SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
ความขัดแยง และการประสานประโยชนทางการเมือง
           เศรษฐกิจ และ สังคมระหวางประเทศ

                                                                     อ.ชูศรี ธรรมพัฒนพงศ
                                                                         โรงเรียนสายนํ้าผึ้ง

ผลประโยชนของรัฐซึ่งผูกําหนดนโยบายนําเอามาเปนวัตถุประสงคในการกําหนดนโยบายของตน
คือ
      1. ความอยูรอดของชีวิต
      2. ความมั่นคงของชาติ
      3. การกินดีอยูดีของประชากร
      4. ศักดิ์ศรีและเกียรติภูมิของชาติ
      5. อุดมการณของชาติ
      6. อํานาจของชาติ
สาเหตุของความขัดแยง
        1. ความขัดแยงดานเศรษฐกิจ เชน สงครามโลกครั้งที่ 1 (WWI) ระหวางฝรั่งเศส –
เยอรมัน เรื่องอัลซาส ลอเรน
        2. ความขัดแยงทางการเมือง เชน สงครามเวียดนาม สงครามเกาหลี สงครามกลางเมืองในนิกา
รากัวสงครามปฏิวัตในคิวบา ในชิลี
                   ิ
        3. ความขัดแยงทางสังคม วัฒนธรรม
                 - ศาสนา เชน สงครามครูเสด สงคราม 30 ป สงครามซิกข – ฮินดู
                                                                                    ในอินเดีย
                                                           ฮินดู – อิสลาม
                                สงครามกลางเมืองเลบานอน ยูโกสลาเวียระหวาง
                                                          เซอรบ – สโลวีเนีย
                                                          เซอรบ – โครอัท
                 - ศาสนาและเชื้อชาติ เชน ศรีลังกา        สิงหล – ทมิฬ
                                                          (พุทธ) (ฮินดู)
        4. ความขัดแยงดานจิตวิทยา เชน การขยายอํานาจของมองโกลมายุโรป
                                         พระเจานโปเลียนของฝรั่งเศสเขาสูสงครามยุโรป
การแกไขความขัดแยงโดยสันติวิธี
       1. วิธีทางการทูตและการเมือง
           1. การเจรจาโดยตรง
           2. การเปนคนกลาง
           3. การไกลเกลี่ย
           4. การสืบสวนหาขอเท็จจริง
           5. การประนีประนอม ทําบอยไมชี้ผิดชี้ถูก
       2. วิธีทางกฏหมาย
          - การตั้งศาลอนุญาโตตุลาการ จาก ผูพิพากษาคูกรณี
          - การตัดสินของศาลยุติธรรมระหวางประเทศ ที่กรุงเฮก เนเธอรแลนด
       3. การแกไขความขัดแยงโดยวิธีการบังคับ
          - รีทอรชัน (Retortion) ไมขัดตอกฎหมายแตไมเปนมิตร เชน
             ตัดสัมพันธทางการทูต
             ตัดสิทธิพิเศษทางการคา
          - รีไพรซอล การกระทําโดยไมถูกตองตามกฎหมายระหวางประเทศ เชน
             การไมยอมปฏิบัติตามพันธกรณีในสนธิสัญญา
             การยึดทรัพยสินของรัฐผูกอความเสียหาย
             การบอยคอต (Boycott)
             การควํ่าบาตร (Sanction)
             การหามเรือเขาหรือออกจากเมืองทา การปดลอมทะเลอยางสันติ (Embargo)
       สงครามจํากัดขอบเขต คือ สงครามที่มีจุดมุงหมายเฉพาะขอบเขตที่จํากัด เชน สงคราม
                              เวียดนาม
       สงครามตัวแทน       คือ สงครามตัวแทนของมหาอํานาจ เชน สงครามเกาหลี [เกาหลี
                              เหนือ (USSR) - เกาหลีใต (USA)]
       สงครามเบ็ดเสร็จ    คือ สงครามที่มีจุดมุงหมายเพื่อสรางความเปนใหญใหกับตนเอง
                              เชน สงครามโลกครั้งที่ 1, 2
       สงครามสั่งสอน      คือ สงครามที่มหาอํานาจกระทําสั่งสอนไมใหประเทศหนึ่งเขาไป
                              ยุงกับอีกประเทศหนึ่ง เชน จีนสั่งสอนเวียดนามไมใหเขาไปยุง
                              ในกัมพูชา
       สงครามกองโจร       คือ สงครามการซุมโจมตี เชน สงครามของกลุมคอมมิวนิสต
สงครามศักดิ์สิทธิ์   คือ สงครามการพลีชีพของกลุมอิสลาม เพื่อทําลายฝายตรงขาม
                                โดยการซุมโจมตีและการสละชีพ เพราะมีความคิดวา เมื่อตาย
                                จะไดไปอยูกับพระเจา (สงครามจีฮาด) รูปแบบการรบเหมือน
                                ขบวนการกามิคาเซ ของ ประเทศญี่ปุนในสงครามโลกครั้งที่ 2
สาเหตุที่เกิดความรวมมือระหวางประเทศ
         1. การเผยแพรแนวคิดของนักคิดบางคน เชน ดุค เดอ ซูบี วิลเลี่ยม เพนท และแอบเบ เดอ
             แซง-ปแอร สนับสนุนใหมีความรวมมือระหวางประเทศ
         2. ความตองการพึ่งพาอาศัยกันทางเศรษฐกิจ
         3. ความกาวหนาทางเทคโนโลยี
         3. การรณรงคของคนบางกลุม เชน กลุมกรีนพีช (เนนการรักษาสันติภาพและรักษาสิ่ง
             แวดลอม)
         4. การมองเห็นปญหารวมกัน เชน ปญหาประชากรลนโลก ความอดอยาก ปญหายาเสพ
             ติด
องคการระหวางประเทศ แบงออกเปน 4 ประเภท คือ
       1. องคการระหวางประเทศ เพื่อความรวมมือทางทหาร ไดแก NATO, WARSAW
       2. องคการระหวางประเทศเพื่อความรวมมือทางเศรษฐกิจ ไดแก EU, AFTA, NAFTA,
           LAFTA, ASEAN
       3. องคการระหวางประเทศเพื่อความรวมมือทางสังคมและอื่นๆ ไดแก UNESCO,WHO,
           FAO
ขอทดสอบ

1. ขอใดไมใชสาเหตุสําคัญที่นาไปสูความขัดแยงของประเทศตางๆ
                              ํ
    ก. การแขงขันทางอาวุธ                            ข. ความแตกตางทางดานวิชาการ
    ค. ความแตกตางทางดานอุดมการณ                   ง. ความแตกตางทางดานสังคม วัฒนธรรม
2. วิธีการใดที่ประเทศมหาอํานาจใชยุติปญหาการแขงขันทางอาวุธในปจจุบัน
    ก. งดซื้ออาวุธ                                   ข. ทําสัญญาไมผลิตอาวุธ
    ค. เจรจาเพื่อ ลดอาวุธ                            ง. ออกกฎหมายซื้อขายอาวุธ
3. ความแตกตางทางดานเชื้อชาติ ภาษา ศาสนา เปนความแตกตางดานใด
    ก. ดานประเพณี                                   ข. ดานอุดมการณ
    ค. ดานการปกครอง                                 ง. ดานสังคม วัฒนธรรม
4. ความขัดแยงครั้งใดไมเกี่ยวของกับเรื่องเชื้อชาติ
    ก. อิรักกับคูเวต                                 ข. พวกทมิฬกับสิงหลในศรีลงกา
                                                                              ั
    ค. ชาวอารเมเนียกับชาวอาเซอรไบจัน               ง. ชาวเซอรบกับชาวโครแอตในยูโกสลาเวีย
5. สภาวการณในขอใดที่ไมไดเปนอยูกอนเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2
    ก. สภาพเศรษฐกิจตกตํ่าและภาวะเงินเฟอ
    ข. การขยายตัวของแนวความคิดแบบฟาสซิสต
    ค. การขัดแยงของมหาอํานาจแถบดินแดนอาณานิคม
    ง. ประเทศทั้งหลายพยายามสถาปนาระบบความมั่นคงรวมกัน
6. การตอสูระหวางผูนับถือศาสนาฮินดูกับอิสลามที่เมืองอโยธยาในประเทศอินเดียมีความขัดแยง
    ในดานใด
    ก. เศรษฐกิจ                                      ข. สังคม วัฒนธรรม
    ค. อุดมการณทางการเมือง                          ง. การแขงขันทางแสนยานุภาพ
7. ประเทศเกาหลี และเวียดนาม ถูกแบงออกเปน 2 สวนเพราะความขัดแยงทางดานใด
    ก. สังคม                                         ข. ศาสนา
    ค. เศรษฐกิจ                                      ง. อุดมการณทางการเมือง
8. ความขัดแยงในประเทศใดไมมีสาเหตุจากอุดมการณทางการเมือง
    ก. ชิลี                                          ข. เฮติ
    ค. อินเดีย                                       ง. นิการากัว
9. วิธีการใดที่ใชแกไขความขัดแยงโดยวิธีการบังคับ
    ก. ควํ่าบาตร – เจรจา                          ข. บอยคอต – ใชกําลัง
    ค. ควํ่าบาตร - บอยคอต                         ง. บอยคอต – ใชกฎหมาย
10. การปฏิวัติอุตสาหกรรมในคริสตศตวรรษที่ 18 ถือเปนปจจัยที่สงผลกระทบตอการเกิดสงคราม
    โลกครั้งที่ 1 ไดเพราะสาเหตุใด
    ก. ความกาวหนาในการผลิตอาวุธทําใหเกิดการแขงขันดานการทหาร
    ข. ประเทศอุตสาหกรรมตางๆ ตองการเขาครอบครองแหลงวัตถุดบและตลาดระบายสินคา
                                                                  ิ
    ค. การปฏิวตอตสาหกรรมเกิดความแตกตางระหวางประเทศทีมขดความสามารถในการพัฒนาไม
                 ัิุ                                        ่ ีี
         เทากัน
    ง. การปฏิวัติอุตสาหกรรมมีผลตอการพัฒนาการของแนวความคิดทางการเมืองแตกตางกัน
        ออกไปหลายระบบ
11. ในการขจัดขอพิพาทที่กระทบกระเทือนความมั่นคง และสันติภาพของโลก องคการสหประชา
    ชาติใชวิธีใดเปนวิธีสุดทาย
      ก. ใชกองทหารเขาแกไขวิกฤตการณที่เกิดขึ้น
      ข. การสั่งหามติดตอคาขายกับประเทศที่ถูกลงโทษ
      ค. การประกาศยกเลิกการใชอาวุธที่รายแรง
      ง. การใหคูกรณีสงเรื่องไปยังศาลอนุญาโตตุลาการ
12. สงครามเย็นเปนความขัดแยงเนื่องมาจากสาเหตุใด
      ก. การรังเกียจผิว                           ข. การแขงขันกันทางเศรษฐกิจ
      ค. การแขงขันกันสรางและสะสมอาวุธ           ง. ความแตกตางในอุดมการณทางการเมือง
13. ขอใดเปนนิยามของสงครามเย็นที่สมบูรณที่สุด
      ก. คูสงครามใชประเทศบริวารตอสูแทนตน
      ข. การแขงขันกันผลิตอาวุธเพื่อขมขูฝายตรงกันขาม
      ค. รูปแบบของการตอสูทางอุดมการณของโลกเสรีและโลกคอมมิวนิสต
      ง. การแยงชิงผลประโยชนทางการเมืองระหวางโลกเสรีและโลกคอมมิวนิสต
14. ปญหาตะวันออกกลางในปจจุบันมีสาเหตุที่สําคัญที่สุดมาจากเรื่องใด
      ก. ความเปนศัตรูมานานระหวางอาหรับกับยิว
      ข. การกอตั้งประเทศอิสราเอลขึ้นในป ค.ศ.1948
      ค. ความขัดแยงระหวางกลุมประเทศอาหรับกับอิหราน
      ง. การแขงขันอํานาจระหวางสหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียต
15. ปจจัยพื้นฐานอะไรที่ที่ทําใหรัสเซียในอดีต – ปจจุบันพยายามเขาไปมีอิทธิพลในเอเชียตะวัน
    ออกเฉียงใต เอเชียใต และตะวันออกกลาง
     ก. แหลงวัตถุดิบ                             ข. ทางออกทะเล
     ค. อัตราประชากร                              ง. ลัทธิคอมมิวนิสต
16. สาเหตุพื้นฐานของสงครามกลางเมืองในเลบานอนคืออะไร
     ก. การเขาแทรกแซงกองทัพซีเรียและอิสราเอล
     ข. ปญหาชนกลุมนอย ประชาชนไมมีความรักในเชื้อชาติ
     ค. การขยายอิทธิพลในตะวันออกกลางระหวางสหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียต
     ง. ปญหาดานศาสนา การอพยพเขาสูเลบานอนของขบวนการปลดแอกปาเลสไตน
17. อะไรเปนชนวนสงครามที่ทําใหอิรัก อิหรานทําสงครามกันในระหวาง คศ.1980 - 1989
     ก. การแยงกรรมสิทธิ์เหนือรองนํ้า ชัดเอล-อาหรับ
     ข. ปญหาชาวเคิรดซึ่งเปนชนกลุมนอยของทั้ง 2 ประเทศ
     ค. โคไมนีผูนําของอิหรานไมถูกกับซัดดัมผูนําของอิรัก
     ง. ความแตกตางในเรื่องลัทธิศาสนา โดยชนชั้นปกครองอิรักนับถือนิกายซุนนี อิหรานนับถือ
         นิกายซิอะห
18. การตอสูหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ฝายซายนิยมใชวิธีขบวนการแบบกองโจร ประเทศใดในขอ
    ตอไปนี้ที่ฝายซายประสบชัยชนะโดยการใชยุทธวิธีดังกลาว
     ก. ซิมบับเวและนามิบเบีย
     ข. กัมพูชาและอัฟกานิสถาน
     ค. สาธารณรัฐประชาชนจีนและนิการากัว
     ง. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเวียดนามและเอลซัลวาดอร
19. ความขัดแยงในยูโกสลาเวียปจจุบันมีสาเหตุมาจากขอใด
     ก. ปญหาสังคม                                ข. ปญหาศาสนา
     ค. ปญหาการเมือง                             ง. ปญหาเศรษฐกิจ
20. สาระสําคัญของประกาศหลักการนิกสันตรงกับความในขอใด
     ก. การพัฒนาแสนยานุภาพทางนิวเคลียร
     ข. การลดบทบาททางทหารของสหรัฐอเมริกา
     ค. การสรางระบบพันธมิตรในภูมิภาคตางๆ
     ง. การรักษาความมั่นคงของกลุมประเทศเสรีประชาธิปไตย

More Related Content

What's hot

ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยchatsawat265
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็นTaraya Srivilas
 
ppt รายงานความก้าวหน้า เรื่อง แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต (G...
ppt รายงานความก้าวหน้า เรื่อง แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต  (G...ppt รายงานความก้าวหน้า เรื่อง แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต  (G...
ppt รายงานความก้าวหน้า เรื่อง แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต (G...Klangpanya
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
 
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นพจีกานต์ หว่านพืช
 
ระบบฟิวดัล
ระบบฟิวดัลระบบฟิวดัล
ระบบฟิวดัลchanapa Ubonsaen
 
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพkrupeem
 
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะ
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะการพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะ
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะThanaporn Prommas
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียToey Songwatcharachai
 
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfสงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfSzo'k JaJar
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม Terapong Piriyapan
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1whanpree
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2Phonlawat Wichaya
 
เรียงความเรื่อง ความหลากหลาย
เรียงความเรื่อง    ความหลากหลายเรียงความเรื่อง    ความหลากหลาย
เรียงความเรื่อง ความหลากหลายMim Papatchaya
 
ภูมิรัฐศาสตร์และกำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc2558
ภูมิรัฐศาสตร์และกำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc2558ภูมิรัฐศาสตร์และกำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc2558
ภูมิรัฐศาสตร์และกำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc2558Taraya Srivilas
 
สงครามโคโซโว
สงครามโคโซโวสงครามโคโซโว
สงครามโคโซโวWashirasak Poosit
 

What's hot (20)

ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
ppt รายงานความก้าวหน้า เรื่อง แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต (G...
ppt รายงานความก้าวหน้า เรื่อง แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต  (G...ppt รายงานความก้าวหน้า เรื่อง แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต  (G...
ppt รายงานความก้าวหน้า เรื่อง แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต (G...
 
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialismลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
 
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
 
ระบบฟิวดัล
ระบบฟิวดัลระบบฟิวดัล
ระบบฟิวดัล
 
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
 
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะ
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะการพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะ
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะ
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
นำเสนอทวีปเอเชีย
นำเสนอทวีปเอเชียนำเสนอทวีปเอเชีย
นำเสนอทวีปเอเชีย
 
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfสงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
 
เรียงความเรื่อง ความหลากหลาย
เรียงความเรื่อง    ความหลากหลายเรียงความเรื่อง    ความหลากหลาย
เรียงความเรื่อง ความหลากหลาย
 
ภูมิรัฐศาสตร์และกำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc2558
ภูมิรัฐศาสตร์และกำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc2558ภูมิรัฐศาสตร์และกำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc2558
ภูมิรัฐศาสตร์และกำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc2558
 
สงครามโคโซโว
สงครามโคโซโวสงครามโคโซโว
สงครามโคโซโว
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 

Similar to ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์

ความแตกต่างทางสังคมและวัฒนธรรมต่อการพัฒนาประเทศ
ความแตกต่างทางสังคมและวัฒนธรรมต่อการพัฒนาประเทศความแตกต่างทางสังคมและวัฒนธรรมต่อการพัฒนาประเทศ
ความแตกต่างทางสังคมและวัฒนธรรมต่อการพัฒนาประเทศPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยม
Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยมGp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยม
Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยมwissanujo
 
บรรยายยุทธศาสตร์ชาติในการต่อสู้การก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
บรรยายยุทธศาสตร์ชาติในการต่อสู้การก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)บรรยายยุทธศาสตร์ชาติในการต่อสู้การก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
บรรยายยุทธศาสตร์ชาติในการต่อสู้การก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)Washirasak Poosit
 
ยุทธศาสตร์ชาติในการสู้รบกับการก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
ยุทธศาสตร์ชาติในการสู้รบกับการก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)ยุทธศาสตร์ชาติในการสู้รบกับการก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
ยุทธศาสตร์ชาติในการสู้รบกับการก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)Washirasak Poosit
 
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศจริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศpentanino
 
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศจริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศpentanino
 
Still coldwar
Still coldwarStill coldwar
Still coldwarTeeranan
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลางPannaray Kaewmarueang
 
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือPann Boonthong
 
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้าบทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้าTeeranan
 

Similar to ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ (20)

งาน อ.ป
งาน อ.ป งาน อ.ป
งาน อ.ป
 
ความแตกต่างทางสังคมและวัฒนธรรมต่อการพัฒนาประเทศ
ความแตกต่างทางสังคมและวัฒนธรรมต่อการพัฒนาประเทศความแตกต่างทางสังคมและวัฒนธรรมต่อการพัฒนาประเทศ
ความแตกต่างทางสังคมและวัฒนธรรมต่อการพัฒนาประเทศ
 
Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยม
Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยมGp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยม
Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยม
 
53011312317
5301131231753011312317
53011312317
 
บรรยายยุทธศาสตร์ชาติในการต่อสู้การก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
บรรยายยุทธศาสตร์ชาติในการต่อสู้การก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)บรรยายยุทธศาสตร์ชาติในการต่อสู้การก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
บรรยายยุทธศาสตร์ชาติในการต่อสู้การก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
 
Ex01
Ex01Ex01
Ex01
 
Ex01
Ex01Ex01
Ex01
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคม
 
Document1
Document1Document1
Document1
 
ยุทธศาสตร์ชาติในการสู้รบกับการก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
ยุทธศาสตร์ชาติในการสู้รบกับการก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)ยุทธศาสตร์ชาติในการสู้รบกับการก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
ยุทธศาสตร์ชาติในการสู้รบกับการก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
 
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศจริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
 
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศจริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
 
Still coldwar
Still coldwarStill coldwar
Still coldwar
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคม
 
ความขัดแย้งและความร่วมมือ
ความขัดแย้งและความร่วมมือความขัดแย้งและความร่วมมือ
ความขัดแย้งและความร่วมมือ
 
สงครามเย็น
สงครามเย็น  สงครามเย็น
สงครามเย็น
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
 
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้าบทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
 
21
2121
21
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand

พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand (20)

กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินกำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน
 
รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social mediaรายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงานแบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
 
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็มผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
 
O net ม.3
O net ม.3O net ม.3
O net ม.3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
1
11
1
 
การแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาคการแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาค
 

ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์

  • 1. ความขัดแยง และการประสานประโยชนทางการเมือง เศรษฐกิจ และ สังคมระหวางประเทศ อ.ชูศรี ธรรมพัฒนพงศ โรงเรียนสายนํ้าผึ้ง ผลประโยชนของรัฐซึ่งผูกําหนดนโยบายนําเอามาเปนวัตถุประสงคในการกําหนดนโยบายของตน คือ 1. ความอยูรอดของชีวิต 2. ความมั่นคงของชาติ 3. การกินดีอยูดีของประชากร 4. ศักดิ์ศรีและเกียรติภูมิของชาติ 5. อุดมการณของชาติ 6. อํานาจของชาติ สาเหตุของความขัดแยง 1. ความขัดแยงดานเศรษฐกิจ เชน สงครามโลกครั้งที่ 1 (WWI) ระหวางฝรั่งเศส – เยอรมัน เรื่องอัลซาส ลอเรน 2. ความขัดแยงทางการเมือง เชน สงครามเวียดนาม สงครามเกาหลี สงครามกลางเมืองในนิกา รากัวสงครามปฏิวัตในคิวบา ในชิลี ิ 3. ความขัดแยงทางสังคม วัฒนธรรม - ศาสนา เชน สงครามครูเสด สงคราม 30 ป สงครามซิกข – ฮินดู ในอินเดีย ฮินดู – อิสลาม สงครามกลางเมืองเลบานอน ยูโกสลาเวียระหวาง เซอรบ – สโลวีเนีย เซอรบ – โครอัท - ศาสนาและเชื้อชาติ เชน ศรีลังกา สิงหล – ทมิฬ (พุทธ) (ฮินดู) 4. ความขัดแยงดานจิตวิทยา เชน การขยายอํานาจของมองโกลมายุโรป พระเจานโปเลียนของฝรั่งเศสเขาสูสงครามยุโรป
  • 2. การแกไขความขัดแยงโดยสันติวิธี 1. วิธีทางการทูตและการเมือง 1. การเจรจาโดยตรง 2. การเปนคนกลาง 3. การไกลเกลี่ย 4. การสืบสวนหาขอเท็จจริง 5. การประนีประนอม ทําบอยไมชี้ผิดชี้ถูก 2. วิธีทางกฏหมาย - การตั้งศาลอนุญาโตตุลาการ จาก ผูพิพากษาคูกรณี - การตัดสินของศาลยุติธรรมระหวางประเทศ ที่กรุงเฮก เนเธอรแลนด 3. การแกไขความขัดแยงโดยวิธีการบังคับ - รีทอรชัน (Retortion) ไมขัดตอกฎหมายแตไมเปนมิตร เชน ตัดสัมพันธทางการทูต ตัดสิทธิพิเศษทางการคา - รีไพรซอล การกระทําโดยไมถูกตองตามกฎหมายระหวางประเทศ เชน การไมยอมปฏิบัติตามพันธกรณีในสนธิสัญญา การยึดทรัพยสินของรัฐผูกอความเสียหาย การบอยคอต (Boycott) การควํ่าบาตร (Sanction) การหามเรือเขาหรือออกจากเมืองทา การปดลอมทะเลอยางสันติ (Embargo) สงครามจํากัดขอบเขต คือ สงครามที่มีจุดมุงหมายเฉพาะขอบเขตที่จํากัด เชน สงคราม เวียดนาม สงครามตัวแทน คือ สงครามตัวแทนของมหาอํานาจ เชน สงครามเกาหลี [เกาหลี เหนือ (USSR) - เกาหลีใต (USA)] สงครามเบ็ดเสร็จ คือ สงครามที่มีจุดมุงหมายเพื่อสรางความเปนใหญใหกับตนเอง เชน สงครามโลกครั้งที่ 1, 2 สงครามสั่งสอน คือ สงครามที่มหาอํานาจกระทําสั่งสอนไมใหประเทศหนึ่งเขาไป ยุงกับอีกประเทศหนึ่ง เชน จีนสั่งสอนเวียดนามไมใหเขาไปยุง ในกัมพูชา สงครามกองโจร คือ สงครามการซุมโจมตี เชน สงครามของกลุมคอมมิวนิสต
  • 3. สงครามศักดิ์สิทธิ์ คือ สงครามการพลีชีพของกลุมอิสลาม เพื่อทําลายฝายตรงขาม โดยการซุมโจมตีและการสละชีพ เพราะมีความคิดวา เมื่อตาย จะไดไปอยูกับพระเจา (สงครามจีฮาด) รูปแบบการรบเหมือน ขบวนการกามิคาเซ ของ ประเทศญี่ปุนในสงครามโลกครั้งที่ 2 สาเหตุที่เกิดความรวมมือระหวางประเทศ 1. การเผยแพรแนวคิดของนักคิดบางคน เชน ดุค เดอ ซูบี วิลเลี่ยม เพนท และแอบเบ เดอ แซง-ปแอร สนับสนุนใหมีความรวมมือระหวางประเทศ 2. ความตองการพึ่งพาอาศัยกันทางเศรษฐกิจ 3. ความกาวหนาทางเทคโนโลยี 3. การรณรงคของคนบางกลุม เชน กลุมกรีนพีช (เนนการรักษาสันติภาพและรักษาสิ่ง แวดลอม) 4. การมองเห็นปญหารวมกัน เชน ปญหาประชากรลนโลก ความอดอยาก ปญหายาเสพ ติด องคการระหวางประเทศ แบงออกเปน 4 ประเภท คือ 1. องคการระหวางประเทศ เพื่อความรวมมือทางทหาร ไดแก NATO, WARSAW 2. องคการระหวางประเทศเพื่อความรวมมือทางเศรษฐกิจ ไดแก EU, AFTA, NAFTA, LAFTA, ASEAN 3. องคการระหวางประเทศเพื่อความรวมมือทางสังคมและอื่นๆ ไดแก UNESCO,WHO, FAO
  • 4. ขอทดสอบ 1. ขอใดไมใชสาเหตุสําคัญที่นาไปสูความขัดแยงของประเทศตางๆ ํ ก. การแขงขันทางอาวุธ ข. ความแตกตางทางดานวิชาการ ค. ความแตกตางทางดานอุดมการณ ง. ความแตกตางทางดานสังคม วัฒนธรรม 2. วิธีการใดที่ประเทศมหาอํานาจใชยุติปญหาการแขงขันทางอาวุธในปจจุบัน ก. งดซื้ออาวุธ ข. ทําสัญญาไมผลิตอาวุธ ค. เจรจาเพื่อ ลดอาวุธ ง. ออกกฎหมายซื้อขายอาวุธ 3. ความแตกตางทางดานเชื้อชาติ ภาษา ศาสนา เปนความแตกตางดานใด ก. ดานประเพณี ข. ดานอุดมการณ ค. ดานการปกครอง ง. ดานสังคม วัฒนธรรม 4. ความขัดแยงครั้งใดไมเกี่ยวของกับเรื่องเชื้อชาติ ก. อิรักกับคูเวต ข. พวกทมิฬกับสิงหลในศรีลงกา ั ค. ชาวอารเมเนียกับชาวอาเซอรไบจัน ง. ชาวเซอรบกับชาวโครแอตในยูโกสลาเวีย 5. สภาวการณในขอใดที่ไมไดเปนอยูกอนเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 ก. สภาพเศรษฐกิจตกตํ่าและภาวะเงินเฟอ ข. การขยายตัวของแนวความคิดแบบฟาสซิสต ค. การขัดแยงของมหาอํานาจแถบดินแดนอาณานิคม ง. ประเทศทั้งหลายพยายามสถาปนาระบบความมั่นคงรวมกัน 6. การตอสูระหวางผูนับถือศาสนาฮินดูกับอิสลามที่เมืองอโยธยาในประเทศอินเดียมีความขัดแยง ในดานใด ก. เศรษฐกิจ ข. สังคม วัฒนธรรม ค. อุดมการณทางการเมือง ง. การแขงขันทางแสนยานุภาพ 7. ประเทศเกาหลี และเวียดนาม ถูกแบงออกเปน 2 สวนเพราะความขัดแยงทางดานใด ก. สังคม ข. ศาสนา ค. เศรษฐกิจ ง. อุดมการณทางการเมือง 8. ความขัดแยงในประเทศใดไมมีสาเหตุจากอุดมการณทางการเมือง ก. ชิลี ข. เฮติ ค. อินเดีย ง. นิการากัว
  • 5. 9. วิธีการใดที่ใชแกไขความขัดแยงโดยวิธีการบังคับ ก. ควํ่าบาตร – เจรจา ข. บอยคอต – ใชกําลัง ค. ควํ่าบาตร - บอยคอต ง. บอยคอต – ใชกฎหมาย 10. การปฏิวัติอุตสาหกรรมในคริสตศตวรรษที่ 18 ถือเปนปจจัยที่สงผลกระทบตอการเกิดสงคราม โลกครั้งที่ 1 ไดเพราะสาเหตุใด ก. ความกาวหนาในการผลิตอาวุธทําใหเกิดการแขงขันดานการทหาร ข. ประเทศอุตสาหกรรมตางๆ ตองการเขาครอบครองแหลงวัตถุดบและตลาดระบายสินคา ิ ค. การปฏิวตอตสาหกรรมเกิดความแตกตางระหวางประเทศทีมขดความสามารถในการพัฒนาไม ัิุ ่ ีี เทากัน ง. การปฏิวัติอุตสาหกรรมมีผลตอการพัฒนาการของแนวความคิดทางการเมืองแตกตางกัน ออกไปหลายระบบ 11. ในการขจัดขอพิพาทที่กระทบกระเทือนความมั่นคง และสันติภาพของโลก องคการสหประชา ชาติใชวิธีใดเปนวิธีสุดทาย ก. ใชกองทหารเขาแกไขวิกฤตการณที่เกิดขึ้น ข. การสั่งหามติดตอคาขายกับประเทศที่ถูกลงโทษ ค. การประกาศยกเลิกการใชอาวุธที่รายแรง ง. การใหคูกรณีสงเรื่องไปยังศาลอนุญาโตตุลาการ 12. สงครามเย็นเปนความขัดแยงเนื่องมาจากสาเหตุใด ก. การรังเกียจผิว ข. การแขงขันกันทางเศรษฐกิจ ค. การแขงขันกันสรางและสะสมอาวุธ ง. ความแตกตางในอุดมการณทางการเมือง 13. ขอใดเปนนิยามของสงครามเย็นที่สมบูรณที่สุด ก. คูสงครามใชประเทศบริวารตอสูแทนตน ข. การแขงขันกันผลิตอาวุธเพื่อขมขูฝายตรงกันขาม ค. รูปแบบของการตอสูทางอุดมการณของโลกเสรีและโลกคอมมิวนิสต ง. การแยงชิงผลประโยชนทางการเมืองระหวางโลกเสรีและโลกคอมมิวนิสต 14. ปญหาตะวันออกกลางในปจจุบันมีสาเหตุที่สําคัญที่สุดมาจากเรื่องใด ก. ความเปนศัตรูมานานระหวางอาหรับกับยิว ข. การกอตั้งประเทศอิสราเอลขึ้นในป ค.ศ.1948 ค. ความขัดแยงระหวางกลุมประเทศอาหรับกับอิหราน ง. การแขงขันอํานาจระหวางสหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียต
  • 6. 15. ปจจัยพื้นฐานอะไรที่ที่ทําใหรัสเซียในอดีต – ปจจุบันพยายามเขาไปมีอิทธิพลในเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต เอเชียใต และตะวันออกกลาง ก. แหลงวัตถุดิบ ข. ทางออกทะเล ค. อัตราประชากร ง. ลัทธิคอมมิวนิสต 16. สาเหตุพื้นฐานของสงครามกลางเมืองในเลบานอนคืออะไร ก. การเขาแทรกแซงกองทัพซีเรียและอิสราเอล ข. ปญหาชนกลุมนอย ประชาชนไมมีความรักในเชื้อชาติ ค. การขยายอิทธิพลในตะวันออกกลางระหวางสหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียต ง. ปญหาดานศาสนา การอพยพเขาสูเลบานอนของขบวนการปลดแอกปาเลสไตน 17. อะไรเปนชนวนสงครามที่ทําใหอิรัก อิหรานทําสงครามกันในระหวาง คศ.1980 - 1989 ก. การแยงกรรมสิทธิ์เหนือรองนํ้า ชัดเอล-อาหรับ ข. ปญหาชาวเคิรดซึ่งเปนชนกลุมนอยของทั้ง 2 ประเทศ ค. โคไมนีผูนําของอิหรานไมถูกกับซัดดัมผูนําของอิรัก ง. ความแตกตางในเรื่องลัทธิศาสนา โดยชนชั้นปกครองอิรักนับถือนิกายซุนนี อิหรานนับถือ นิกายซิอะห 18. การตอสูหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ฝายซายนิยมใชวิธีขบวนการแบบกองโจร ประเทศใดในขอ ตอไปนี้ที่ฝายซายประสบชัยชนะโดยการใชยุทธวิธีดังกลาว ก. ซิมบับเวและนามิบเบีย ข. กัมพูชาและอัฟกานิสถาน ค. สาธารณรัฐประชาชนจีนและนิการากัว ง. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเวียดนามและเอลซัลวาดอร 19. ความขัดแยงในยูโกสลาเวียปจจุบันมีสาเหตุมาจากขอใด ก. ปญหาสังคม ข. ปญหาศาสนา ค. ปญหาการเมือง ง. ปญหาเศรษฐกิจ 20. สาระสําคัญของประกาศหลักการนิกสันตรงกับความในขอใด ก. การพัฒนาแสนยานุภาพทางนิวเคลียร ข. การลดบทบาททางทหารของสหรัฐอเมริกา ค. การสรางระบบพันธมิตรในภูมิภาคตางๆ ง. การรักษาความมั่นคงของกลุมประเทศเสรีประชาธิปไตย