SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
บทบาทความสำาคัญของเทคโนโลยี
           สารสนเทศ

การเปลี่ยนแปลงสังคมความเป็นอยู่ของมนุษย์เป็นไปอย่าง
รวดเร็ว กล่าวกันว่าได้เกิดการเปลี่ยนแปลงในลักษณะ ที่
เรียกว่า การปฏิวัติมาแล้วสองครั้ง ครั้งแรกเกิดจากการที่
มนุษย์รู้จักใช้ระบบชลประทาน เพื่อการเพาะปลูกสังคม
ความเป็นอยู่ของมนุษย์จึงเปลี่ยนจากการเร่ร่อนมาเป็นการ
ตั้งหลักแหล่ง เพื่อทำาการเกษตร ต่อมาเมื่อประมาณร้อย
กว่าปีที่แล้ว ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 หลังจากที่เจมส์วัตต์
(James Watt ) ประดิษฐ์เครื่องจักรไอนำ้ามนุษย์รู้จักนำา
เอาเครื่องจักรมาช่วยในอุตสาหกรรมการผลิต และช่วยใน
การสร้างยานพาหนะ เพื่องานคมนาคมขนส่ง ผลทีตามมา    ่
ทำาให้เกิดการปฏิวัติทางอุตสาหกรรม สังคมความเป็นอยู่
ของมนุษย์จึงเปลี่ยนจากสังคมเกษตรมาเป็นสังคมเมือง
สังคมสารสนเทศที่มีการนำาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้
งานในทุกวงการ
การปฏิวัติอุตสาหกรรมยุคแรก เริ่มจากการใช้เครื่องจักรกล
แทนการทำางานด้วยมือ พลังงานทีใช้ขับเคลื่อนเครื่องจักร
                                   ่
มาจากพลังงานนำ้าพลังงานไอนำ้า และเปลี่ยนเป็นพลังงาน
จากนำ้ามันมีการขับเคลื่อนเครื่องยนต์และมอเตอร์ไฟฟ้า
การปฏิวัติอุตสาหกรรมได้เกิดขึ้นอีก โดยเปลี่ยนแปลง
ระบบการทำางานจากการทีละขั้นตอนมาเป็นการทำางาน
ระบบอัตโนมัติ การทำางานเหล่านี้อาศัยระบบควบคุมด้วย
คอมพิวเตอร์ทั้งสิ้น
โรงงานประกอบรถยนต์ที่ใช้แขนหุ่นยนต์
มีผู้กล่าวว่าการปฏิวัติครั้งที่สามกำาลังจะเกิดขึ้น โดยสิ่งที่
เกิดใหม่นี้ ได้แก่ การพัฒนาทางด้านความคิด การตัดสิน
ใจ โดยอาศัยหลักการของคอมพิวเตอร์ ในอนาคตกลุ่มคน
เพียงกลุ่มเดียวอาจทำางานทั้งหมดโดยอาศัยระบบ
คอมพิวเตอร์ควบคุม ทำาการควบคุมหุ่นยนต์คอมพิวเตอร์
และให้หุ่นยนต์ควบคุมการทำางานของเครื่องจักรอีกต่อหนึ่ง
ความเจริญก้าวหน้าทางอุตสาหกรรมเกือบทุกแขนงมี
คอมพิวเตอร์เข้ามาเกี่ยวข้องด้วยเสมอ ระบบการผลิต ส่วน
ใหญ่ต้องใช้คอมพิวเตอร์และอิเล็กทรอนิกส์แทรกเข้ามา
เกือบทุกกระบวนการ ตังแต่ การควบคุม การขนส่งวัตถุดิบ
                         ้
กระบวนการผลิต และการบรรจุหีบห่อ
ในระดับประเทศประเทศไทยสั่งซื้อสินค้าเทคโนโลยีระดับ
สูงเป็นปริมาณมาก ทำาให้ต้องซื้อเทคนิควิธีการ ตลอดจน
เครื่อง มือเครื่องจักรเข้ามาในปริมาณมากไปด้วย ขณะ
เดียวกันเรายัง ขาดบุคลากรที่จะพัฒนาเครื่องจักรเครื่องมือ
เหล่านั้น ให้มีประ สิทธิภาพ การสูญเสียเงินตราเนื่องจาก
สาเหตุนี้จึงเกิดขึ้นมิใช่น้อย หลายโรงงานยังไม่กล้าใช้
เครื่องจักรที่ใช้เทคโนโลยีใหม่ เพราะ หาบุคลากรใน การ
ดำาเนินการได้ยาก แต่ในระยะหลังค่าจ้างแรง งานสูงขึ้น
และการแข่งขัน ทางธุรกิจมีมากขึ้น จึงตกอยู่ในสภาวะ
จำายอมที่ต้องนำาเครื่องมือเหล่านั้นเข้ามา เนื่องจากเครื่อง
มือดังกล่าว ให้ผลผลิตทีดีกว่าของเดิมและทำาให้ราคา
                            ่
ต้นทุนการผลิตสินค้าตำ่า ลงอีกด้วย
ในยุควิกฤตการพลังงาน หลายประเทศพยายามลด การใช้
พลังงาน โรงงานพยายามหาทางควบคุมการใช้ พลังงาน
ให้มีประสิทธิภาพสูงสุดเพื่อจะลดค่าใช้จ่ายลง จึงมีการนำา
คอมพิวเตอร์มาช่วยควบคุม เช่น ควบคุมการเดิน เครื่องให้
เหมาะสม ควบคุมปริมาณการเผาไหม้ของ เครื่องจักรใน
กระบวนการผลิต ควบคุมการจัดภาระงาน ให้เหมาะสม
รวมถึงการควบคุมสิ่งแวดล้อมต่างๆ ด้วย
เมื่อคอมพิวเตอร์เข้ามาเกี่ยวข้องกับการดำาเนินชีวิตของ
มนุษย์มากขึ้น ได้มีการพัฒนางานทางด้านเทคโนโลยี
สารสนเทศขึ้น และในปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศได้เข้า
มามีบทบาทต่อชีวิตประจำาวันของมนุษย์มากขึ้น สังเกตได้
จากการนำาคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลมาใช้ในสำานักงาน การ
จัดทำาระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ การใช้อุปกรณ์อำานวย
ความสะดวกที่ประกอบด้วยชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ แสดงว่า
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการคำานวณและ เก็บข้อมูลได้
แพร่ไปทั่วทุกแห่ง เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทสำาคัญ
ต่อการแข่งขันด้านธุรกิจและการขยายตัวของบริษัท ส่งผล
ต่อการให้บริการขององค์การและหน่วยงาน และมีผลต่อ
การประกอบกิจในแต่ละวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศเริ่มใช้งานในประเทศไทย เมื่อไม่
นานมานี้เอง โดยในปี พ.ศ. 2507
คอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในประเทศไทยเป็นครั้งแรก และใน
ขณะนั้นเทคโนโลยีสารสนเทศยังไม่แพร่หลายนัก จะมี
เพียงการใช้โทรศัพท์เพื่อการติดต่อสื่อสารและนำา
คอมพิวเตอร์มาช่วยประมวลผลข้อมูล งานด้านสารสนเทศ
อื่น ๆ ส่วนใหญ่ยังคงเป็นงาน ภายในสำานักงานที่ยังไม่มี
อุปกรณ์และเครื่องมือด้านเทคโนโลยีมาช่วยงานเท่าใดนัก
เมื่อมีการประดิษฐ์คิดค้นอุปกรณ์ช่วยงานสารสนเทศ เช่น
เครื่องถ่ายเอกสาร โทรสาร และไมโครคอมพิวเตอร์ อาชีพ
ของประชากรก็ปรับเปลี่ยนมาสู่งานด้านสารสนเทศมากขึ้น
สำานักงานเป็นแหล่งที่มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาก
ที่สุด เช่น การใช้คอมพิวเตอร์ทำาบัญชีเงินเดือนและบัญชี
รายรับรายจ่าย การติดต่อสื่อสารภายในและภายนอกโดย
โทรศัพท์และ โทรสาร การจัดเตรียมเอกสารด้วยการใช้
เครื่องถ่ายเอกสารและคอมพิวเตอร์
งานด้านสารสนเทศมีแนวโน้มขยายตัวที่ค่อนข้างสดใส
เพราะเทคโนโลยีด้านนี้ได้รับการส่งเสริมสนับสนุนอย่าง
เต็มที่ มีการวิจัยและพัฒนาให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ ออกมา
ตอบสนองความต้องการของมนุษย์อยู่ตลอดเวลา
การใช้คอมพิวเตอร์ทำางานในสำานักงาน
เทคโนโลยีที่ใช้ในระบบสารสนเทศที่กำาลังได้รับความ
สนใจอย่างมากในขณะนี้ คือ เทคโนโลยีสื่อประสม
(multimedia) ซึ่งรวมข้อความ ภาพ เสียงและวิดีทศน์เข้า
                                                   ั
มาผสมกัน เทคโนโลยีนี้กำาลังได้รับการพัฒนา ในอนาคต
เทคโนโลยีแบบสื่อประสม จะช่วยเสริมและสนับสนุนงาน
ด้านสารสนเทศให้ก้าวหน้าต่อไป เป็นที่คาดหมายว่าอัตรา
การเติบโตของ ผูทำางานด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศจะมี
                  ้
มากขึ้น
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศค่อยๆ กลายมาเป็น
ระบบรวม โดยให้คอมพิวเตอร์ระบบหนึ่งทำางานพร้อมกัน
ได้หลายๆ อย่าง นอกจากใช้ประมวลผลข้อมูลด้านบัญชี
แล้ว ยังใช้งานจัดเตรียมเอกสารแทนเครื่องพิมพ์ดีด ใช้รับ
ส่งข้อความ หรือจดหมายกับคอมพิวเตอร์ที่อยู่ห่างไกล ซึง ่
อาจอยู่คนละซีกโลกในลักษณะที่เรียกว่า ไปรษณีย์
อิเล็กทรอนิกส์ สำาหรับเครื่องถ่ายเอกสาร นอกจากจะใช้
ถ่ายสำาเนาเอกสารตามปกติแล้ว อาจเพิ่มขีด ความสามารถ
ให้ใช้งานเป็นเครื่องพิมพ์ หรือรับส่งโทรสารได้อีกด้วย
การพัฒนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นไปอย่างรวดเร็ว
ทั้งด้านฮาร์ดแวร์ (hardware) ซอฟต์แวร์ (software)
ด้านข้อมูลและการติดต่อสื่อสาร ผูใช้จงต้องปรับตัวยอมรับ
                                   ้  ึ
และเรียนรู้ เทคโนโลยีใหม่ที่เกิดขึ้นอยู่เสมอ โดยเฉพาะ
ข้อมูลและ การติดต่อสื่อสาร (communication) ซึงเป็น
                                                 ่
หัวใจสำาคัญของ การดำาเนินธุรกิจ หากการดำาเนินงานธุรกิจ
ใช้ข้อมูลซึงมีการบันทึกใส่กระดาษและเก็บรวบรวมใส่
           ่
แฟ้มการเรียกค้นและสรุปผลข้อมูลย่อมทำาได้ช้า และเกิด
ความผิดพลาดได้ง่ายกว่า การประมวล ผลข้อมูลด้วย
เครื่องคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศจะช่วยให้
ทำางานได้ง่าย สะดวก รวดเร็ว และถูกต้องขึ้น และที่สำาคัญ
ช่วยให้สามารถตัดสินใจดำาเนินงานได้เร็ว

       ขอบเขตของเทคโนโลยีสารสนเทศ
คำาว่า เทคโนโลยี หมายถึง การประยุกต์เอาความรู้ทาง
ด้านวิทยาศาสตร์ ความจริงเกี่ยวกับธรรมชาติและสิ่ง
แวดล้อม มาทำาให้เกิดประโยชน์ต่อมวลมนุษย์ เทคโนโลยี
จึงเป็นวิธีการในการสร้างมูลค่าเพิ่มของสิ่งต่างๆ ให้เกิด
ประโยชน์มากยิ่งขึ้น เช่น ทรายหรือซิลิกอน (silikon) เป็น
สารแร่ที่พบเห็นทั่วไปตามชายหาด หากนำามาสกัดด้วย
เทคนิควิธีการสร้างเป็น ชิป (chip) จะทำาให้สารแร่ซิลิกอน
นั้นมีคุณค่า และมูลค่าเพิ่มขึ้นได้อีกมาก
สำาหรับสารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่เป็นเรื่องเกี่ยวข้องกับ
ความจริงของคน สัตว์ สิ่งของ ทังที่เป็นรูปธรรมและ
                                  ้
นามธรรม ที่ได้รับการจัดเก็บรวบรวม ประมวลผล เรียกค้น
และสื่อสารระหว่างกัน นำามาใช้ให้เกิด ประโยชน์ได้ ซึ่ง
นักเรียนจะได้เรียนเพิ่มเติมต่อไป
เทคโนโลยีสารสนเทศ (IT : Information Technology)
หมายถึง การนำาวิทยาการที่ก้าวหน้าทางด้านคอมพิวเตอร์
และ การสื่อสารมาสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสารสนเทศ ทำาให้
สารสนเทศ มีประโยชน์และใช้งานได้กว้างขวางมากขึ้น
เทคโนโลยีสารสนเทศ รวมถึงการใช้เทคโนโลยีด้านต่างๆ
ในการรวบรวม จัดเก็บ ใช้งาน ส่งต่อ หรือสื่อสารระหว่าง
กัน เทคโนโลยีสารสนเทศเกี่ยวข้อง โดยตรงกับเครื่องมือ
เครื่องใช้ในการจัดการสารสนเทศ ได้แก่ เครื่อง
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์รอบข้าง ขั้นตอนวิธีการดำาเนิน
การซึ่งเกี่ยวข้องกับซอฟต์แวร์ เกี่ยวข้องกับตัวข้อมูล
บุคลากร และกรรมวิธีการดำาเนินงานเพื่อให้ข้อมูลเกิด
ประโยชน์สูงสุด
เทคโนโลยีสารสนเทศจึงเป็นเทคโนโลยีทครอบคลุมเรื่อง
                                           ี่
เกี่ยวกับการประมวลผล ข้อมูล ซึงได้แก่การใช้เทคโนโลยี
                                    ่
คอมพิวเตอร์ การติดต่อสื่อสารระหว่างกันด้วยความรวดเร็ว
การจัดการข้อมูล รวมถึงวิธีการที่จะใช้ข้อมูลให้เกิด
ประโยชน์สูงสุด
ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี

ในภาวะสังคมปัจจุบัน หลายสิ่งหลายอย่างที่เกิดขึ้นรอบตัว
เป็นตัวชี้บอกว่า ประเทศไทยกำาลังก้าวสู่ยุคสารสนเทศ ดัง
จะเห็นได้จากวงการศึกษาสนใจให้ความรู้ด้านคอมพิวเตอร์
และส่งเสริมการนำาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาประยุกต์งาน
ต่างๆ มากขึ้น การบริหารธุรกิจของบริษัทห้างร้านต่างๆ
ตลอดจนหน่วยงานของรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจมีการพัฒนา
ระบบสารสนเทศเพื่อใช้ในองค์การด้วยการเก็บข้อมูล
ประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูลแล้วนำาผลลัพธ์มาช่วยใน
การวางแผนและตัดสินใจ
ระยะเริ่มแรกที่มนุษย์ได้คิดค้นประดิษฐ์คอมพิวเตอร์ที่มี
ลักษณะเป็นเครื่องคำานวณอิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ได้
ถูกใช้ทำางานด้านการคำานวณทางวิทยาศาสตร์เป็นส่วน
ใหญ่แล้วจึงนำามาใช้เก็บรวบรวมและประมวลผลข้อมูลทาง
ด้านธุรกิจในเวลาต่อมา ระยะแรกนี้เรียกว่าระยะการ
ประมวลผลข้อมูล (data processing age) ข้อมูลที่ได้มา
จะต้องผ่านการประมวลผลให้ได้เป็นสารสนเทศก่อน จึงนำา
ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ วิธีการประมวลผลข้อมูลจะเริ่ม
ตั้งแต่การรวบรวมจัดเก็บข้อมูล เมื่อได้ข้อมูลแล้วต้องได้รับ
การตรวจสอบความถูกต้อง แบ่งกลุ่มจัดประเภทของข้อมูล
เช่น ข้อมูลตัวอักษรซึ่งเป็นชื่อหรือข้อความก็อาจต้องมีการ
เรียงลำาดับ และข้อมูลตัวเลขก็อาจต้องมีการคำานวณ จาก
นั้นจึงทำาสรุปได้เป็นสารสนเทศออกมา ถ้าข้อมูลที่นำามา
ประมวลผลมีจำานวนมากจนเกินความสามารถของมนุษย์ที่
จะทำาได้ในเวลาอันสั้น ก็จำาเป็นจะต้องนำาคอมพิวเตอร์มา
ช่วยเก็บและประมวลผล เมื่อข้อมูลอยู่ภายในคอมพิวเตอร์
การแก้ไขหรือเรียกค้นสามารถทำาได้ง่ายและสะดวก ขณะ
เดียวกันการทำาสำาเนาและการแจกจ่ายข้อมูล ก็สามารถ
ดำาเนินการได้ทันที
งานที่เกิดขึ้นจากการประมวลผลข้อมูลมักเก็บในลักษณะ
แฟ้มข้อมูล ตัวอย่างเช่น การทำาบัญชีเงินเดือนของ
พนักงานในบริษัท ข้อมูลเงินเดือนของพนักงานที่เก็บใน
คอมพิวเตอร์จะรวมกันเป็นแฟ้มข้อมูลที่ประกอบด้วยชื่อ
พนักงาน เงินเดือน และข้อมูลสำาคัญอื่น โปรแกรม
คอมพิวเตอร์จะเรียกแฟ้มเงินเดือนมาประมวลผลและสรุป
ผลรวมยอดขั้นตอนการทำางานจะต้องทำาพร้อมกันทีเดียว
ทั้งแฟ้มข้อมูล ที่เรียกว่า การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch
processing)
แต่เนื่องจากระบบงานที่เกิดขึ้นภายในองค์การค่อนข้างซับ
ซ้อน เช่น รายได้ของพนักงานที่ได้รับในแต่ละเดือน อาจ
ไม่ได้มาจากอัตราเงินเดือนประจำาเท่านั้น แต่อาจมีค่า นาย
หน้าจากการขายสินค้าด้วย ในลักษณะนี้แฟ้มข้อมูลการ
ขาย จะสัมพันธ์กับแฟ้มข้อมูลเงินเดือน และสัมพันธ์กับ
แฟ้มข้อมูลอื่นๆ เช่น ค่าสวัสดิการ การหักเงินเดือนเป็นค่า
ใช้จ่ายต่างๆ ระบบข้อมูลจะกลายเป็นระบบที่มีแฟ้มข้อมูล
หลายแฟ้มเชื่อมสัมพันธ์กัน และโปรแกรมคอมพิวเตอร์
เรียกแฟ้มข้อมูลเหล่านั้นมาจัดการให้เป็นไปตามที่ต้องการ
ระบบนี้เรียกว่า ระบบฐานข้อมูล (database system)
การจัดการข้อมูลที่เป็นฐานข้อมูล จะเป็นระบบสารสนเทศ
ที่มีประโยชน์ซึ่งนำาไปช่วยงานด้านต่างๆ อย่างได้ผล ระบบ
ข้อมูลที่สร้างเพื่อใช้ในบริษัทจะเป็นระบบฐานข้อมูลของ
กิจกรรมที่เกิดขึ้น เพื่อแสดงสารสนเทศที่เป็นจริงของ
บริษัท สามารถนำาข้อเท็จจริงนั้นไปวิเคราะห์และนำา
ผลลัพธ์ไปประกอบการตัดสินใจของผู้บริหาร เพื่อการ
วางแผนและกำาหนดนโยบายการจัดการต่าง ๆ
ในปัจจุบันการนำาคอมพิวเตอร์ไปใช้งาน ของประเทศต่างๆ
ทั่วโลก อยู่ที่การใช้สารสนเทศเป็นส่วนใหญ่ แนวโน้มของ
ระบบ จัดการข้อมูลของยุคนี้ เริมเปลี่ยนจากระบบ งานการ
                                ่
ประมวลผลแบบกลุ่มมาเป็นระบบ ตอบสนองทันที ทีเรียก   ่
ว่า การประมวลผล แบบเชื่อมตรง (online processing)
เช่น การฝากถอนเงินของธนาคารต่างๆ ผ่านเครื่องรับ –
จ่ายเงินอัตโนมัติ (Automatic Teller Machine: ATM)
ขณะที่ประเทศต่างๆ ยังอยู่ในยุคของ การประมวลผล
สารสนเทศในบางประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่น ได้
พัฒนาเข้าสู่การประมวลผลฐานความรู้ (knowledge base
processing) โดยให้คอมพิวเตอร์ใช้ง่าย รู้จัก ตอบสนอง
กับผู้ใช้ และสามารถแก้ปัญหาที่ต้องอาศัย การตัดสินใจ
ระดับสูงด้วยการเก็บสะสมฐาน ความรู้ไว้ในคอมพิวเตอร์
และมีโครงสร้าง การให้เหตุผล เพื่อนำาความรู้มาช่วยแก้
ปัญหาที่สลับซับซ้อน
การประมวลผลฐานความรู้เป็นการ ประยุกต์หลักวิชาด้าน
ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) ที่รวบรวม
ศาสตร์หลายแขนง คือ คอมพิวเตอร์ จิตวิทยา ปรัชญา
และภาษาศาสตร์ เข้าด้วยกัน ตัวอย่าง ชิ้นงานได้แก่ หุน่
ยนต์ และระบบผู้เชี่ยวชาญ (expert system) ปัจจุบันมี
ซอฟต์แวร์ที่เป็นระบบผู้เชี่ยวชาญ ช่วยในการวินิจฉัยโรค
ต่าง ๆการสำารวจ ทรัพยากรธรรมชาติและการอนุมัติให้กู้ยืม
เงิน

More Related Content

What's hot

เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังpattaranit
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศKriangx Ch
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศKrunee Thitthamon
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศเทวัญ ภูพานทอง
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศkruchanon2555
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศdevilp Nnop
 
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศบทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศTheerapat Nilchot
 
หน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสย
หน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสยหน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสย
หน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสยsomdetpittayakom school
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1amphaiboon
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารNawaminthrachinuthit Bodindecha School
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์สราวุฒิ จบศรี
 
อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ป.4
อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ป.4อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ป.4
อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ป.4nareerat inthukhahit
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องAriya Soparux
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารNew Prapairin
 

What's hot (17)

เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
 
Lesson1
Lesson1Lesson1
Lesson1
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศบทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
หน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสย
หน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสยหน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสย
หน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสย
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1
 
Part1
Part1Part1
Part1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
 
อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ป.4
อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ป.4อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ป.4
อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ป.4
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
ระบบเทคโนโลยี
ระบบเทคโนโลยีระบบเทคโนโลยี
ระบบเทคโนโลยี
 

Viewers also liked

บทบาทเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทเทคโนโลยีสารสนเทศบทบาทเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทเทคโนโลยีสารสนเทศNapat Hauyam
 
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศtaenmai
 
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศNana Hassana
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศNpatsa Pany
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ taenmai
 
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศJL'mind Chutimon
 
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศPraphaphun Kaewmuan
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง คุณสมบัติของสารสนเทศที่ดี
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง คุณสมบัติของสารสนเทศที่ดีใบความรู้ที่ 4 เรื่อง คุณสมบัติของสารสนเทศที่ดี
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง คุณสมบัติของสารสนเทศที่ดีเทวัญ ภูพานทอง
 
4 ลักษณะของสารสนเทศที่ดี (ใบความรู้)
4 ลักษณะของสารสนเทศที่ดี (ใบความรู้)4 ลักษณะของสารสนเทศที่ดี (ใบความรู้)
4 ลักษณะของสารสนเทศที่ดี (ใบความรู้)phatrinn555
 
Definition of Information System
Definition of Information SystemDefinition of Information System
Definition of Information SystemLansey Wegner
 

Viewers also liked (12)

Reaksi reaksi kimia
Reaksi reaksi kimiaReaksi reaksi kimia
Reaksi reaksi kimia
 
บทบาทเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทเทคโนโลยีสารสนเทศบทบาทเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง คุณสมบัติของสารสนเทศที่ดี
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง คุณสมบัติของสารสนเทศที่ดีใบความรู้ที่ 4 เรื่อง คุณสมบัติของสารสนเทศที่ดี
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง คุณสมบัติของสารสนเทศที่ดี
 
GIS Presentation
GIS PresentationGIS Presentation
GIS Presentation
 
4 ลักษณะของสารสนเทศที่ดี (ใบความรู้)
4 ลักษณะของสารสนเทศที่ดี (ใบความรู้)4 ลักษณะของสารสนเทศที่ดี (ใบความรู้)
4 ลักษณะของสารสนเทศที่ดี (ใบความรู้)
 
Definition of Information System
Definition of Information SystemDefinition of Information System
Definition of Information System
 

Similar to บทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

ใบความรู้ สารสนเทศ1
ใบความรู้ สารสนเทศ1ใบความรู้ สารสนเทศ1
ใบความรู้ สารสนเทศ1Duangsuwun Lasadang
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1Tarinee Bunkloy
 
บทที่ 1 ความหมายและบทบาทของสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายและบทบาทของสารสนเทศบทที่ 1 ความหมายและบทบาทของสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายและบทบาทของสารสนเทศKanitta_p
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศWarakon Phommanee
 
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศKrieangsak Pholwiboon
 
งานนำเสนอ บทที่2
งานนำเสนอ บทที่2งานนำเสนอ บทที่2
งานนำเสนอ บทที่2sawitri555
 
ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศผลของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศป.ปลา ตากลม
 
ใบความรู้แผนที่ 2
ใบความรู้แผนที่  2ใบความรู้แผนที่  2
ใบความรู้แผนที่ 2Warakon Phommanee
 
Technology1
Technology1Technology1
Technology1vizaa
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารปิยะดนัย วิเคียน
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำPoonyapat Wongpong
 
เทคโนโลยีสารสนเทศส่ง
เทคโนโลยีสารสนเทศส่งเทคโนโลยีสารสนเทศส่ง
เทคโนโลยีสารสนเทศส่งpanida21
 
เทคโนโลยีสารสนเทศส่ง
เทคโนโลยีสารสนเทศส่งเทคโนโลยีสารสนเทศส่ง
เทคโนโลยีสารสนเทศส่งorawan34
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วfrankenjay
 

Similar to บทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ (20)

ใบความรู้ สารสนเทศ1
ใบความรู้ สารสนเทศ1ใบความรู้ สารสนเทศ1
ใบความรู้ สารสนเทศ1
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
บทที่ 1 ความหมายและบทบาทของสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายและบทบาทของสารสนเทศบทที่ 1 ความหมายและบทบาทของสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายและบทบาทของสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
A0141 20
A0141 20A0141 20
A0141 20
 
งานนำเสนอ บทที่2
งานนำเสนอ บทที่2งานนำเสนอ บทที่2
งานนำเสนอ บทที่2
 
ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศผลของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
TECHNO1
TECHNO1TECHNO1
TECHNO1
 
Ict
IctIct
Ict
 
Ict
IctIct
Ict
 
ใบความรู้แผนที่ 2
ใบความรู้แผนที่  2ใบความรู้แผนที่  2
ใบความรู้แผนที่ 2
 
Technology1
Technology1Technology1
Technology1
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศส่ง
เทคโนโลยีสารสนเทศส่งเทคโนโลยีสารสนเทศส่ง
เทคโนโลยีสารสนเทศส่ง
 
เทคโนโลยีสารสนเทศส่ง
เทคโนโลยีสารสนเทศส่งเทคโนโลยีสารสนเทศส่ง
เทคโนโลยีสารสนเทศส่ง
 
It
ItIt
It
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
 

บทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

  • 1. บทบาทความสำาคัญของเทคโนโลยี สารสนเทศ การเปลี่ยนแปลงสังคมความเป็นอยู่ของมนุษย์เป็นไปอย่าง รวดเร็ว กล่าวกันว่าได้เกิดการเปลี่ยนแปลงในลักษณะ ที่ เรียกว่า การปฏิวัติมาแล้วสองครั้ง ครั้งแรกเกิดจากการที่ มนุษย์รู้จักใช้ระบบชลประทาน เพื่อการเพาะปลูกสังคม ความเป็นอยู่ของมนุษย์จึงเปลี่ยนจากการเร่ร่อนมาเป็นการ ตั้งหลักแหล่ง เพื่อทำาการเกษตร ต่อมาเมื่อประมาณร้อย กว่าปีที่แล้ว ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 หลังจากที่เจมส์วัตต์ (James Watt ) ประดิษฐ์เครื่องจักรไอนำ้ามนุษย์รู้จักนำา เอาเครื่องจักรมาช่วยในอุตสาหกรรมการผลิต และช่วยใน การสร้างยานพาหนะ เพื่องานคมนาคมขนส่ง ผลทีตามมา ่ ทำาให้เกิดการปฏิวัติทางอุตสาหกรรม สังคมความเป็นอยู่ ของมนุษย์จึงเปลี่ยนจากสังคมเกษตรมาเป็นสังคมเมือง สังคมสารสนเทศที่มีการนำาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ งานในทุกวงการ การปฏิวัติอุตสาหกรรมยุคแรก เริ่มจากการใช้เครื่องจักรกล แทนการทำางานด้วยมือ พลังงานทีใช้ขับเคลื่อนเครื่องจักร ่ มาจากพลังงานนำ้าพลังงานไอนำ้า และเปลี่ยนเป็นพลังงาน จากนำ้ามันมีการขับเคลื่อนเครื่องยนต์และมอเตอร์ไฟฟ้า การปฏิวัติอุตสาหกรรมได้เกิดขึ้นอีก โดยเปลี่ยนแปลง ระบบการทำางานจากการทีละขั้นตอนมาเป็นการทำางาน ระบบอัตโนมัติ การทำางานเหล่านี้อาศัยระบบควบคุมด้วย คอมพิวเตอร์ทั้งสิ้น
  • 3. มีผู้กล่าวว่าการปฏิวัติครั้งที่สามกำาลังจะเกิดขึ้น โดยสิ่งที่ เกิดใหม่นี้ ได้แก่ การพัฒนาทางด้านความคิด การตัดสิน ใจ โดยอาศัยหลักการของคอมพิวเตอร์ ในอนาคตกลุ่มคน เพียงกลุ่มเดียวอาจทำางานทั้งหมดโดยอาศัยระบบ คอมพิวเตอร์ควบคุม ทำาการควบคุมหุ่นยนต์คอมพิวเตอร์ และให้หุ่นยนต์ควบคุมการทำางานของเครื่องจักรอีกต่อหนึ่ง ความเจริญก้าวหน้าทางอุตสาหกรรมเกือบทุกแขนงมี คอมพิวเตอร์เข้ามาเกี่ยวข้องด้วยเสมอ ระบบการผลิต ส่วน ใหญ่ต้องใช้คอมพิวเตอร์และอิเล็กทรอนิกส์แทรกเข้ามา เกือบทุกกระบวนการ ตังแต่ การควบคุม การขนส่งวัตถุดิบ ้ กระบวนการผลิต และการบรรจุหีบห่อ ในระดับประเทศประเทศไทยสั่งซื้อสินค้าเทคโนโลยีระดับ สูงเป็นปริมาณมาก ทำาให้ต้องซื้อเทคนิควิธีการ ตลอดจน เครื่อง มือเครื่องจักรเข้ามาในปริมาณมากไปด้วย ขณะ เดียวกันเรายัง ขาดบุคลากรที่จะพัฒนาเครื่องจักรเครื่องมือ เหล่านั้น ให้มีประ สิทธิภาพ การสูญเสียเงินตราเนื่องจาก สาเหตุนี้จึงเกิดขึ้นมิใช่น้อย หลายโรงงานยังไม่กล้าใช้ เครื่องจักรที่ใช้เทคโนโลยีใหม่ เพราะ หาบุคลากรใน การ ดำาเนินการได้ยาก แต่ในระยะหลังค่าจ้างแรง งานสูงขึ้น และการแข่งขัน ทางธุรกิจมีมากขึ้น จึงตกอยู่ในสภาวะ จำายอมที่ต้องนำาเครื่องมือเหล่านั้นเข้ามา เนื่องจากเครื่อง มือดังกล่าว ให้ผลผลิตทีดีกว่าของเดิมและทำาให้ราคา ่ ต้นทุนการผลิตสินค้าตำ่า ลงอีกด้วย ในยุควิกฤตการพลังงาน หลายประเทศพยายามลด การใช้ พลังงาน โรงงานพยายามหาทางควบคุมการใช้ พลังงาน ให้มีประสิทธิภาพสูงสุดเพื่อจะลดค่าใช้จ่ายลง จึงมีการนำา คอมพิวเตอร์มาช่วยควบคุม เช่น ควบคุมการเดิน เครื่องให้ เหมาะสม ควบคุมปริมาณการเผาไหม้ของ เครื่องจักรใน กระบวนการผลิต ควบคุมการจัดภาระงาน ให้เหมาะสม รวมถึงการควบคุมสิ่งแวดล้อมต่างๆ ด้วย เมื่อคอมพิวเตอร์เข้ามาเกี่ยวข้องกับการดำาเนินชีวิตของ มนุษย์มากขึ้น ได้มีการพัฒนางานทางด้านเทคโนโลยี
  • 4. สารสนเทศขึ้น และในปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศได้เข้า มามีบทบาทต่อชีวิตประจำาวันของมนุษย์มากขึ้น สังเกตได้ จากการนำาคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลมาใช้ในสำานักงาน การ จัดทำาระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ การใช้อุปกรณ์อำานวย ความสะดวกที่ประกอบด้วยชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ แสดงว่า เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการคำานวณและ เก็บข้อมูลได้ แพร่ไปทั่วทุกแห่ง เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทสำาคัญ ต่อการแข่งขันด้านธุรกิจและการขยายตัวของบริษัท ส่งผล ต่อการให้บริการขององค์การและหน่วยงาน และมีผลต่อ การประกอบกิจในแต่ละวัน เทคโนโลยีสารสนเทศเริ่มใช้งานในประเทศไทย เมื่อไม่ นานมานี้เอง โดยในปี พ.ศ. 2507 คอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในประเทศไทยเป็นครั้งแรก และใน ขณะนั้นเทคโนโลยีสารสนเทศยังไม่แพร่หลายนัก จะมี เพียงการใช้โทรศัพท์เพื่อการติดต่อสื่อสารและนำา คอมพิวเตอร์มาช่วยประมวลผลข้อมูล งานด้านสารสนเทศ อื่น ๆ ส่วนใหญ่ยังคงเป็นงาน ภายในสำานักงานที่ยังไม่มี อุปกรณ์และเครื่องมือด้านเทคโนโลยีมาช่วยงานเท่าใดนัก เมื่อมีการประดิษฐ์คิดค้นอุปกรณ์ช่วยงานสารสนเทศ เช่น เครื่องถ่ายเอกสาร โทรสาร และไมโครคอมพิวเตอร์ อาชีพ ของประชากรก็ปรับเปลี่ยนมาสู่งานด้านสารสนเทศมากขึ้น สำานักงานเป็นแหล่งที่มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาก ที่สุด เช่น การใช้คอมพิวเตอร์ทำาบัญชีเงินเดือนและบัญชี รายรับรายจ่าย การติดต่อสื่อสารภายในและภายนอกโดย โทรศัพท์และ โทรสาร การจัดเตรียมเอกสารด้วยการใช้ เครื่องถ่ายเอกสารและคอมพิวเตอร์ งานด้านสารสนเทศมีแนวโน้มขยายตัวที่ค่อนข้างสดใส เพราะเทคโนโลยีด้านนี้ได้รับการส่งเสริมสนับสนุนอย่าง เต็มที่ มีการวิจัยและพัฒนาให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ ออกมา ตอบสนองความต้องการของมนุษย์อยู่ตลอดเวลา การใช้คอมพิวเตอร์ทำางานในสำานักงาน
  • 5. เทคโนโลยีที่ใช้ในระบบสารสนเทศที่กำาลังได้รับความ สนใจอย่างมากในขณะนี้ คือ เทคโนโลยีสื่อประสม (multimedia) ซึ่งรวมข้อความ ภาพ เสียงและวิดีทศน์เข้า ั มาผสมกัน เทคโนโลยีนี้กำาลังได้รับการพัฒนา ในอนาคต เทคโนโลยีแบบสื่อประสม จะช่วยเสริมและสนับสนุนงาน ด้านสารสนเทศให้ก้าวหน้าต่อไป เป็นที่คาดหมายว่าอัตรา การเติบโตของ ผูทำางานด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศจะมี ้ มากขึ้น แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศค่อยๆ กลายมาเป็น ระบบรวม โดยให้คอมพิวเตอร์ระบบหนึ่งทำางานพร้อมกัน ได้หลายๆ อย่าง นอกจากใช้ประมวลผลข้อมูลด้านบัญชี แล้ว ยังใช้งานจัดเตรียมเอกสารแทนเครื่องพิมพ์ดีด ใช้รับ ส่งข้อความ หรือจดหมายกับคอมพิวเตอร์ที่อยู่ห่างไกล ซึง ่ อาจอยู่คนละซีกโลกในลักษณะที่เรียกว่า ไปรษณีย์ อิเล็กทรอนิกส์ สำาหรับเครื่องถ่ายเอกสาร นอกจากจะใช้ ถ่ายสำาเนาเอกสารตามปกติแล้ว อาจเพิ่มขีด ความสามารถ ให้ใช้งานเป็นเครื่องพิมพ์ หรือรับส่งโทรสารได้อีกด้วย การพัฒนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นไปอย่างรวดเร็ว ทั้งด้านฮาร์ดแวร์ (hardware) ซอฟต์แวร์ (software) ด้านข้อมูลและการติดต่อสื่อสาร ผูใช้จงต้องปรับตัวยอมรับ ้ ึ และเรียนรู้ เทคโนโลยีใหม่ที่เกิดขึ้นอยู่เสมอ โดยเฉพาะ ข้อมูลและ การติดต่อสื่อสาร (communication) ซึงเป็น ่ หัวใจสำาคัญของ การดำาเนินธุรกิจ หากการดำาเนินงานธุรกิจ ใช้ข้อมูลซึงมีการบันทึกใส่กระดาษและเก็บรวบรวมใส่ ่ แฟ้มการเรียกค้นและสรุปผลข้อมูลย่อมทำาได้ช้า และเกิด ความผิดพลาดได้ง่ายกว่า การประมวล ผลข้อมูลด้วย เครื่องคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศจะช่วยให้ ทำางานได้ง่าย สะดวก รวดเร็ว และถูกต้องขึ้น และที่สำาคัญ ช่วยให้สามารถตัดสินใจดำาเนินงานได้เร็ว ขอบเขตของเทคโนโลยีสารสนเทศ
  • 6. คำาว่า เทคโนโลยี หมายถึง การประยุกต์เอาความรู้ทาง ด้านวิทยาศาสตร์ ความจริงเกี่ยวกับธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อม มาทำาให้เกิดประโยชน์ต่อมวลมนุษย์ เทคโนโลยี จึงเป็นวิธีการในการสร้างมูลค่าเพิ่มของสิ่งต่างๆ ให้เกิด ประโยชน์มากยิ่งขึ้น เช่น ทรายหรือซิลิกอน (silikon) เป็น สารแร่ที่พบเห็นทั่วไปตามชายหาด หากนำามาสกัดด้วย เทคนิควิธีการสร้างเป็น ชิป (chip) จะทำาให้สารแร่ซิลิกอน นั้นมีคุณค่า และมูลค่าเพิ่มขึ้นได้อีกมาก สำาหรับสารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่เป็นเรื่องเกี่ยวข้องกับ ความจริงของคน สัตว์ สิ่งของ ทังที่เป็นรูปธรรมและ ้ นามธรรม ที่ได้รับการจัดเก็บรวบรวม ประมวลผล เรียกค้น และสื่อสารระหว่างกัน นำามาใช้ให้เกิด ประโยชน์ได้ ซึ่ง นักเรียนจะได้เรียนเพิ่มเติมต่อไป เทคโนโลยีสารสนเทศ (IT : Information Technology) หมายถึง การนำาวิทยาการที่ก้าวหน้าทางด้านคอมพิวเตอร์ และ การสื่อสารมาสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสารสนเทศ ทำาให้ สารสนเทศ มีประโยชน์และใช้งานได้กว้างขวางมากขึ้น เทคโนโลยีสารสนเทศ รวมถึงการใช้เทคโนโลยีด้านต่างๆ ในการรวบรวม จัดเก็บ ใช้งาน ส่งต่อ หรือสื่อสารระหว่าง กัน เทคโนโลยีสารสนเทศเกี่ยวข้อง โดยตรงกับเครื่องมือ เครื่องใช้ในการจัดการสารสนเทศ ได้แก่ เครื่อง คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์รอบข้าง ขั้นตอนวิธีการดำาเนิน การซึ่งเกี่ยวข้องกับซอฟต์แวร์ เกี่ยวข้องกับตัวข้อมูล บุคลากร และกรรมวิธีการดำาเนินงานเพื่อให้ข้อมูลเกิด ประโยชน์สูงสุด เทคโนโลยีสารสนเทศจึงเป็นเทคโนโลยีทครอบคลุมเรื่อง ี่ เกี่ยวกับการประมวลผล ข้อมูล ซึงได้แก่การใช้เทคโนโลยี ่ คอมพิวเตอร์ การติดต่อสื่อสารระหว่างกันด้วยความรวดเร็ว การจัดการข้อมูล รวมถึงวิธีการที่จะใช้ข้อมูลให้เกิด ประโยชน์สูงสุด
  • 7. ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี ในภาวะสังคมปัจจุบัน หลายสิ่งหลายอย่างที่เกิดขึ้นรอบตัว เป็นตัวชี้บอกว่า ประเทศไทยกำาลังก้าวสู่ยุคสารสนเทศ ดัง จะเห็นได้จากวงการศึกษาสนใจให้ความรู้ด้านคอมพิวเตอร์ และส่งเสริมการนำาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาประยุกต์งาน ต่างๆ มากขึ้น การบริหารธุรกิจของบริษัทห้างร้านต่างๆ ตลอดจนหน่วยงานของรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจมีการพัฒนา ระบบสารสนเทศเพื่อใช้ในองค์การด้วยการเก็บข้อมูล ประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูลแล้วนำาผลลัพธ์มาช่วยใน การวางแผนและตัดสินใจ ระยะเริ่มแรกที่มนุษย์ได้คิดค้นประดิษฐ์คอมพิวเตอร์ที่มี ลักษณะเป็นเครื่องคำานวณอิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ได้ ถูกใช้ทำางานด้านการคำานวณทางวิทยาศาสตร์เป็นส่วน ใหญ่แล้วจึงนำามาใช้เก็บรวบรวมและประมวลผลข้อมูลทาง ด้านธุรกิจในเวลาต่อมา ระยะแรกนี้เรียกว่าระยะการ ประมวลผลข้อมูล (data processing age) ข้อมูลที่ได้มา จะต้องผ่านการประมวลผลให้ได้เป็นสารสนเทศก่อน จึงนำา ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ วิธีการประมวลผลข้อมูลจะเริ่ม ตั้งแต่การรวบรวมจัดเก็บข้อมูล เมื่อได้ข้อมูลแล้วต้องได้รับ การตรวจสอบความถูกต้อง แบ่งกลุ่มจัดประเภทของข้อมูล เช่น ข้อมูลตัวอักษรซึ่งเป็นชื่อหรือข้อความก็อาจต้องมีการ เรียงลำาดับ และข้อมูลตัวเลขก็อาจต้องมีการคำานวณ จาก นั้นจึงทำาสรุปได้เป็นสารสนเทศออกมา ถ้าข้อมูลที่นำามา ประมวลผลมีจำานวนมากจนเกินความสามารถของมนุษย์ที่ จะทำาได้ในเวลาอันสั้น ก็จำาเป็นจะต้องนำาคอมพิวเตอร์มา ช่วยเก็บและประมวลผล เมื่อข้อมูลอยู่ภายในคอมพิวเตอร์ การแก้ไขหรือเรียกค้นสามารถทำาได้ง่ายและสะดวก ขณะ
  • 8. เดียวกันการทำาสำาเนาและการแจกจ่ายข้อมูล ก็สามารถ ดำาเนินการได้ทันที งานที่เกิดขึ้นจากการประมวลผลข้อมูลมักเก็บในลักษณะ แฟ้มข้อมูล ตัวอย่างเช่น การทำาบัญชีเงินเดือนของ พนักงานในบริษัท ข้อมูลเงินเดือนของพนักงานที่เก็บใน คอมพิวเตอร์จะรวมกันเป็นแฟ้มข้อมูลที่ประกอบด้วยชื่อ พนักงาน เงินเดือน และข้อมูลสำาคัญอื่น โปรแกรม คอมพิวเตอร์จะเรียกแฟ้มเงินเดือนมาประมวลผลและสรุป ผลรวมยอดขั้นตอนการทำางานจะต้องทำาพร้อมกันทีเดียว ทั้งแฟ้มข้อมูล ที่เรียกว่า การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing) แต่เนื่องจากระบบงานที่เกิดขึ้นภายในองค์การค่อนข้างซับ ซ้อน เช่น รายได้ของพนักงานที่ได้รับในแต่ละเดือน อาจ ไม่ได้มาจากอัตราเงินเดือนประจำาเท่านั้น แต่อาจมีค่า นาย หน้าจากการขายสินค้าด้วย ในลักษณะนี้แฟ้มข้อมูลการ ขาย จะสัมพันธ์กับแฟ้มข้อมูลเงินเดือน และสัมพันธ์กับ แฟ้มข้อมูลอื่นๆ เช่น ค่าสวัสดิการ การหักเงินเดือนเป็นค่า ใช้จ่ายต่างๆ ระบบข้อมูลจะกลายเป็นระบบที่มีแฟ้มข้อมูล หลายแฟ้มเชื่อมสัมพันธ์กัน และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เรียกแฟ้มข้อมูลเหล่านั้นมาจัดการให้เป็นไปตามที่ต้องการ ระบบนี้เรียกว่า ระบบฐานข้อมูล (database system) การจัดการข้อมูลที่เป็นฐานข้อมูล จะเป็นระบบสารสนเทศ ที่มีประโยชน์ซึ่งนำาไปช่วยงานด้านต่างๆ อย่างได้ผล ระบบ ข้อมูลที่สร้างเพื่อใช้ในบริษัทจะเป็นระบบฐานข้อมูลของ กิจกรรมที่เกิดขึ้น เพื่อแสดงสารสนเทศที่เป็นจริงของ บริษัท สามารถนำาข้อเท็จจริงนั้นไปวิเคราะห์และนำา ผลลัพธ์ไปประกอบการตัดสินใจของผู้บริหาร เพื่อการ วางแผนและกำาหนดนโยบายการจัดการต่าง ๆ ในปัจจุบันการนำาคอมพิวเตอร์ไปใช้งาน ของประเทศต่างๆ ทั่วโลก อยู่ที่การใช้สารสนเทศเป็นส่วนใหญ่ แนวโน้มของ ระบบ จัดการข้อมูลของยุคนี้ เริมเปลี่ยนจากระบบ งานการ ่ ประมวลผลแบบกลุ่มมาเป็นระบบ ตอบสนองทันที ทีเรียก ่
  • 9. ว่า การประมวลผล แบบเชื่อมตรง (online processing) เช่น การฝากถอนเงินของธนาคารต่างๆ ผ่านเครื่องรับ – จ่ายเงินอัตโนมัติ (Automatic Teller Machine: ATM) ขณะที่ประเทศต่างๆ ยังอยู่ในยุคของ การประมวลผล สารสนเทศในบางประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่น ได้ พัฒนาเข้าสู่การประมวลผลฐานความรู้ (knowledge base processing) โดยให้คอมพิวเตอร์ใช้ง่าย รู้จัก ตอบสนอง กับผู้ใช้ และสามารถแก้ปัญหาที่ต้องอาศัย การตัดสินใจ ระดับสูงด้วยการเก็บสะสมฐาน ความรู้ไว้ในคอมพิวเตอร์ และมีโครงสร้าง การให้เหตุผล เพื่อนำาความรู้มาช่วยแก้ ปัญหาที่สลับซับซ้อน การประมวลผลฐานความรู้เป็นการ ประยุกต์หลักวิชาด้าน ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) ที่รวบรวม ศาสตร์หลายแขนง คือ คอมพิวเตอร์ จิตวิทยา ปรัชญา และภาษาศาสตร์ เข้าด้วยกัน ตัวอย่าง ชิ้นงานได้แก่ หุน่ ยนต์ และระบบผู้เชี่ยวชาญ (expert system) ปัจจุบันมี ซอฟต์แวร์ที่เป็นระบบผู้เชี่ยวชาญ ช่วยในการวินิจฉัยโรค ต่าง ๆการสำารวจ ทรัพยากรธรรมชาติและการอนุมัติให้กู้ยืม เงิน