SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
Download to read offline
ระบบประสาทแบ่งเป็น
1.ระบบประสาทส่วนกลาง
(Central nervous system; CNS):
สมอง(brain) และไขสันหลัง(spinal cord)
ทาหน้าที่รวบรวมและแปลผลข้อมูล
2.ระบบประสาทรอบนอก
(Peripheral nervous system; PNS) :
เส้นประสาทสมอง(cranial nerve)
เส้นประสาทไขสันหลัง(spinal nerve) และ
ปมประสาท (ganglia) ทาหน้าที่นาสัญญาณ
ประสาทเข้า-ออก CNS และควบคุมการ
เปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมภายในร่างกาย
ระบบประสาทในสัตว์มีกระดูกสันหลัง
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 1กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
1.ส่วนที่รับสัญญาณเข้า (sensory input) จาก sensory receptor
2.ส่วนที่รวบรวมและแปลผล (integration center) : CNS
3.ส่วนที่ส่งสัญญาณออก (motor output) ไปยัง effector cells
การทางานของระบบประสาท
PNS
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 2กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา 3
สมองและไขสันหลัง เป็นศูนย์กลาง
หรือศูนย์ควบคุมระบบประสาทของคน พัฒนา
มาจากหลอดประสาท (neural tube) ซึ่ง
เป็นโครงสร้างที่มีลักษณะเป็นหลอดยาวไปตาม
แนวสันหลังของตัวอ่อน (embryo) ส่วน
หน้าพองออกเป็นสมอง ส่วนท้ายเปลี่ยนไป
เป็นไขสันหลัง
ศูนย์กลางของระบบประสาท
(Central nervous system; CNS)
Embryonic Development of the Brain
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 4กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา 5
สมองและไขสันหลัง มีเยื่อหุ้ม 3 ชั้น คือ
1.ชั้นนอก (dura mater) เป็นเยื่อหนา เหนียว แข็งแรง มีหน้าที่ป้องกัน
การกระทบกระเทือนแก่สมองและไขสันหลัง
2.ชั้นกลาง (arachnoid mater) เป็นเยื่อบางๆ ทาหน้าที่กันการกระทบ
กระเทือนต่อระบบประสาทกลาง
3.ชั้นใน (pia mater) เป็นเยื่อที่แนบสนิทกับรอยโค้งเว้าของสมองและไข
สันหลัง เป็นชั้นที่มีหลอดเลือดมาหล่อเลี้ยงเพื่อนาอาหาร และออกซิเจนมาให้สมอง
และไขสันหลัง
ระหว่างเยื่อหุ้มสมองชั้นกลางและชั้นในเป็นที่อยู่ของน้าเลี้ยงสมองและไขสันหลัง
(cerebrospinal fluid) มีหน้าที่ หล่อเลี้ยงสมองและไขสันหลังให้ชื้นอยู่เสมอ
นาออกซิเจนและอาหารมาเลี้ยงเซลล์ประสาท และนาของเสียออกจากเซลล์
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา 6
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา 7
สมอง (Brain)
สมอง (brain) เป็นอวัยวะที่สาคัญและซับซ้อนที่สุดของระบบประสาท
และมีขนาดใหญ่กว่าส่วนอื่นๆ มีคลื่นหรือรอยหยัก (convolution) มาก
เพื่อเพิ่มพื้นที่ในการคิดและการจา สมองมีหน้าที่สาคัญ คือ เป็นตัวผสมผสาน
กระแสความรู้สึกที่รับเข้ามาจากอวัยวะสัมผัสต่างๆ และนาออกไปที่เอฟเฟกเตอร์
และมีหน้าที่ในการผสมผสานเชื่อมโยงกิจกรรมต่างๆ ทั้งที่อยู่นอกอานาจจิตใจ
และภายใต้อานาจจิตใจในทุกส่วนของร่างกาย สมองมีสองซีกคือซีกซ้ายและซีก
ขวา โดยสมองซีกซ้ายจะควบคุมการทางานของอวัยวะทางซีกขวา ส่วนสมองซีกขวา
จะควบคุม การทางานของอวัยวะซีกซ้าย
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา 8
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา 9
สมองแบ่งเป็น 2 ชั้นคือ
1. ชั้นนอกมีเนื้อสีเทา (Grey matter) เป็นที่รวมของตัวเซลล์ประสาท
และแอกซอนชนิดไม่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม
2. ชั้นในมีสีขาว (White matter) เป็นสารพวกไขมัน ตัวเซลล์ประสาทมี
เยื่อไมอีลินหุ้ม
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 10กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
สมองของคนแบ่งเป็น 3 ส่วน คือ สมองส่วนหน้า (fore brain)
สมองส่วนกลาง (mid brain) และ สมองส่วนท้าย (hind brain)
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา 11
แบ่งเป็น 3 ส่วน ได้แก่ เซรีบรัม ทาลามัส และไฮโพทาลามัส
1. เซรีบรัม (cerebrum) เป็นสมองส่วนหน้าสุด ใหญ่ที่สุด
และเจริญมากที่สุด มีหน้าที่ เก็บข้อมูลสิ่งต่างๆ มีความจา ความคิด เชาวน์
เป็นศูนย์รับความรู้สึก มองเห็น ได้ยิน กลิ่น รส สัมผัส เจ็บ-ปวด ร้อน-
เย็น และควบคุมการทางานของกล้ามเนื้อ
แบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือ frontal lobe, parietal lobe,
temporal lobe และ occipital lobe
สมองส่วนหน้า (fore brain)
โครงสร้างและหน้าที่ในสมองซีรีบรัมส่วนต่างๆ
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 12กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา 13
2. ทาลามัส (thalamus) เป็นบริเวณที่รวมกลุ่มของตัวเซลล์ประสาท และ
เนื้อเยื่อ ทาหน้าที่เป็นศูนย์รวมกระแสประสาทที่ผ่านเข้ามา แล้วแยกกระแส
ประสาทส่งไปยังสมองที่เกี่ยวข้องกับกระแสประสาทนั้นๆ
3. ไฮโพทาลามัส (hypothalamus) เป็นรูปกรวยอยู่ส่วนล่างสุดของสมอง
ส่วนหน้า เป็นส่วนที่เชื่อมระหว่างระบบประสาทกับระบบต่อมไร้ท่อ โดยปลายสุด
เป็นต่อมใต้สมอง (pituitary gland) เซลล์ประสาทบริเวณนี้สร้างฮอร์โมน
ซึ่งมีหน้าที่เป็นศูนย์ควบคุมอาการและพฤติกรรมของร่างกาย รวมถึงควบคุมสมดุล
ต่าง ๆ ในร่างกาย เช่น อุณหภูมิ ความดันเลือด อารมณ์ ความรู้สึกทางเพศ
ความสมดุลของน้าในร่างกาย ความกลัว การเต้นของหัวใจ
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา 14
The Limbic System
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 15กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
The limbic system generates the feeling; emotion and memory
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา 16
มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับ
การควบคุมการเคลื่อนไหว
ของนัยน์ตาทาให้ลูกตากลอก
ไปมาได้ ควบคุมการเปิดปิด
ของม่านตา
สมองส่วนกลาง (mid brain)
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา 17
แบ่งเป็น 3 ส่วนได้แก่
1. เซรีเบลลัม (cerebellum) เป็นสมองที่ควบคุมและประสานงานเกี่ยวกับการ
ทางานของกล้ามเนื้อ ควบคุมการทรงตัวและควบคุมการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อลาย
ทาให้ทางานประณีตละเอียดอ่อน เที่ยงตรง สัตว์ที่เคลื่อนที่ 3 มิติ มีสมองส่วนนี้
เจริญดี
2. เมดัลลาออบลองกาตา (medulla oblongata) เป็นส่วนที่เชื่อมต่อ
ระหว่างสมองกับไขสันหลังมีรูปร่างคล้ายไขสันหลัง เมดัลลาออบลองกาตาเป็นทางผ่าน
ของกระแสประสาทระหว่างสมองกับไขสันหลัง มีหน้าที่ควบคุมอวัยวะภายในและ
ควบคุมระบบประสาทอัตโนวัติ
สมองส่วนท้าย (hind brain)
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา 18
3. พอนส์ (pons) อยู่ด้านหน้าของเซรีเบลลัม มีหน้าที่ควบคุมเกี่ยวกับการ
เคี้ยวอาหาร การหลั่งน้าลาย การหายใจ การฟัง การเคลื่อนไหวบริเวณใบหน้า
และถ่ายทอดความรู้สึกระหว่างเซรีบรัมกับเซรีเบลลัม
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา 19
คือ ส่วนของสมองส่วนกลาง พอนส์ และเมดัลลาออบลองกาตารวมกัน ภายใน
ก้านสมองมีกลุ่มเซลล์ประสาท และใยประสาทเชื่อมโยงระหว่างเมดัลลาออบลองกาตา
กับทาลามัส ทาหน้าที่ เป็นศูนย์ควบคุมการนอนหลับ ความรู้สึกตื่นตัวและ
สติสัมปชัญญะ ควบคุมการหายใจ ความดันเลือด ควบคุมอุณหภูมิและการหลั่ง
เอนไซม์
ก้านสมอง (brain stem)
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา 20
ไขสันหลัง (spinal cord)
เป็นเยื่อประสาทที่มีไซแนปส์ (synapse) มากที่สุด เมื่อตัดตามขวางจะเห็นบริเวณตอนกลาง
เป็นรูปคล้ายผีเสื้อ มี gray matter อยู่ด้านใน และ white matter อยู่ด้านนอก ด้านบน
(dorsal horn) มีปมประสาท (dorsal root ganglion) และด้านล่าง (ventral
horn) ซึ่งเป็นบริเวณที่มีไซแนปส์มากที่สุด
Peripheral Nervous System
ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมมี
cranial nerve 12 คู่
spinal nerve 31 คู่
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 21กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา 22
เป็นเส้นประสาทที่ออกมาจากสมองโดยตรง สัตว์แต่ละชนิดจะมีจานวนไม่เท่ากัน
เช่น ปลาและสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ามี 10 คู่ ส่วนสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม นก และ
สัตว์เลื้อยคลานมี 12 คู่ โดยเส้นประสาทสมองของมนุษย์แบ่งเป็น 3 ประเภทคือ
1. เส้นประสาทรับความรู้สึก (sensory nerve) ได้แก่ คู่ที่ 1 2 และ 8
ทาหน้าที่รับความรู้สึกจากอวัยวะส่งไปยังสมอง
2. เส้นประสาทส่งความรู้สึก (motor nerve) ได้แก่ 3 4 6 11 และ 12
ทาหน้าที่สั่งความรู้สึกจากสมองไปยังอวัยวะต่างๆ
3. เส้นประสาทผสม (mixed nerve) ได้แก่ 5 7 9 และ 10
ทาหน้าที่รับความรู้สึกและส่งความรู้สึก
เส้นประสาทสมอง (Cranial nerves)
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา 23
คู่ที่ ชื่อ หน้าที่ อวัยวะที่เกี่ยวข้อง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
Olfactory nerve
Optic nerve
Oculomotor nerve
Trochlear nerve
Trigeminal nerve
Abducent nerve
Facial nerve
Auditory nerve
Glossopharyngeal
nerve
Vagus nerve
Accessory nerve
Hypoglossal nerve
รับความรู้สึก
รับความรู้สึก
สั่งการ
สั่งการ
รับความรู้สึกและสั่งการ
สั่งการ
รับความรู้สึกและสั่งการ
รับความรู้สึก
รับความรู้สึกและสั่งการ
รับความรู้สึกและสั่งการ
สั่งการ
สั่งการ
จมูก
ตา
สมอง
สมอง
สมอง
สมอง
สมอง
หู
ลิ้น,คอหอย
ช่องอก ท้อง หัว ลาคอ
สมอง
สมอง
สมอง
สมอง
กล้ามเนื้อยึดลูกตา
กล้ามเนื้อยึดลูกตา
หน้าและฟัน
กล้ามเนื้อยึดลูกตา
กล้ามเนื้อใบหน้า
สมอง
สมอง
สมอง
ไหล่
กล้ามเนื้อลิ้น
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา 24
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา 25
เส้นประสาทไขสันหลัง (spinal nerves)
เป็นเส้นประสาทแบบผสม(mixed nerve) คือมีทั้งส่วนที่รับความรู้สึกและสั่งการ
ตรงโคนของเส้นประสาทไขสันหลังแยกเป็นรากบน (dorsal root) ต่ออยู่กับ
ดอร์ซัลฮอร์นของไขสันหลังทาหน้าที่รับความรู้สึก เนื่องจากมีปมประสาทรากบน
(dorsal root ganglion) ซึ่งตัวเซลล์รับความรู้สึกมีเดนไดรต์และแอกซอนจาก
รากบนยื่นเข้าไปในไขสันหลังและรากล่าง(ventral root) ต่ออยู่กับเวนทรัลฮอร์น
ทาหน้าที่สั่งการออกจากไขสันหลัง
เส้นประสาทไขสันหลังของคนมี 31 คู่ ดังนี้ บริเวณคอ 8 คู่ บริเวณอก 12 คู่
บริเวณเอว 5 คู่ กระเบนเหน็บ 5 คู่ ก้นกบ 1 คู่
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา 26
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา 27
1. เส้นประสาทบริเวณคอ (cervical nerve) 8 คู่
ส่งไปด้านหลังของศีรษะ คอ อกส่วนบน และแขน
2. เส้นประสาทบริเวณอก (thoracic nerver) 12 คู่
ส่งไปบริเวณลาตัว อกส่วนบนถึงท้องน้อย และแขนด้านใน
3. เส้นประสาทบริเวณเอว (lumbar nerve) 5 คู่
ส่งไปขาหนีบ หน้าแข้ง และหลังเท้า
4. เส้นประสาทบริเวณกระเบนเหน็บ (sacral nerve) 5 คู่
ส่งไปสะโพก ขาด้านหลัง และเท้าด้านนอก
5. เส้นประสาทบริเวณก้นกบ (coccygeal nerve) 1 คู่
ส่งไปอวัยวะสืบพันธุ์ และทวารหนัก
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา 28
เส้นประสาทไขสันหลังบริเวณ
ตั้งแต่คู่ที่ 2 ลงไปไม่มีไขสันหลัง
เป็นบริเวณที่แพทย์สามารถฉีดยา
เข้าไขสันหลังและเจาะน้าเลี้ยง
สมองได้ โดยทาอันตรายแก่ไขสัน
หลังน้อยมาก
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา 29
ระบบประสาทรอบนอก (peripheral nervous system : PNS) แบ่งเป็น
เส้นประสาทรับความรู้สึกและเส้นประสาทสั่งการซึ่งแบ่งได้เป็น 2 ระบบ ได้แก่
1. ระบบโซมาติก (somatic nervous system : SNS) เป็นระบบ
ประสาทที่ควบคุมการทางานของกล้ามเนื้อลาย
2. ระบบประสาทอัตโนวัติ (autonomic nervous system : ANS) เป็น
ระบบประสาทที่ควบคุมการทางานของกล้ามเนื้อเรียบ กล้ามเนื้อหัวใจ และต่อมต่างๆ
ซึ่งแบ่งออกเป็น ระบบประสาทซิมพาเทติก (sympathetic nervous system)
และระบบประสาทพาราซิมพาเทติก (parasympathetic nervous system)
ระบบประสาทสั่งการ (motor system)
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา 30
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา 31
ระบบประสาทโซมาติกเป็นระบบประสาทที่ควบคุมการทางานของกล้ามเนื้อลาย
โดยเซลล์ประสาทรับความรู้สึกจะรับกระแสประสาทจากหน่วยรับความรู้สึกผ่าน
เส้นประสาทไขสันหลัง หรือเส้นประสาทสมองเข้าสู่ไขสันหลังหรือสมอง และกระแส
ประสาทนาคาสั่งจากสมองส่ง ไปยังหน่วยปฏิบัติงาน ซึ่งเป็นกล้ามเนื้อลายบางครั้งอาจ
ทางานได้โดยรับคาสั่งจากไขสันหลังเท่านั้น เช่น ปฏิกิริยารีเฟลกซ์ต่างๆ
ปฏิกิริยารีเฟลกซ์ (reflex) เป็นปฏิกิริยาที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่มากระตุ้นโดย
อัตโนมัติ โดยไม่ต้องได้รับคาสั่งจากสมอง หมายถึง กิริยาอาการที่แสดงออกมา หรือการ
ทางานของหน่วยปฏิบัติงานของระบบประสาทส่วนกลางที่เกิดขึ้นทันทีทันใดโดยมิได้มี
การเตรียมตัวล่วงหน้า เป็นการสั่งการของไขสันหลังไม่ต้องอาศัยสมองส่วนเซรีบรัม
ระบบประสาทโซมาติก (somatic nervous system หรือ SNS)
Reflex
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 32กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
motor neuron
integration center
or interneuron
sensory receptor
sensory neuron
effector
รีเฟลกซ์ อาร์ค (reflex arc) เป็นวงการทางานของระบบประสาท ซึ่งทาหน้าที่อย่าง
สมบูรณ์ได้ต้องประกอบด้วยประสาท 5 ส่วน (ดังแผนภาพ) หรืออย่างน้อยที่สุด
ประกอบด้วยประสาท 2 ส่วน คือ เส้นประสาทรับความรู้สึกกับเซลล์ประสาทสั่งการ
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา 33
ควบคุมการทางานของกล้ามเนื้อเรียบ กล้ามเนื้อหัวใจ และต่อมต่างๆ เพื่อปรับ
ร่างกายให้เข้ากับสภาพแวดล้อม ประกอบด้วย
1. ระบบประสาทซิมพาเทติก (sympathetic nervous system) เป็น
ระบบที่เริ่มจากบริเวณไขสันหลังถึงเหนือกระเบนเหน็บ
2. ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก (parasympathetic nervous
system) เป็นระบบที่อยู่บริเวณเหนือไขสันหลัง และกระเบนเหน็บ
เส้นประสาทของระบบประสาทอัตโนวัติ มี 2 ตอน คือ
1. เส้นประสาทหน้าปมประสาทหรือเซลล์ประสาทก่อนปมประสาท เชื่อมระหว่าง
ระบบประสาทส่วนกลางกับปมประสาทอัตโนวัติ
2. เส้นประสาทหลังปมประสาทหรือเซลล์ประสาทหลังปมประสาท เป็น
เส้นประสาทที่เชื่อมระหว่างปมประสาทอัตโนวัติกับอวัยวะตอบสนอง
ระบบประสาทอัตโนวัติ (autonomic nervous system : ANS)
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา 34
Parasympathetic and sympathetic nervous system
-parasympathetic และ sympathetic มักจะทางานตรงข้ามกัน
-sympathetic มักจะกระตุ้นการทางานของอวัยวะที่ทาให้เกิดการตื่นตัว หรือเวลา
ตกใจ และก่อให้เกิดพลังงาน ในขณะที่ parasympathetic จะเกิดตรงกันข้าม
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 35กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา 36
คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา 37

More Related Content

What's hot

ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnflimgold
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์Arocha Chaichana
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 
การทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาทการทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาทDew Thamita
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์Phattarawan Wai
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมdnavaroj
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารพัน พัน
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทThitaree Samphao
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)Thitaree Samphao
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกTa Lattapol
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์Anissa Aromsawa
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศkrupornpana55
 
แบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทแบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทWichai Likitponrak
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 

What's hot (20)

ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
 
การทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาทการทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาท
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 
แบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทแบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาท
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 

Viewers also liked

วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1Thanyamon Chat.
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกThanyamon Chat.
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightThanyamon Chat.
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2Thanyamon Chat.
 
พันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายพันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายThanyamon Chat.
 
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงThanyamon Chat.
 
Hormone and response plant
Hormone and response plantHormone and response plant
Hormone and response plantThanyamon Chat.
 
Gene and chromosome update
Gene and chromosome updateGene and chromosome update
Gene and chromosome updateThanyamon Chat.
 
ระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankThanyamon Chat.
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกThanyamon Chat.
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2Thanyamon Chat.
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สThanyamon Chat.
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชThanyamon Chat.
 

Viewers also liked (20)

วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
 
ืnervous system
ืnervous systemืnervous system
ืnervous system
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
 
Hormone
HormoneHormone
Hormone
 
Taxonomy
TaxonomyTaxonomy
Taxonomy
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2
 
Kingdom plantae
Kingdom plantaeKingdom plantae
Kingdom plantae
 
พันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายพันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลาย
 
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
Hormone and response plant
Hormone and response plantHormone and response plant
Hormone and response plant
 
Gene and chromosome update
Gene and chromosome updateGene and chromosome update
Gene and chromosome update
 
ระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blank
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
carbondioxide fixation
carbondioxide fixationcarbondioxide fixation
carbondioxide fixation
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืช
 
Kingdom protista
Kingdom protistaKingdom protista
Kingdom protista
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 

Similar to ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก

ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)Natthaya Khaothong
 
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้Nichakorn Sengsui
 
3.ศูนย์กลางประสาท
3.ศูนย์กลางประสาท3.ศูนย์กลางประสาท
3.ศูนย์กลางประสาทWichai Likitponrak
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทWan Ngamwongwan
 
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับNichakorn Sengsui
 
Nervous system ระบบประสาท
Nervous system ระบบประสาทNervous system ระบบประสาท
Nervous system ระบบประสาทkonnycandy4
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทyangclang22
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทkruchanon2555
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทkalita123
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทbowpp
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทauttapornkotsuk
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทikaen2520
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemsupreechafkk
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทPok Tanti
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท Thitaree Samphao
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)Natthaya Khaothong
 

Similar to ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก (20)

ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
 
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
 
3.ศูนย์กลางประสาท
3.ศูนย์กลางประสาท3.ศูนย์กลางประสาท
3.ศูนย์กลางประสาท
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาท
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ
 
Nervous system ระบบประสาท
Nervous system ระบบประสาทNervous system ระบบประสาท
Nervous system ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous system
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)
 

More from Thanyamon Chat.

timeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesistimeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesisThanyamon Chat.
 
transpiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in planttranspiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in plantThanyamon Chat.
 
water and mineral transport in plant
water and mineral transport in plantwater and mineral transport in plant
water and mineral transport in plantThanyamon Chat.
 
structure and function of the leaf
structure and function of the leafstructure and function of the leaf
structure and function of the leafThanyamon Chat.
 
develope of root and stem
develope of root and stemdevelope of root and stem
develope of root and stemThanyamon Chat.
 
structure and function of the stem
structure and function of the stemstructure and function of the stem
structure and function of the stemThanyamon Chat.
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the rootThanyamon Chat.
 
Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60Thanyamon Chat.
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบThanyamon Chat.
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากThanyamon Chat.
 
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียนEvolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียนThanyamon Chat.
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นThanyamon Chat.
 

More from Thanyamon Chat. (19)

c4 and cam plant
c4 and cam plantc4 and cam plant
c4 and cam plant
 
carbon fixation
carbon fixationcarbon fixation
carbon fixation
 
light reaction
light reactionlight reaction
light reaction
 
timeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesistimeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesis
 
translocation in plant
translocation in planttranslocation in plant
translocation in plant
 
transpiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in planttranspiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in plant
 
water and mineral transport in plant
water and mineral transport in plantwater and mineral transport in plant
water and mineral transport in plant
 
structure and function of the leaf
structure and function of the leafstructure and function of the leaf
structure and function of the leaf
 
develope of root and stem
develope of root and stemdevelope of root and stem
develope of root and stem
 
structure and function of the stem
structure and function of the stemstructure and function of the stem
structure and function of the stem
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the root
 
Ppt digestive system
Ppt digestive systemPpt digestive system
Ppt digestive system
 
Kingdom Animalia
Kingdom AnimaliaKingdom Animalia
Kingdom Animalia
 
Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
stem structure
stem structurestem structure
stem structure
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
 
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียนEvolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
 

ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก

  • 1. ระบบประสาทแบ่งเป็น 1.ระบบประสาทส่วนกลาง (Central nervous system; CNS): สมอง(brain) และไขสันหลัง(spinal cord) ทาหน้าที่รวบรวมและแปลผลข้อมูล 2.ระบบประสาทรอบนอก (Peripheral nervous system; PNS) : เส้นประสาทสมอง(cranial nerve) เส้นประสาทไขสันหลัง(spinal nerve) และ ปมประสาท (ganglia) ทาหน้าที่นาสัญญาณ ประสาทเข้า-ออก CNS และควบคุมการ เปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมภายในร่างกาย ระบบประสาทในสัตว์มีกระดูกสันหลัง คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 1กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
  • 2. 1.ส่วนที่รับสัญญาณเข้า (sensory input) จาก sensory receptor 2.ส่วนที่รวบรวมและแปลผล (integration center) : CNS 3.ส่วนที่ส่งสัญญาณออก (motor output) ไปยัง effector cells การทางานของระบบประสาท PNS คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 2กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
  • 3. คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา 3 สมองและไขสันหลัง เป็นศูนย์กลาง หรือศูนย์ควบคุมระบบประสาทของคน พัฒนา มาจากหลอดประสาท (neural tube) ซึ่ง เป็นโครงสร้างที่มีลักษณะเป็นหลอดยาวไปตาม แนวสันหลังของตัวอ่อน (embryo) ส่วน หน้าพองออกเป็นสมอง ส่วนท้ายเปลี่ยนไป เป็นไขสันหลัง ศูนย์กลางของระบบประสาท (Central nervous system; CNS)
  • 4. Embryonic Development of the Brain คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 4กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
  • 5. คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา 5 สมองและไขสันหลัง มีเยื่อหุ้ม 3 ชั้น คือ 1.ชั้นนอก (dura mater) เป็นเยื่อหนา เหนียว แข็งแรง มีหน้าที่ป้องกัน การกระทบกระเทือนแก่สมองและไขสันหลัง 2.ชั้นกลาง (arachnoid mater) เป็นเยื่อบางๆ ทาหน้าที่กันการกระทบ กระเทือนต่อระบบประสาทกลาง 3.ชั้นใน (pia mater) เป็นเยื่อที่แนบสนิทกับรอยโค้งเว้าของสมองและไข สันหลัง เป็นชั้นที่มีหลอดเลือดมาหล่อเลี้ยงเพื่อนาอาหาร และออกซิเจนมาให้สมอง และไขสันหลัง ระหว่างเยื่อหุ้มสมองชั้นกลางและชั้นในเป็นที่อยู่ของน้าเลี้ยงสมองและไขสันหลัง (cerebrospinal fluid) มีหน้าที่ หล่อเลี้ยงสมองและไขสันหลังให้ชื้นอยู่เสมอ นาออกซิเจนและอาหารมาเลี้ยงเซลล์ประสาท และนาของเสียออกจากเซลล์
  • 7. คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา 7 สมอง (Brain) สมอง (brain) เป็นอวัยวะที่สาคัญและซับซ้อนที่สุดของระบบประสาท และมีขนาดใหญ่กว่าส่วนอื่นๆ มีคลื่นหรือรอยหยัก (convolution) มาก เพื่อเพิ่มพื้นที่ในการคิดและการจา สมองมีหน้าที่สาคัญ คือ เป็นตัวผสมผสาน กระแสความรู้สึกที่รับเข้ามาจากอวัยวะสัมผัสต่างๆ และนาออกไปที่เอฟเฟกเตอร์ และมีหน้าที่ในการผสมผสานเชื่อมโยงกิจกรรมต่างๆ ทั้งที่อยู่นอกอานาจจิตใจ และภายใต้อานาจจิตใจในทุกส่วนของร่างกาย สมองมีสองซีกคือซีกซ้ายและซีก ขวา โดยสมองซีกซ้ายจะควบคุมการทางานของอวัยวะทางซีกขวา ส่วนสมองซีกขวา จะควบคุม การทางานของอวัยวะซีกซ้าย
  • 9. คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา 9 สมองแบ่งเป็น 2 ชั้นคือ 1. ชั้นนอกมีเนื้อสีเทา (Grey matter) เป็นที่รวมของตัวเซลล์ประสาท และแอกซอนชนิดไม่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม 2. ชั้นในมีสีขาว (White matter) เป็นสารพวกไขมัน ตัวเซลล์ประสาทมี เยื่อไมอีลินหุ้ม
  • 10. คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 10กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา สมองของคนแบ่งเป็น 3 ส่วน คือ สมองส่วนหน้า (fore brain) สมองส่วนกลาง (mid brain) และ สมองส่วนท้าย (hind brain)
  • 11. คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา 11 แบ่งเป็น 3 ส่วน ได้แก่ เซรีบรัม ทาลามัส และไฮโพทาลามัส 1. เซรีบรัม (cerebrum) เป็นสมองส่วนหน้าสุด ใหญ่ที่สุด และเจริญมากที่สุด มีหน้าที่ เก็บข้อมูลสิ่งต่างๆ มีความจา ความคิด เชาวน์ เป็นศูนย์รับความรู้สึก มองเห็น ได้ยิน กลิ่น รส สัมผัส เจ็บ-ปวด ร้อน- เย็น และควบคุมการทางานของกล้ามเนื้อ แบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือ frontal lobe, parietal lobe, temporal lobe และ occipital lobe สมองส่วนหน้า (fore brain)
  • 13. คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา 13 2. ทาลามัส (thalamus) เป็นบริเวณที่รวมกลุ่มของตัวเซลล์ประสาท และ เนื้อเยื่อ ทาหน้าที่เป็นศูนย์รวมกระแสประสาทที่ผ่านเข้ามา แล้วแยกกระแส ประสาทส่งไปยังสมองที่เกี่ยวข้องกับกระแสประสาทนั้นๆ 3. ไฮโพทาลามัส (hypothalamus) เป็นรูปกรวยอยู่ส่วนล่างสุดของสมอง ส่วนหน้า เป็นส่วนที่เชื่อมระหว่างระบบประสาทกับระบบต่อมไร้ท่อ โดยปลายสุด เป็นต่อมใต้สมอง (pituitary gland) เซลล์ประสาทบริเวณนี้สร้างฮอร์โมน ซึ่งมีหน้าที่เป็นศูนย์ควบคุมอาการและพฤติกรรมของร่างกาย รวมถึงควบคุมสมดุล ต่าง ๆ ในร่างกาย เช่น อุณหภูมิ ความดันเลือด อารมณ์ ความรู้สึกทางเพศ ความสมดุลของน้าในร่างกาย ความกลัว การเต้นของหัวใจ
  • 15. The Limbic System คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 15กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา The limbic system generates the feeling; emotion and memory
  • 16. คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา 16 มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับ การควบคุมการเคลื่อนไหว ของนัยน์ตาทาให้ลูกตากลอก ไปมาได้ ควบคุมการเปิดปิด ของม่านตา สมองส่วนกลาง (mid brain)
  • 17. คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา 17 แบ่งเป็น 3 ส่วนได้แก่ 1. เซรีเบลลัม (cerebellum) เป็นสมองที่ควบคุมและประสานงานเกี่ยวกับการ ทางานของกล้ามเนื้อ ควบคุมการทรงตัวและควบคุมการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อลาย ทาให้ทางานประณีตละเอียดอ่อน เที่ยงตรง สัตว์ที่เคลื่อนที่ 3 มิติ มีสมองส่วนนี้ เจริญดี 2. เมดัลลาออบลองกาตา (medulla oblongata) เป็นส่วนที่เชื่อมต่อ ระหว่างสมองกับไขสันหลังมีรูปร่างคล้ายไขสันหลัง เมดัลลาออบลองกาตาเป็นทางผ่าน ของกระแสประสาทระหว่างสมองกับไขสันหลัง มีหน้าที่ควบคุมอวัยวะภายในและ ควบคุมระบบประสาทอัตโนวัติ สมองส่วนท้าย (hind brain)
  • 18. คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา 18 3. พอนส์ (pons) อยู่ด้านหน้าของเซรีเบลลัม มีหน้าที่ควบคุมเกี่ยวกับการ เคี้ยวอาหาร การหลั่งน้าลาย การหายใจ การฟัง การเคลื่อนไหวบริเวณใบหน้า และถ่ายทอดความรู้สึกระหว่างเซรีบรัมกับเซรีเบลลัม
  • 19. คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา 19 คือ ส่วนของสมองส่วนกลาง พอนส์ และเมดัลลาออบลองกาตารวมกัน ภายใน ก้านสมองมีกลุ่มเซลล์ประสาท และใยประสาทเชื่อมโยงระหว่างเมดัลลาออบลองกาตา กับทาลามัส ทาหน้าที่ เป็นศูนย์ควบคุมการนอนหลับ ความรู้สึกตื่นตัวและ สติสัมปชัญญะ ควบคุมการหายใจ ความดันเลือด ควบคุมอุณหภูมิและการหลั่ง เอนไซม์ ก้านสมอง (brain stem)
  • 20. คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา 20 ไขสันหลัง (spinal cord) เป็นเยื่อประสาทที่มีไซแนปส์ (synapse) มากที่สุด เมื่อตัดตามขวางจะเห็นบริเวณตอนกลาง เป็นรูปคล้ายผีเสื้อ มี gray matter อยู่ด้านใน และ white matter อยู่ด้านนอก ด้านบน (dorsal horn) มีปมประสาท (dorsal root ganglion) และด้านล่าง (ventral horn) ซึ่งเป็นบริเวณที่มีไซแนปส์มากที่สุด
  • 21. Peripheral Nervous System ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมมี cranial nerve 12 คู่ spinal nerve 31 คู่ คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 21กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา
  • 22. คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา 22 เป็นเส้นประสาทที่ออกมาจากสมองโดยตรง สัตว์แต่ละชนิดจะมีจานวนไม่เท่ากัน เช่น ปลาและสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ามี 10 คู่ ส่วนสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม นก และ สัตว์เลื้อยคลานมี 12 คู่ โดยเส้นประสาทสมองของมนุษย์แบ่งเป็น 3 ประเภทคือ 1. เส้นประสาทรับความรู้สึก (sensory nerve) ได้แก่ คู่ที่ 1 2 และ 8 ทาหน้าที่รับความรู้สึกจากอวัยวะส่งไปยังสมอง 2. เส้นประสาทส่งความรู้สึก (motor nerve) ได้แก่ 3 4 6 11 และ 12 ทาหน้าที่สั่งความรู้สึกจากสมองไปยังอวัยวะต่างๆ 3. เส้นประสาทผสม (mixed nerve) ได้แก่ 5 7 9 และ 10 ทาหน้าที่รับความรู้สึกและส่งความรู้สึก เส้นประสาทสมอง (Cranial nerves)
  • 23. คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา 23 คู่ที่ ชื่อ หน้าที่ อวัยวะที่เกี่ยวข้อง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 Olfactory nerve Optic nerve Oculomotor nerve Trochlear nerve Trigeminal nerve Abducent nerve Facial nerve Auditory nerve Glossopharyngeal nerve Vagus nerve Accessory nerve Hypoglossal nerve รับความรู้สึก รับความรู้สึก สั่งการ สั่งการ รับความรู้สึกและสั่งการ สั่งการ รับความรู้สึกและสั่งการ รับความรู้สึก รับความรู้สึกและสั่งการ รับความรู้สึกและสั่งการ สั่งการ สั่งการ จมูก ตา สมอง สมอง สมอง สมอง สมอง หู ลิ้น,คอหอย ช่องอก ท้อง หัว ลาคอ สมอง สมอง สมอง สมอง กล้ามเนื้อยึดลูกตา กล้ามเนื้อยึดลูกตา หน้าและฟัน กล้ามเนื้อยึดลูกตา กล้ามเนื้อใบหน้า สมอง สมอง สมอง ไหล่ กล้ามเนื้อลิ้น
  • 25. คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา 25 เส้นประสาทไขสันหลัง (spinal nerves) เป็นเส้นประสาทแบบผสม(mixed nerve) คือมีทั้งส่วนที่รับความรู้สึกและสั่งการ ตรงโคนของเส้นประสาทไขสันหลังแยกเป็นรากบน (dorsal root) ต่ออยู่กับ ดอร์ซัลฮอร์นของไขสันหลังทาหน้าที่รับความรู้สึก เนื่องจากมีปมประสาทรากบน (dorsal root ganglion) ซึ่งตัวเซลล์รับความรู้สึกมีเดนไดรต์และแอกซอนจาก รากบนยื่นเข้าไปในไขสันหลังและรากล่าง(ventral root) ต่ออยู่กับเวนทรัลฮอร์น ทาหน้าที่สั่งการออกจากไขสันหลัง เส้นประสาทไขสันหลังของคนมี 31 คู่ ดังนี้ บริเวณคอ 8 คู่ บริเวณอก 12 คู่ บริเวณเอว 5 คู่ กระเบนเหน็บ 5 คู่ ก้นกบ 1 คู่
  • 27. คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา 27 1. เส้นประสาทบริเวณคอ (cervical nerve) 8 คู่ ส่งไปด้านหลังของศีรษะ คอ อกส่วนบน และแขน 2. เส้นประสาทบริเวณอก (thoracic nerver) 12 คู่ ส่งไปบริเวณลาตัว อกส่วนบนถึงท้องน้อย และแขนด้านใน 3. เส้นประสาทบริเวณเอว (lumbar nerve) 5 คู่ ส่งไปขาหนีบ หน้าแข้ง และหลังเท้า 4. เส้นประสาทบริเวณกระเบนเหน็บ (sacral nerve) 5 คู่ ส่งไปสะโพก ขาด้านหลัง และเท้าด้านนอก 5. เส้นประสาทบริเวณก้นกบ (coccygeal nerve) 1 คู่ ส่งไปอวัยวะสืบพันธุ์ และทวารหนัก
  • 28. คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา 28 เส้นประสาทไขสันหลังบริเวณ ตั้งแต่คู่ที่ 2 ลงไปไม่มีไขสันหลัง เป็นบริเวณที่แพทย์สามารถฉีดยา เข้าไขสันหลังและเจาะน้าเลี้ยง สมองได้ โดยทาอันตรายแก่ไขสัน หลังน้อยมาก
  • 29. คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา 29 ระบบประสาทรอบนอก (peripheral nervous system : PNS) แบ่งเป็น เส้นประสาทรับความรู้สึกและเส้นประสาทสั่งการซึ่งแบ่งได้เป็น 2 ระบบ ได้แก่ 1. ระบบโซมาติก (somatic nervous system : SNS) เป็นระบบ ประสาทที่ควบคุมการทางานของกล้ามเนื้อลาย 2. ระบบประสาทอัตโนวัติ (autonomic nervous system : ANS) เป็น ระบบประสาทที่ควบคุมการทางานของกล้ามเนื้อเรียบ กล้ามเนื้อหัวใจ และต่อมต่างๆ ซึ่งแบ่งออกเป็น ระบบประสาทซิมพาเทติก (sympathetic nervous system) และระบบประสาทพาราซิมพาเทติก (parasympathetic nervous system) ระบบประสาทสั่งการ (motor system)
  • 31. คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา 31 ระบบประสาทโซมาติกเป็นระบบประสาทที่ควบคุมการทางานของกล้ามเนื้อลาย โดยเซลล์ประสาทรับความรู้สึกจะรับกระแสประสาทจากหน่วยรับความรู้สึกผ่าน เส้นประสาทไขสันหลัง หรือเส้นประสาทสมองเข้าสู่ไขสันหลังหรือสมอง และกระแส ประสาทนาคาสั่งจากสมองส่ง ไปยังหน่วยปฏิบัติงาน ซึ่งเป็นกล้ามเนื้อลายบางครั้งอาจ ทางานได้โดยรับคาสั่งจากไขสันหลังเท่านั้น เช่น ปฏิกิริยารีเฟลกซ์ต่างๆ ปฏิกิริยารีเฟลกซ์ (reflex) เป็นปฏิกิริยาที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่มากระตุ้นโดย อัตโนมัติ โดยไม่ต้องได้รับคาสั่งจากสมอง หมายถึง กิริยาอาการที่แสดงออกมา หรือการ ทางานของหน่วยปฏิบัติงานของระบบประสาทส่วนกลางที่เกิดขึ้นทันทีทันใดโดยมิได้มี การเตรียมตัวล่วงหน้า เป็นการสั่งการของไขสันหลังไม่ต้องอาศัยสมองส่วนเซรีบรัม ระบบประสาทโซมาติก (somatic nervous system หรือ SNS)
  • 32. Reflex คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 32กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา motor neuron integration center or interneuron sensory receptor sensory neuron effector รีเฟลกซ์ อาร์ค (reflex arc) เป็นวงการทางานของระบบประสาท ซึ่งทาหน้าที่อย่าง สมบูรณ์ได้ต้องประกอบด้วยประสาท 5 ส่วน (ดังแผนภาพ) หรืออย่างน้อยที่สุด ประกอบด้วยประสาท 2 ส่วน คือ เส้นประสาทรับความรู้สึกกับเซลล์ประสาทสั่งการ
  • 33. คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา 33 ควบคุมการทางานของกล้ามเนื้อเรียบ กล้ามเนื้อหัวใจ และต่อมต่างๆ เพื่อปรับ ร่างกายให้เข้ากับสภาพแวดล้อม ประกอบด้วย 1. ระบบประสาทซิมพาเทติก (sympathetic nervous system) เป็น ระบบที่เริ่มจากบริเวณไขสันหลังถึงเหนือกระเบนเหน็บ 2. ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก (parasympathetic nervous system) เป็นระบบที่อยู่บริเวณเหนือไขสันหลัง และกระเบนเหน็บ เส้นประสาทของระบบประสาทอัตโนวัติ มี 2 ตอน คือ 1. เส้นประสาทหน้าปมประสาทหรือเซลล์ประสาทก่อนปมประสาท เชื่อมระหว่าง ระบบประสาทส่วนกลางกับปมประสาทอัตโนวัติ 2. เส้นประสาทหลังปมประสาทหรือเซลล์ประสาทหลังปมประสาท เป็น เส้นประสาทที่เชื่อมระหว่างปมประสาทอัตโนวัติกับอวัยวะตอบสนอง ระบบประสาทอัตโนวัติ (autonomic nervous system : ANS)
  • 35. Parasympathetic and sympathetic nervous system -parasympathetic และ sympathetic มักจะทางานตรงข้ามกัน -sympathetic มักจะกระตุ้นการทางานของอวัยวะที่ทาให้เกิดการตื่นตัว หรือเวลา ตกใจ และก่อให้เกิดพลังงาน ในขณะที่ parasympathetic จะเกิดตรงกันข้าม คุณครูธันยมลธ์ จตุรวิทย์กุล 35กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีวิทยา