยังเว็บไซต์อื่นๆ เพื่อให้ผู้อ่านสามารถอ่านได้ใน เวลาอันรวดเร็ว นิรุธ อํานวยศิลป์ (2542) กล่าวถึงเว็บไซต์ว่า เป็นชื่อเรียก Host หรือ Server ที่ได้จดทะเบียนอยู่ในเวิลด์ไวด์เว็บ ซึ่งก็คือชื่อชื่อ Host ที่ถูกกําหนดให้มี ชื่อในเวิลด์ไวด์เว็บ และขึ้นต้นด้วย http และมีโดเมนหรือนามสกุลเป็น .com, .net, .org หรืออื่นๆ แมทธิว ( Matthews, 1997) ได้ให้ความหมายของเว็บเพจว่า เป็น แฟ้มข้อความที่อยู่ในรูปของ HTML ซึ่งสามารถเชื่อมโยงไปสู่แฟ้มข้อมูลและเว็บ เพจอื่นๆ โดยที่แฟ้มข้อมูลจะถูกเก็บไว้ในเครื่องบริการเว็บ )web server) และ สามารถที่เข้าถึงแฟ้มข้อมูลได้ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์อื่นๆ ที่เชื่อมโยงกับเครื่อง บริการเว็บ โดยผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ตหรือระบบแลน ส่วนอีกความหมายหนึ่งของเว็บเพจ คือ รูปแบบการปฏิสัมพันธ์ของการ สื่อสารโดยใช้เครือข่ายคอมพิวเตอร์ โดยส่วนประกอบสําคัญของเว็บเพจมีสอง ส่วน คือ ส่วนที่เป็นปฏิสัมพันธ์ และส่วนที่เป็นสื่อประสมสําหรับส่วนที่เป็นสื่อ ประสมนั้นจะประกอบไปด้วย ตัวอักษร เสียง ภาพเคลื่อนไหว และแฟ้มวีดิทัศน์ ซึ่งทั้งหมดนี้จะประกอบกันเพื่อนําเสนอเนื้อหา และในส่วนที่เป็นปฏิสัมพันธ์ เนื่องจากผู้ใช้สามารถส่งข้อมูลหรือคําสั่งไปยังเว็บไซต์ที่ถูกควบคุมด้วยบริการเว็บ อีกทอดหนึ่ง ในแต่ละเว็บเพจจะมีที่อยู่เว็บที่เรียกว่า Uniform Resource Locator (URL) โดยที่อยู่เว็บ จะปรากฏในช่อง Address ที่ส่วนบนของจอภาพ โดยที่อยู่เว็บนั้นเปรียบเสมือนทางผ่านบนอินเทอร์เน็ตเพื่อไปยังเว็บเพจที่ต้องการ เช่นเดียวกับการค้นหาแฟ้มต่างๆ ในคอมพิวเตอร์
  • 7. บทที่ 4 การออกแบบและการพัฒนาเว็บไซต์ การออกแบบเว็บไซตใหมีประสิทธิภาพและตรงกับความตองการมาก ที่สุดมีขั้นตอนดังตอไปนี้ (ประเวศน วงษคําชัย และพิรพร หมุนสนิท, 2550 : 60-62) 1. การกาหนดขอบเขต การพัฒนาเว็บไซตไมไดมีหลักการหรือการกําหนดขอบเขตที่ ตายตัว แตจะขึ้นอยูกับเปาหมายและความตองการในการใชงานเว็บไซตนั้นวาสร างเพื่ออะไร เชน เพื่อประชาสัมพันธบริษัทหรือเพื่อขายสินคา เปนตน ซึ่งผูพัฒนา จะตองศึกษาความตองการของผูใชอยางละเอียดกอน เพื่อใชเปนแนวทางในการ สรางเว็บไซตใหสามารถตอบสนองความตองการของผูใชไดอยางถูกตอง โดย สามารถจําแนกขั้นตอนการกําหนดขอบเขตที่ผูพัฒนาเว็บไซตสวนใหญยึดถือเป นหลักการ 2. กาหนดเปาหมาย การกําหนดเปาหมายหรือวัตถุประสงคจะชวยใหผูพัฒนา สามารถกําหนดทิศทางการดําเนินงาน งบประมาณ รวมทั้งระยะเวลาไดอยาง เหมาะสม ซึ่งถือไดวาเปนขั้นตอนที่สําคัญที่สุดของการดําเนินงานทั้งหมด อยางไร ก็ตามเพื่อใหผลงานตรงตามความตองการของลูกคามากที่สุด จึงควรคํานึงและให ความสําคัญกับปจจัย ดังนี้ 2.1 ความตองการ 2.2 เปาหมาย 2.3 ขอมูลทางเทคนิค 2.4 ความสวยงามของการออกแบบ 3. กาหนดโครงสรางขอมูล การกําหนดโครงสรางขอมูลภายในเว็บไซตจะชวยใหผูพัฒนาสามารถ กําหนดลําดับการทํางานตางๆ ภายในเว็บไซตไดงาย และสะดวกยิ่งขึ้น รวมไปถึง ทําใหลูกคาเห็นโครงสรางของเว็บไซต แนวทางการออกแบบ และรูปแบบของ การทํางานตางๆ ซึ่งโดยสวนใหญจะเปนงานบนกระดาษกอนที่จะมีการพัฒนา จริง หลังจากที่ทราบข้อมูลเบื้อต้นแล้วสามารถกําหนดโครงสรางขอมูลและเพจ เนื้อหาในเว็บไซตได 4. กาหนดการสืบทอดขอมูล การกําหนดโครงสรางขอมูลเว็บไซตดังกลาวขางตน เพียงอยางเดียวจะ ยังไมสามารถมองเห็นความสัมพันธของแตละเพจได ซึ่งผูพัฒนาจะตองทําการ เปลี่ยนโครงสรางขอมูลไปเปนการสืบทอดขอมูล หรือรูปแบบโครงสรางขอมูล แบบตนไม (Tree Structure) กอน ดวยการแบงเนื้อหาที่ตองการนํามาเสนอบน เว็บไซตออกเปนกลุมหรือหมวดหมู โดยเริ่มตนกําหนดกลุมหลักกอน จากโครงสร างขอมูลที่กําหนดไวขางตน
  • 8. 5. สรางไซตแม็ป (Site Map) การสรางไซตแม็ป (Site Map) เปนการกําหนดโครงสรางการเชื่อมโยงของเพจใน เว็บไซต เพื่อความสะดวกในการคนหา หรือเปนการนําองคประกอบทั้งหมดใน เว็บไซตมาจัดลําดับเปนลําดับชั้นที่เกี่ยวของ 6. แบงเฟรมพื้นที่การแสดงผล การสรางไซตแม็ปขางตนยังไมใชขั้นตอนสุดทายในการวางแผนเพื่อ พัฒนาเว็บไซตผูพัฒนาจะตองสรางเพจสําหรับแสดงเนื้อหาของแตละสวนดวย การแบงเฟรม ซึ่งการแบงเฟรมเปนการแบงพื้นที่การ แสดงเนื้อหาบนเพจมีรูปแบบที่แตกตางกันออกไปตามความตองการของผูพัฒนา หรือลูกคาในที่นี้จะยกตัวอยางการแบงเฟรมเพจ index.html ของเว็บไซต บริษัท ณัฐพร จํากัด โดยแบงขอมูลที่ตองการเก็บภายในเพจไดดังนี้ 6.1 โลโก (Logo) ของบริษัท ณัฐพร จํากัด 6.2 เมนูหลัก (Menu) หรือการ เชื่อมโยงหลัก 6.3 เนื้อหาหลัก 6.4 การเชื่อมโยงที่เกี่ยวของ 6.5 การเชื่อมโยงยอย 6.6 โฆษณาตางๆที่ตองการแสดง บนเพจ 6.7 ขอมูลลิขสิทธ 7. สรางเว็บเพจแตละหนาตามที่ออกแบบ หลังจากที่ไดออกแบบเว็บเพจแตละหนาเรียบรอยแลว ขั้นตอนนี้จะเป นการสรางหนาเว็บเพจตามที่ไดออกแบบไวดังกลาวขางตน ดวยภาษาหรือ เครื่องมือตางๆ ตามที่ผูพัฒนาเว็บไซตตองการ เชน HTML, PHP, ASP หรือโปรแกรม Dreamweaver เปนตน 8. ลงทะเบียนขอพื้นที่เว็บไซต เมื่อสิ้นสุดขั้นตอนการพัฒนาเว็บไซตทั้งหมดเรียบรอยแลว ขั้นตอนตอไป คือ การนําเว็บไซตนั้นไปเผยแพรบนเครือขายอินเทอรเน็ต เพื่อใหผูคนสามารถเข ามาชมเว็บไซตได โดยการนําขึ้นไปเก็บไวที่เว็บเซิรฟเวอรองคกร หรือขอพื้นที่เว็บ ไซตกับผูใหบริการเว็บโอสติ้ง (Web Hosting) ซึ่งมีทั้งฟรีและเสียคาใชจาย (ประชา พฤกษประเสริฐ, 2550 : 11) 9. อัฟโหลดเว็บไซต เมื่อพัฒนาเว็บไซตเสร็จสมบูรณ และมีพื้นที่สําหรับเก็บเว็บไซตที่ตอง การนําไปเผยแพรสูอินเทอรเน็ตเรียบรอยแลว ขั้นตอนสุดทายคือการอัฟโหลด ไฟลเว็บไซตทั้งหมดขึ้นไปเก็บไวในพื้นที่ที่ไดจัดเตรียมไวดวยโปรแกรม FTP หรือ เครื่องมือที่ผูใหบริการไดจัดเตรียมไวใหการสรางเว็บไซตที่ดีนั้น ตองอาศัย หลักการออกแบบและการจัดระบบขอมูลอยางเหมาะสม เพื่อใหเว็บไซตที่สราง ขึ้นมีความนาสนใจ และสรางความประทับใจใหกับผูใชบริการ ทําใหอยากกลับเข ามาใชอีกใน ซึ่งการออกแบบเว็บไซตที่ดีนั้นนอกจากจะสรางความประทับใจใหกับผู ใชบริการแลวยังทําใหไดเปรียบ
  • 9. เหนือเว็บไซตของคูแขง หรือที่กําลังจะเกิดขึ้นในอนาคตได โดยการ ออกแบบเว็บไซตที่ดีนั้นไมไดหมายถึงเฉพาะการออกแบบหนาตาของเว็บไซต เพียงอยางเดียวเทานั้น แตจะเกี่ยวของตั้งแตการเริ่มตนกําหนดเปาหมายของเว็บ ไซต ระบุกลุม ผูใช การจัดระบบขอมูล การสรางระบบเนวิเกชัน การออกแบบ หนาเว็บ รวมไปถึงการใชกราฟก การเลือกใชสี และรูปแบบตัวอักษรที่เหมาะสม บทที่ 5 ขั้นตอนการพัฒนาเว็บไซต์ ดวงพร เกี๋ยงคํา (2549: 27) กล่าวถึงกระบวนการพัฒนาเว็บไซต์ไว้เป็น ขั้นตอนดังนี้ การออกแบบเว็บไซต์ที่ดี คือ การออกแบบให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย และลักษณะของเว็บไซต์ โดยคํานึงถึงความสะดวกในการใช้งานของผู้ใช้เป็นหลัก เว็บไซต์ที่ออกแบบอย่างมีประสิทธิภาพ ควรมีความเรียบง่าย มีความสม่ําเสมอ สะท้อนเอกลักษณ์และลักษณะขององค์กรนั้นได้ มีเนื้อหาที่มีประโยชน์ มีระบบ Navigation ที่ใช้งานง่าย มีลักษณะที่น่าสนใจและดึงดูด มีโลโก้และชื่อเว็บไซต์ ทุกหน้า เข้าถึงข้อมูลได้โดยไม่ต้องเข้าเมนูที่ซับซ้อน สามารถเข้าถึงข้อมูลให้ได้ มากที่สุดโดยไม่ต้องบังคับให้ผู้ใช้ต้องติดตั้งโปรแกรมเพิ่มเติม หรือเลือกใช้ บราวเซอร์ชนิดใดชนิดหนึ่ง สามารถแสดงผลในหน้าจอที่มีความละเอียดต่างๆกัน ได้ มีคุณภาพในการออกแบบ เลี่ยงลาย background ที่ลายตา เลือกสี background และสี font ให้เหมาะสม ขนาดตัวอักษรพอเหมาะ รองรับเว็บไซต์ ที่อาจมีข้อมูลเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ลิงค์ต่างๆเชื่อมโยงไปยังหน้าที่มีอยู่จริง ไม่มี “broken link” ควรใช้เวลาในการดาวน์โหลดน้อย แสดงผลเร็ว และหมั่น ปรับปรุงเนื้อหาอย่างสม่ําเสมอ (ธวัชชัย ศรีสุเทพ 2544: 14-23; ดวงพร เกี๋ยงคํา และวงศ์ประชา จันทร์สมวงศ์ 2546: 26-43; Sklar 2003; Kentie 2002) กระบวนการในการพัฒนาเว็บไซต์ สามารถแบ่งได้เป็น 5 ขั้นตอนที่ สําคัญคือ (ธวัชชัย ศรีสุเทพ 2544; ดวงพร เกี๋ยงคํา และวงศ์ประชา จันทร์สม วงศ์ 2546; Geest 2001)
  • 10. ขั้นตอนที่ 1 : สารวจปัจจัยสาคัญ (Research) เริ่มต้นจากการศึกษาหน่วยงานเจ้าของเว็บไซต์ เพื่อกําหนดเป้าหมาย ของเว็บไซต์ที่ชัดเจน ศึกษาผู้ใช้ เพื่อให้สามารถระบุกลุ่มผู้ใช้ และความต้องการ ของผู้ใช้ และศึกษาคู่แข่ง เพื่อกําหนดกลยุทธ์ในการแข่งขัน ขั้นตอนที่ 2 : พัฒนาเนื้อหา (Site Content) หลังจากการศึกษาข้อมูลเบื้องต้นและกําหนดวัตถุประสงค์ของเว็บไซต์ แล้ว จะสามารถกําหนดแนวทางในการออกแบบเว็บไซต์ ขอบเขตเนื้อหาและการ ใช้งาน เพื่อรวบรวมข้อมูลและเนื้อหาของเว็บไซต์ต่อไป ขั้นตอนที่ 3 : พัฒนาโครงสร้างเว็บไซต์ (Site Structure) ในขั้นตอนนี้ จะนําข้อมูลที่รวบรวมได้มาจัดระบบข้อมูล โดยจัดทํา แผนผังโครงสร้างข้อมูล และออกแบบระบบ Navigation เพื่อออกแบบการใช้ ข้อมูลและแนวทางการท่องเว็บที่จะพัฒนา ขั้นตอนที่ 4 : ออกแบบและพัฒนาหน้าเว็บ (Visual Design) ในขั้นตอนนี้ จะทําการออกแบบลักษณะหน้าตาของเว็บเพจตาม หลักการออกแบบเว็บที่ดี มีการจัดแบ่งพื้นที่ในหน้าเว็บเพจ และมีรูปแบบ โครงสร้างข้อมูลอยู่ในหน้าเว็บที่ออกแบบนี้ ในขั้นตอนนี้ จะได้เว็บเพจต้นแบบที่ จะใช้พัฒนาเป็นเว็บไซต์ต่อไป ขั้นตอนที่ 5 : พัฒนาและดําเนินการ (Production and Operation) ในขั้นตอนนี้ จะทําการพัฒนาเว็บเพจที่ออกแบบ เป็นเว็บไซต์ที่สมบูรณ์ จนถึงการ upload เว็บไซต์สู่เครื่องแม่ข่ายเพื่อเผยแพร่สู่อินเทอร์เน็ต และ กําหนดแนวทางการดูแลเนื้อหาและพัฒนาต่อไป
  • 11. บททื่ 6 ส่วนประกอบของหน้าเว็บไซต์ แบ่งออกเป็น 3 ส่วนหลักๆ คือ 1. ส่วนหัวของเว็บเพ็จ (Page Header) เป็นส่วนที่อยู่ตอนบนสุดของหน้า และเป็นส่วนที่สําคัญที่สุดของหน้า เพราะเป็นส่วนที่ดึงดูดผู้ชมให้ติดตามเนื้อหาภายในเว็บไซต์มักใส่ภาพกราฟิกเพื่อ สร้างความประทับใจส่วนใหญ่ประกอบด้วย - โลโก้ (Logo) เป็นสิ่งที่เว็บไซต์ควรมี เป็นตัวแทนของเว็บไซต์ ได้เป็นอย่างดี และยังทาให้เว็บน่าเชื่อถือ - ชื่อเว็บไซต์ - เมนูหลักหรือลิงค์ (Navigation Bar) เป็นจุดเชื่อมโยงไปสู่ เนื้อหาของเว็บไซต์ ภาพประกอบที่ 2 ส่วนหัวของเว็บเพ็จ 2.ส่วนของเนื้อหา (Page Body) เป็นส่วนที่อยู่ตอนกลางของหน้า ใช้แสดงข้อมูลเนื้อหาของเว็บไซต์ ซึ่ง ประกอบด้วยข้อความ, ตารางข้อมูล ภาพกราฟิก วีดีโอ และอื่นๆ และอาจมีเมนู หลักหรือเมนูเฉพาะกลุ่มวางอยู่ในส่วนนี้ด้วย สําหรับส่วนเนื้อหาควรแสดงใจความสําคัญที่เป็นหัวเรื่องไว้บนสุด ข้อมูล มีความกระชับ ใช้รูปแบบตัวอักษรที่อ่านง่าย และจัด Layout ให้เหมาะสมและ เป็นระเบียบ ภาพประกอบที่ 3 ส่วนของเนื้อหา
  • 12. 3. ส่วนท้ายของหน้า (Page Footer) เป็นส่วนที่อยู่ด้านล่างสุดของหน้า จะมีหรือไม่มีก็ได้ มักวางระบบนา ทางที่เป็นลิงค์ข้อความง่าย ๆ และอาจแสดงข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับเนื้อหา ภายในเว็บไซต์ เช่น เจ้าของเว็บไซต์, ข้อความแสดงลิขสิทธิ์, วิธีการติดต่อกับ ผู้ดูแลเว็บไซต์, คาแนะนาการใช้เว็บไซต์ เป็นต้น ภาพประกอบที่ 4 ส่วนของเนื้อหา บทที่ 7 ทฤษฎีสีกับการออกแบบเว็บไซต์ สีสันในหน้าเว็บเพจ เป็นสิ่งที่มีความสําคัญมากในการดึงดูดความสนใจ ของผู้ใช้ เนื่องจากสิ่งแรกที่พวกเขามองเห็นจากเว็บเพจก็คือ สี ซึ่งเป็นสิ่งกําหนด บรรยากาศและความรู้สึกโดยรวมของเว็บไซต์ เราสามารถใช้สีได้กับองค์ประกอบ ของเว็บเพจ ตั้งแต่ตัวอักษร,รูปภาพ,ลิงค์,สีพื้นหลัง และรูปภาพพื้นหลัง การ เลือกใช้สีอย่างเหมาะสมจะช่วยในการสื่อความหมายของเนื้อหา และเพิ่มความ สวยงามให้กับหน้าเว็บนั้น แต่ในทางกลับกัน สีที่ไม่เหมาะสมอาจสร้างความ ยากลําบากในการอ่านหรือรบกวนสายตาผู้ใช้ รวมทั้งอาจทําให้การสื่อสาร ความหมายไม่ถูกต้องได้ เรื่องของสีในเว็บไซต์มีความซับซ้อนพอสมควร เริ่มตั้งแต่การเข้าใจถึง การแสดงออกของสีภายใต้สิ่งแวดล้อมที่ต่างกันของบราวเซอร์,จอมอนิเตอร์ และ ระบบปฏิบัติการ ตลอดจนถึงการเข้าใจทฤษฎีสี รู้จักเลือกใช้สีที่เหมาะสมเพื่อการ สื่อความหมายอย่างสวยงาม ดังนั้น เป้าหมายของเราคือ การตัดสินใจเลือกใช้สี ให้เหมาะสมกับบุคลิกและเป้าหมายของเว็บไซต์ เพื่อการแสดงผลที่ตรงกับความ ประสงค์มากที่สุด การใช้ชุดสีที่เหมาะสม กลมกลืน ไม่เพียงแต่จะสร้างความพึง พอใจให้กับผู้ใช้ แต่ยังทําให้พวกเขามีความรู้สึกร่วมไปกับเป้าหมายของเว็บไซต์ นั้นด้วย ไม่ว่าจะเป็นการให้ข้อมูล สร้างความบันเทิง รวมถึงการขายสินค้าหรือ บริการ
  • 13. สีเป็นเครื่องมืออเนกประสงค์อย่างหนึ่งที่มีความสําคัญมากในการ ออกแบบเว็บไซต์ เนื่องจากสีสามารถสื่อถึงความรู้สึกและอารมณ์ และยังช่วยสร้าง ความสัมพันธ์ระหว่างสถานที่กับเวลาอีกด้วย ดังนั้นสีจึงเป็นปัจจัยสําคัญอย่างหนึ่ง ที่จะช่วยเสริมสร้างความหมายขององค์ประกอบให้กับเว็บเพจได้ อย่างดี ประโยชน์ของสีในรูปแบบต่างๆ มีดังนี้ - สีสามารถชักนําสายตาผู้อ่านให้ไปยังทุกบริเวณในหน้าเว็บเพจ - สีช่วยเชื่อมโยงบริเวณที่ได้รับการออกแบบเข้าด้วยกัน - สีสามารถนําไปใช้ในการแบ่งบริเวณต่างๆ ออกจากกัน ทํานอง เดียวกับการเชื่อมโยงบริเวณที่มีสีเหมือนกันเข้าด้วยกัน - สีสามารถใช้ในการดึงดูดความสนใจของผู้อ่านสายตาผู้อ่าน - สีสามารถสร้างอารมณ์โดยรวมของเว็บเพจ และกระตุ้นความรู้สึก ตอบสนองจากผู้ชมได้นอกเหนือจากความรู้สึกที่ได้รับจากสีตาม หลักจิตวิทยาแล้ว ผู้ชมยังอาจมีอารมณ์และความรู้สึกสัมพันธ์กับสี บางสีหรือบางกลุ่มเป็นพิเศษ - สีช่วยสร้างระเบียบให้กับข้อความต่างๆ ดังนั้นการเลือกใช้สีให้เหมาะสมและเกิดประโยชน์จึงเป็นเรื่องสําคัญ แม้ว่าการเลือกชุดของสีมาใช้ในเว็บเพจค่อนข้างจะขึ้นอยู่กับความชอบของแต่ละ คน อย่างน้อยเราควรมีความเข้าใจถึงหลักการใช้สีเบื้องต้น ที่จะช่วยในการ เลือกใช้สีชุดใดชุดหนึ่งจากชุดสีพื้นฐานอื่นๆได้อย่างเหมาะสมกับลักษณะของ เว็บไซต์ อย่างไรก็ตามทฤษฎีเหล่านี้จะไม่ทําให้คุณสามารถเลือกชุดสีได้ในทันที ทันใด แต่อย่างน้อยก็จะช่วยนําคุณไปในทิศทางที่ถูกต้องได้ เพื่อความเข้าใจถึงความสัมพันธ์ของสีที่ดีขึ้นเราความทําความรู้จักกับ ระบบสีที่เข้าใจง่าย และมีประโยชน์มากที่สุดที่เรียกกันว่า วงล้อสี ( color wheel ) ซึ่งเป็นรูปแบบหนึ่งที่มีระบบการจัดเรียงสีทั้งหมดไว้ในวงกลม วงล้อสี ถูกพัฒนาขึ้นจากความต้องการกฎระเบียบที่ชัดเจนของลําดับและความกลมกลืน ของสี แม้ในอดีตจะมีการพัฒนาและออกแบบระบบสีในรูปแบบต่างๆมากมาย แต่ส่วนใหญ่มักจะมีความซับซ้อนเกินกว่าที่จะนํามาใช้ประโยชน์ในการออกแบบ จริง ในที่สุดเราจะใช้วงล้อสีแบบ 12 ขั้น ซึ่งถูกประดิษฐ์ขึ้นโดย Sir Isaac Newton ในปี 1666 ที่ได้แสดงถึงการจัดลําดับเฉดสีอย่างมีเหตุผลและง่ายต่อ การนําไปใช้ จึงเป็นประโยชน์อย่างมากต่อศิลปินในการศึกษาและออกแบบศิลปะ ต่างๆ รวมทั้งการเลือกใช้สีในกระบวนการออกแบบเว็บไซต์ที่เรากําลังสนใจอยู่ รูปแบบชุดสีพื้นฐาน ( Simple Color Schemes ) หลังจากคุณได้รู้จักพื้นฐาน ของสีมาพอสมควร ต่อไปจะเป็นเรื่อง ของชุดสีที่ถูกจัดกลุ่มอย่างเข้ากันด้วย รูปแบบต่างๆ ทําให้เรามีโอกาสเลือกชุด สีเหล่านี้มาใช้ในการออกแบบได้โดยไม่ ต้องเสียเวลาสุ่มเลือกสีต่างๆให้ดูเข้ากัน อย่างไรก็ตามคุณควรยึดรูปแบบเหล่านี้ เป็นเพียงหลักการเบื้องต้น และยังคง ต้องทําการปรับเปลี่ยนค่าของสี ( hue ) ความอิ่มตัวของสี ( saturation ) และ ความสว่างของสี ( lightness ) เพื่อให้เกิดลักษณะที่อ่านง่าย สวยงาม และ เหมาะสมกับเนื้อหาของเว็บไซต์
  • 14. ชุดสีแบบสีเดียว (Monochromatic Color Scheme) รูปแบบของชุดสีที่ง่ายที่สุดคือชุดแบบสีเดียวที่มีค่าของสีบริสุทธิ์ เพียงสีเดียว ความหากหวายของสีชุดนี้เกิดจากการเพิ่มสีเดียว ความหลากหลาย ของสีชุดนี้เกิดจากการเพิ่มความเข้มหรือความเข้มหรือความอ่อนในระดับต่างๆ ให้กับสีตั้งต้น ดังนั้น ชุดสีแบบเดียวของสี แดงอาจประกอบด้วยสีแดงล้วน สีแดง อิฐ (สีเข้ม ของสีแดง) สีสตรอเบอรี่ (สีอ่อนปานกลางของสีแดง) ละชมพู (สีอ่อนมากของสีชมพู) ชุดสีแบบนี้ ค่อนข้างจะมีความกลมกลืนเป็นหนึ่ง เดียวกัน และประสิทธิภาพในการสร้าง รูปแสดงชุดสีแบบเดียว อารมณ์โดยรวมด้วยการใช้สีเพียงสี เดียว แต่ในบางครั้งรูปแบบที่มีสีเดียวนี้อาจดูไม่มีชีวิตชีวา เพราะขาดความ หลากหลายของสี ซึ่งอาจทําให้ผู้อ่านความสนใจ ชุดสีตรงข้าม (Complementary Color Scheme) สีตรงข้ามในที่นี้ หมายถึง สีที่อยู่ตรงกันข้ามกันในวงล้อสี เช่น สีแดงกับฟ้า หรือสีน้ําเงินอ่อนกับส้มน่าสนใจที่ว่าเมื่อนําสีทั้งสองนี้มาผสม กัน จะได้ผลลัพธ์เป็นสีขาวสําหรับวงล้อสีแบบบวก หรือได้เป็นสีดําสําหรับวงล้อ สีแบบลบ ที่เป็นเช่นนี้ก็เนื่องจากว่าสีแต่ละสีที่อยู่ตรงข้ามกัน จะมีอัตราส่วนของ สีขั้นต้นที่ผกผันกัน ตัวอย่างเช่น สีแดงในวงล้อสีแบบบวกมีสีที่ตรงข้ามเป็นสีน้ํา เงินแกมเขียว ซึ่งเป็นส่วนผสมจากสีน้ําเงินและเขียว จึงทําให้สีทั้งสองรวมกันยัง ได้เป็นสีขาวอีกเช่นเดิม จากคุณสมบัตินี้เราอาจเรียกสีคู่นี้ว่าเป็น “สีเติมเต็ม” ก็ ได้ เมื่อนําสีทั้งสองมาใช้คู่กันก็จะทําให้สีทั้งสองมีความสว่าง และสดใสมาก ขึ้น ซึ่งถือเป็นคุ่สีที่มีความแตกต่างมากที่สุด และยังมีความเสถียรมากที่สุด (maximum contrast and maximum stability) ข้อได้เปรียบของสีในรูปแบบนี้ คือ ความสดใส สะดุดตา และบางครั้งดู น่าสนใจกว่าสีที่ใช้รูปแบบสามจุดเสียอีก ทําให้แน่ใจได้ว่าชุดสี รูปแสดงชุดสีตรงข้ามได้แก่สี 2 สีที่อยู่ตรงข้ามในวงล้อ ตรงกันข้ามนี้ จะไม่ดูจืดชือ ขาดความ น่าสนใจ อย่างไรก็ดีจํานวนสีที่จํากัดในรูปแบบนี้ ทําให้ผู้อ่านให้ความสนใจได้ ง่าย แล้วหลังจากนั้นก็อาจละทิ้งความรู้สึกสนใจไปได้ง่ายเช่นกัน ข้อคิดเกี่ยวกับการใช้สีในเว็บไซท์
  • 15. จากสีที่ได้เรียนรู้มาตั่งแต่ต้นเกี่ยวกับสีและสื่อต่างๆที่มีผลต่อกา รสแดงออกของสี คงจะพอทําให้คุณออกแบบเว็บไซท์โดยใช้สีที่เหมาะสม กลมกลืนกันในการสื่อความหมายถึงเนื้อหา และสร้างความสวยงานให้กับหน้า เว็บเพจได้เป็นอย่างดี และที่สําคัญจาการใช้ชุดสีสําหรับเว็บเพจที่มีสีสันตรงกับ ความตั้งใจอย่างไม่ผิดเพี้ยน ในส่วนนี้ เป็นเรื่องของข้อคิดสั้นๆ เกี่ยวกับการใช้สีให้เกิดประโยชน์กับ เว็บไซท์ 3 ข้อดังนี้ 1. ใช้สีอย่าสม่าเสมอ การออกแบบเว็บไซท์โดยใช้สีอย่างสม่ําเสมอช่วยสร้าง ความรู้สึกถึงบริเวณของสถานที่ เช่นการใช้สีที่เป็นชุดเดียวกันตลอดทั้งไซท์เพื่อ สร้างขอบเขตของเว็บไซท์ที่สัมผัสได้ด้วยตา เมื่อผู้ใช้คลิกเข้าไปในแต่ละหน้าก็ยัง รู้สึกได้ว่ากําลังอยู่ภายในเว็บไซท์เดียวกัน 2. ใช้สีอย่างเหมาะสม เว็บไซท์เปรียบเสมอสถานที่หนึ่งๆ ที่มีลักษณะเฉพาะ เช่นเดียวกับสถานที่ต่างๆ ในชีวิตจริงอย่าง ธนาคาร โรงเรียน หรือร้านค้าต่างๆ ดังนั้น การเลือกใช้สีที่เหมาะสมกับลักษณะของเว็บไซท์ จะช่วยส่งเสริมเป้าหมาย และภาพพจน์ของเว็บไซท์ได้ นอกจากนี้คุณควรคํานึงถึงปัจจัยหลายๆอย่างที่มีผล ต่อความเหมาะสมของสีในเว็บไซท์ เช่น วัฒนธรรม แนวโน้ม ของแฟชั่น อายุและ ประสบการณ์ของผู้ใช้ ดังนั้นเราจึงรู้สึกเห็นด้วยเมื่อมีการใช้สีชมพูเพื่อสแดงถึง ความรัก ใช้โทนสีน้ําตาลดํา สื่อถึงเหตุการณ์ใน อดีต ใช้สีสดใสสําหรับเด็ก และ การใช้สีตามแฟชั่นในเว็บมีเกี่ยวกับเครื่องแต่งกาย 3. ใช้สีเพื่อสื่อความหมาย ดังที่ได้เห็นแล้วว่า สีแต่ละสีให้ความหายและความรู้สึกต่างกัน โดยสีหนึ่งๆ อาจสื่อความหายไปในทางบวกหรือทางลบก็ได้ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ ตัวอย่างเช่น สีดําให้ความรู้สึกโศกเศร้าในงานศพ แต่กลับแสดงถึงความเป็นมือ อาชีพในการแสดงผลงานของศิลปิน ดังนั้นสีที่ให้ความหมายและความรู้สึกตรง กับเนื้อหา จะช่วยสนับสนุนให้ผู้ใช้ได้รับข้อมูลที่ถูกต้องและครบถ้วน ระบบสีในเว็บไซท์ ระบบสีในเว็บไซท์มีรูปแบบเฉพาะตัวที่แตกต่างจากสีอื่นๆ อย่างสิ้นเชิง ทําให้การใช้สีอย่างมีประสิทธิภาพในเว็บจึงต้องอาศัยความเข้าใจ รายละเอียดทางเทคนิคพอสมควร ระบบสีที่มีความเฉพาะตัวนี้เป็นผลมาจาก ความเกี่ยวข้องกับสื่อ 3 ประเภทที่มีอิทธิพลต่อการปรากฏของสี ได้ แก่ - จอมอนิเตอร์ : เป็นเพราะเว็บเพจถูกเรียกดูผ่านทาง จอมอนิเตอร์ ดังนั้นการแสดงสีของเว็บเพจจึงขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพด้านสีของ จอมอนิเตอร์
  • 16. - บราวเซอร์ : เนื่องจากบราวเซอร์มีระบบการความคุมและ แสดงสีภายในตัวเอง เมื่อใดที่มีการแสดงผลในหน้าจอที่มีจํานวนสีจํากัด บราวเซอร์จะทําการสร้างสีทดแทนให้ดูเหมือนหรือไกล้เคียงกับสีที่กําหนดไว้ ผลลัพธ์ที่ได้จึงไม่แน่นอน - HTML : สีในเว็บเพจที่ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของรูปภาพ เช่น สี ของตัวอักษรและพื้นหลัง จะถูกควบคุมด้วยคําสั่งภาษา HTML โดยระบุค่าของสี ในระบบเลขฐานสิบหก เพราะฉะนั้น การเข้าใจถึงอิทธิพลของปัจจัยทั้งสาม และ ออกแบบโดยคํานึงถึงข้อจํากัดเหล่านี้ จะทําให้ผู้ใช้โดยส่วนใหญ่ได้เห็นสีที่ถูกต้อง อย่างที่คุณตั้งใจ
  • 17.
  • 18. บรรณานุกรม ดวงพร เกี๋ยงคํา (2549: 27). ขั้นตอนการพัฒนาเว็บไซต์ แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสื่อสาร. www.exmba.buu.ac.th/Research/Bangsaen/Ex-24-Bs/.../05_ch2.pdf ทฤษฎีการประชาสัมพันธ์. http://region3.prd.go.th/phrae/data/pr1.html ความหมายของเว็บไซต์. http://panyaras.blogspot.com/2010/05/web- site-web-page-home-page-links-www.html การออกแบบและการพัฒนาเว็บไซต์. https://docs.google.com/a/cas95.mygbiz.com/folder/d/ ส่วนประกอบของหน้าเว็บไซต์. http://www.hellomyweb.com/index.php/main/content/134