SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
๓๒

เป็นการปฏิบัติ ณ ระดับยุทธการ และ ระดับยุทธวิธีเพื่อความสาเร็จ
ของระดับยุทธศาสตร์
                          ๑) ปฏิบัติการด้วยหลักนิยมการยุทธ์ร่วมซึ่งมีความชานาญอยู่ในเกณฑ์ดี
                          ๒) การบังคับบัญชา และการควบคุม ดาเนินการโดยการใช้ที่บัญชาการที่
สามารถบังคับบัญชา และควบคุมการปฏิบัติการยุทธ์ร่วม ๓ ส่วน คือ การปฏิบัติการทางลึก การ
ปฏิบัติการระยะใกล้ และการปฏิบัติการในพื้นที่ ส่วนหลังร่วม พร้อมทั้งสามารถวางแผนเพื่อการ
ปฏิบัติการในปัจจุบัน การปฏิบัติการอนาคต และ แผนอนาคต ได้ การวางแผนมีลักษณะของการ
รวมการแต่ก็ยอมให้หน่วยรองมีความริเริ่ม และเสรีในการปฏิบัติได้มากที่สุด โดยผู้บังคับบัญชาใน
แต่ละระดับของสงครามจะมีความรับผิดชอบของตนที่จะทาให้ภารกิจของหน่วยเหนือบรรลุผล โดย
ที่ผู้บังคับบัญชาแต่ละระดับจะมีอานาจตัดสินใจได้ตามภารกิจ และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบ
                          ๓) การใช้กาลังจะมีลักษณะของการใช้กาลังเป็นระลอกสาหรับภารกิจ รุก
– รับ – ร่นถอย การปฏิบัติการรบด้วยวิธีรุกจะใช้รูปแบบการดาเนินกลยุท ธ์ คือ การเข้าตีเจาะ การ
เข้าตีโอบ การเข้าตีตลบ การแทรกซึม และการเข้าตีตรงหน้า การปฏิบัติการตั้งรับ จะใช้รูปแบบ
ของการตั้งรับแบบยึดพื้นที่ และการตั้งรับแบบคล่องตัว การปฏิบัติการร่นถอย จะประกอบด้วยการ
รบหน่วงเวลา การถอนตัว และการถอย
                              การยิง จะใช้อานาจการยิงของจรวดระยะยิงไกล เพื่อให้ได้เปรียบ
ตั้งแต่เริ่มต้น ฯลฯ
                          ๔) การใช้กาลังทางบกของกองกาลังรบร่วมจะเป็นเครื่องมือที่แตกหักของ
ผู้บังคับบัญชา สามารถปฏิบัติภารกิจ รุก – รับ – ร่นถอย ได้ตามที่ ผบ. กาลังรบร่วมต้องการ การใช้
กาลังจะใช้กาลังเป็นระลอกด้วยการสนับสนุนจากกาลังทางเรือ กาลังทางอากาศ กาลังปฏิบัติการ
พิเศษร่วม หน่วยสนับสนุนการรบ และหน่วยสนับสนุนทางการช่วยรบ
                          ๕) การใช้กาลังทางเรือของกาลังรบร่วม จะเป็นเครื่องมือที่ก่อให้เกิดการ
ควบคุมทะเล การรักษาความปลอดภัยให้แก่เส้นหลักการคมนาคม การยุทธ์สะเทินน้าสะเทิ้นบก
การสนับสนุนให้กับกองกาลังทางบก กองกาลังทางอากาศ และกาลังปฏิบัติการพิเศษร่วม การ
ลาเลียงทางทะเล ตามที่กาลังรบร่วมต้องการ รูปแบบการปฏิบัติที่สาคัญก็คือการค้นหาข้าศึกให้พบ
และโจมตี
                          ๖) การใช้กาลังทางอากาศของกาลังรบร่วม จะเป็นเครื่องมือหลักที่
ก่อให้เกิดการครองอากาศ การปฏิบัติการทางลึก การสนับสนุนการปฏิบัติของกาลังทางบก กาลัง
ทางเรือ และกาลังปฏิบัติการพิเศษร่วม การป้องกันภัยทางอากาศ ตลอดจนการลาเลียงทาง
อากาศ ตามที่กาลังรบร่วมต้องการ รูปแบบการปฏิบัติที่สาคัญก็คือ การโจมตีอากาศยานข้าศึก
เพื่อให้ได้มาซึ่งการครองอากาศ ด้วยรูปแบบของการปฏิบัติต่อต้านทางอากาศเชิงรุก ( OCA ) และ
เชิงรับ ( DCA ) ในขณะเดียวกันก็จะปฏิบัติการโจมตีทางลึก สนับสนุนให้กับกองกาลังทางบก
กองกาลังทางเรือ และ กองกาลังปฏิบัติการพิเศษร่วม เพื่อความสาเร็จของกองกาลังรบร่วม
                          ๗) รูปแบบการปฏิบัติการที่สาคัญอื่น ๆ
                            ก) การปฏิบัติการในพื้นที่ส่วนหลังร่วม : ผบ.กกล.ทบ. จะได้รับการ
แต่งตั้งเป็นผู้อานวยการการปฏิบัติการในพื้นที่ส่วนหลังร่วม ( ผอ.ปล. ร่วม ) โดยมีความรับผิดชอบใน
การจัดให้มีกาลังที่สามารถเอาชนะภัยคุกคามจากการก่อการร้าย การก่อวินาศกรรม กองโจร กลุ่ม
ต่อต้าน และกาลังตามแบบของข้าศึกได้
๓๓

                            ข) การต่อต้านทางอากาศเชิงรุก ( OCA ) จะเป็นการปฏิบัติการของ
กาลังรบร่วมที่ใช้ทรัพยากรทุกประเภทที่มีในการยุทธ์ครั้งนั้น เช่น ใช้จรวดระยะยิงไกล โจมตีฐานทัพ
อากาศข้าศึก ใช้หน่วยปฏิบัติการพิเศษ และกลุ่มต่อต้านโจมตีฐานทัพอากาศ การใช้ปืนเรื อที่อยู่ใน
ระยะยิง การใช้หน่วยดาเนินกลยุทธ์ของกาลังทางบก และ อากาศยานของกาลังทางอากาศ เป็นต้น
                            ค) การต่อต้านทางอากาศเชิงรับ ( DCA ) จะเป็นการปฏิบัติการของ
กาลังรบร่วมที่ใช้ทรัพยากร และวิธีการป้องกันภัยทางอากาศทุกรูปแบบที่มี โดยอากาศยานของ
กาลังทางอากาศจะเป็นเครื่องมือหลักในการป้องกันภัยทางอากาศ กองกาลังทางบก กองกาลังทาง
เรือ จะต้องดาเนินการใช้อาวุธป้องกันภัยทางอากาศในพื้นที่ส่วนหลังร่วมหรือในพื้นที่ทางทะเลที่จะ
กระทบต่อการปฏิบัติการในพื้นที่ส่วนหลังร่วมให้เป็นไปตามความต้องการของ ผบ.ทอ. ที่จะได้รับ
การแต่งตั้งเป็นผู้บัญชาการป้องกันภัยทางอากาศเป็นพื้นที่ ( AADC )
                            ง) การยุทธ์สะเทินน้าสะเทิ้นบก จะเป็นการตัดสินใจของกองกาลังรบ
ร่วม โดยจะให้ ผบ.กกล.ทร. เป็น ผบ.กองกาลังยุทธ์สะเทินน้าสะเทิ้นบก ที่จะดาเนินการยุทธ์สะเทิน
น้าสะเทิ้นบกในพื้นที่ที่หมายของการยุทธ์สะเทิ้นน้าสะเทิ้ นบก ( AOA ) ควบคุมบังคับบัญชาต่อกอง
กาลังทั้งปวงที่จะปฏิบัติการดังกล่าว การปฏิบัติจะเริ่มต้นตั้งแต่ กกล.ทร. ปฏิบัติการเพื่อการครอง
ทะเล เมื่ อสามารถครองทะเลได้ก็จ ะส่ ง หน่ว ยนาวิกโยธิน ขึ้นสู่ ฝั่ ง เมื่อ สถาปนาพื้นที่ หั ว หาดได้
เรียบร้อยก็จะส่ง กกล.ทบ. ขึ้นสู่หัวหาดนั้นเมื่อ กกล.ทบ. มีความพร้อมที่จะปฏิบัติการรุกออกจากหัว
หาดนั้น การบังคับบัญชาจาก ผบ.กกล.ทร. ในฐานะ ผบ.กองกาลังยุทธ์สะเทิ้นน้าสะเทิ้นบกก็จะ
สิ้นสุดลง ผบ.กกล.ทบ. ก็จะรับผิดชอบการบังคับชาต่อไปแทน
                          ๘) รูปแบบและการเรียกชื่อของกองกาลังทางบกที่เข้าปฏิบัติการ
๓๔

          ข. ยุทธศาสตร์
                  ข.๑ ยุทธศาสตร์การรักษาความปลอดภัยของชาติ
                       ส่งเสริมความปลอดภัยของประเทศของเรา โดยการดารงรักษาขีด
ความสามารถในการป้ องกัน ตนเองอย่ างเข้ มแข็ง ดาเนินการควบคุมการแผ่ กระจายของอาวุ ธ
ส่งเสริมการปฏิบัติการเพื่อสันติภาพ ดาเนินการให้มีขีดความสามารถด้านข่ าวกรองที่เข็มแข้ง และ
ส่งเสริมให้มีการพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสิ่งแวดล้อม ด้วยการใช้เครื่องมือด้านการทหาร การทูต การ
เศรษฐกิจ และการเมืองอย่างเหมาะสม
                       ส่งเสริมความมั่งคั่งรุ่งเรืองให้กับประเทศของเรา โดยการเปิดการค้าเสรี
กับประเทศ หรือกลุ่มประเทศที่เอื้ออานวยผลประโยชน์ให้กับฝ่ายเรา ส่งเสริมการเป็นหุ้นส่วนซึ่ง
กัน และกัน ของแรงงานและธุร กิจ จั ดให้ มีการประสานงานด้านเศรษฐกิจมหภาคอย่างเข้มแข็ง
ดาเนินการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ลดการขาดดุลของรัฐ จัดให้มีความปลอดภัยด้านพลังงานอย่าง
ต่อเนื่อง ด้วยการใช้เครื่องมือด้านเศรษฐกิจ และด้านการทูต
                       ส่งเสริมความเป็นประชาธิปไตย โดยการขยายตลาดเสรีกับทุกประเทศ
ที่เกิดประโยชน์ต่อประเทศเรา ช่วยเหลือ และสนับสนุนการดารงคงอยู่ และการขยายตัวของ
ประชาธิปไตย ส่งเสริมสิทธิมนุษย์ชนทั้งภายใน และภายนอก เอาใจใส่และดารงรักษาสิ่งแวดล้อม
ส่งเสริมความมีเสถีย รภาพในประเทศ และในภูมิภาคดาเนินการตามข้อตกลงที่ได้กระทาไว้ ด้วย
เครื่องมือด้านการทหาร การทูต และการเมือง
                  ข. ๒ ยุทธศาสตร์ทหารของชาติ
                       วัตถุประสงค์แรกของยุทธศาสตร์ทหารของชาติได้แก่ การส่งเสริมความ
มีเสถีย รภาพโดยการร่ ว มมือ ในภูมิภ าค และส่ งเสริมการปฏิบัติ การที่ร่ ว มมือกั นทั้ งภายในและ
ภายนอก
                           ด้วยการปฏิบัติการในสภาวะปกติ ซึ่งดาเนินการเกี่ยวกับโครงการทาง
ทหาร การช่วยเหลือชาติ การช่วยเหลือด้านความปลอดภัย การปฏิบัติการเพื่อมนุษย์ธรรม การ
ต่อต้านการก่อการร้าย และการปราบปรามยาเสพติด การรักษาสันติภาพ
                           ด้วยการยับยั้งและการป้องกันความขัดแย้งซึ่งดาเนินการเกี่ยวกับการเป็น
พันธมิตรในภูมิภาค การตอบสนองต่อวิกฤตการณ์ การสนับสนุนต่อการควบคุมอาวุธในภูมิภาค
การส่งเสริมความเชื่อถือ การปฏิบัติการอพยพที่ไม่เกี่ยวกับการรบ การสนับสนุนต่อการบังคับให้
เกิดสันติภาพ
                       วัตถุประสงค์ที่สองของยุทธศาสตร์ทหารได้แก่ ทาลายการรุกราน โดย
การยับยั้งอย่างมีประสิทธิภาพ และการใช้ขีดความสามารถในการต่อสู้อย่างรุนแรง
                           ด้วยการยับยั้งและป้องกันความขัดแย้งตามที่กล่าวแล้วในวัตถุประสงค์
แรก
                           ด้วยการสู้รบและให้ได้ชัยชนะ โดยดาเนินการเกี่ยวกับ การทาความ
เข้าใจในวัตถุประสงค์ทางทหารอย่างชัดเจนและใช้กาลังอย่างแตกหัก ต่อสู้ในลักษณะของการยุทธ์
ร่วมและยุทธ์ผสม           ดาเนินการให้ได้ชัยชนะในสงครามข่าวสาร ต้องสู้รบพร้อม ๆ กันได้ใน
สองทิศทาง ใช้กาลังแบบเบ็ดเสร็จทั้งกาลังประจาการ และกาลังสารอง
          ค. แนวทางในการวางแผน
๓๕

                   ค. ๑ กองบัญชาการแห่งชาติ เป็นองค์กรที่มีอานาจในการตกลงใจสูงสุดตามที่
ได้รับการโปรดเกล้าฯ ในการพิจารณาตัดสินใจใช้การปฏิบัติการทางทหาร และการใช้เครื่องมือ
ด้านอื่น ๆ ของพลังอานาจของชาติ
                   ค. ๒ ประเทศเรายึดถือการป้องกันตนเองเห็นหลัก และการปฏิบัติใด ๆ ต้องไม่
สร้างเงื่อนไขว่าประเทศของเราเป็นผู้รุกรานก่อน
                   ค. ๓ การใช้ ก าลั ง ต่ อ ศั ต รู ห รื อ ประเทศหนึ่ ง ประเทศใดต้ อ งได้ รั บ อนุ มั ติ จ าก
กองบัญชาการแห่งชาติก่อน
                   ค. ๔ ประเทศของเราจะตัดสินใจใช้กาลังทหารเป็นทางเลือกสุดท้าย หรือเพื่อ
สนับสนุนต่อมาตรการทางการทูต การเมือง หรือ เศรษฐกิจ                             ทางเลือกต่าง ๆ ได้แก่
                   ทางเลือกทางทหาร
                          ส่งกาลังยุทธ์ร่วมเข้าไปในพื้นที่เพื่อปฏิบัติการ
                          ใช้เครื่องมืออื่น ๆ ที่เป็นไปได้ เช่น กาลังที่อยู่ในพื้นที่
                          เพิ่มการลาดตระเวน และการเฝ้าตรวจ
                          แสดงกาลัง
                          เตรียมพร้อมด้านกาลัง
                          ระดมพลเพื่อเตรียมกองหนุน
                   ทางเลือกทางการทูต
                          ลดระดับความสัมพันธ์
                          ขับไล่ทูตของประเทศที่มีปัญหา
                          ใช้องค์กรสหประชาชาติ
                          การปฏิบัติการอพยพที่ไม่ใช่การรบ
                   ทางเลือกของการปฏิบัติด้านข่าวสาร
                          ดารงรักษาการพบปะพูดคุยผ่านทางสิ่งพิมพ์
                          สนับสนุนให้สาธารณชนสนับสนุนต่อการปฏิบัติการ
                          ใช้สภาสนับสนุนต่อการปฏิบัติการ
                   ทางเลือกด้านเศรษฐกิจ
                          อายัดทรัพย์สินของชาติที่มีปัญหา
                          ลดโครงการช่วยเหลือ
                          ขยายเศรษฐกิจ และโครงการช่วยเหลือกับประเทศที่เป็นมิตร
                          ตัดความสัมพันธ์ด้านเศรษฐกิจกับประเทศที่มีปัญหา
          ง. การเคลื่อนย้ายกาลัง
                   ให้กองทัพไทย ดาเนินการเคลื่อนย้ายกาลังด้วยเครื่องมือในอัตราของตนเอง และ
เครื่องมือที่ได้รับมอบตามแผนเตรีย มพร้อม และระดมสรรพกาลังแห่ งชาติ โดยกองบัญชาการ
แห่งชาติจะสนับสนุนงบประมาณที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติมให้ กรณีที่เกินขีดความสามารถให้กองทัพไทย
ร้องขอการสนับสนุนต่อกองบัญชาการแห่งชาติ
          จ. กาลังที่ใช้ได้ของฝ่ายเรา : กาลังของกองทัพไทยตามอัตรา และกาลังที่จัดตั้งขึ้น
๓๖

๒. การปฏิบัติ
          ๒.๑ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ได้เรียกประชุมฝ่ายเสนาธิการร่วม เพื่อดาเนินการจัดทา
ยุทธศาสตร์ของยุทธบริเวณเพื่อนาเสนอต่อกองบัญชาการแห่งชาติ
                   บ่งการที่ ๑ ให้ นศ.วทบ. ปฏิบัติหน้าที่เป็น ผบ.ยุทธบริเวณ (ผบ.กาลังรบร่วม)
และ สธร. ดาเนินการเกี่ยวกับการเตรียมข่าวกรองร่วมสาหรับสภาพแวดล้อมทางทหาร (JIPOE)
เพื่อเป็นพื้นฐานในการจัดทายุทธศาสตร์ของยุทธบริเวณ และแผนการทัพต่อไป
               สิ่งที่ต้องการ
                   - กาหนดสภาพแวดล้อมของการยุทธ์ ให้แสดง ยุทธบริเวณปฏิบัติการ
พื้นที่สนใจ
                   - พรรณนาถึงผลกระทบของสภาพแวดล้อมของการยุทธ์ ให้แสดงแผ่นบริวาร
เครื่องกีดขวางผสมทางบก แผ่นบริวารเครื่องกีดขวางทางเรือ แผ่นบริวารเครื่องกีดขวางผสมทาง
อากาศ ผลกระทบของลมฟ้าอากาศ และ การวิเคราะห์ระบบ
                   - ประเมินค่าภัยคุกคาม       ให้แสดงจุดศูนย์ดุลของฝ่ายข้าศึก พร้อมทั้ง
องค์ประกอบ แผ่นภาพหลักนิยมของฝ่ายข้าศึก ตารางเหตุการณ์ของฝ่ายข้าศึก ระบุเป้าหมายที่
มีค่าสูง และระบุขีดความสามารถของข้าศึก
                   - พิจารณากาหนดหนทางปฏิบัติของข้าศึก ให้แสดงวัตถุประสงค์และ
ผลลัพธ์สุดท้ายของฝ่ายข้าศึก หนทางปฏิบัติเต็มขอบเขตของฝ่ายข้าศึก หนทางปฏิบัติที่น่าจะ
กระทาของฝ่ายข้าศึก พร้อมตารางสถานการณ์ การรวบรวมข่าวสาร
                   - แสดงการจัดของกาลังฝ่ายข้าศึกในรายละเอียด กกล.ทบ. แสดงกาลังให้เห็น
ถึงระดับกองพัน กกล.ทร. แสดงกาลังให้เห็นถึงเรือรบเป็นลา กกล.ทอ. แสดงกาลังให้เห็นถึง
เครื่องบินรบเป็นเครื่อง กกล.ปพ. แสดงกาลังให้เห็นถึงชุดปฏิบัติการ
                   บ่งการที่ ๒ : จากคาสั่งกองบัญชาการแห่งชาติที่ ๑๒/๕๕ ทาให้ทราบถึงความ
ต้องการของหน่วยเหนือและข้อเท็จจริงที่เป็นอยู่ รวมทั้งการดาเนินการตามบ่งการที่ ๑ ทาให้
ทราบถึงสภาพแวดล้อมของการยุทธ์ในรูปของระบบที่เป็นอยู่           ซึ่งทั้ง ผบ.ทหารสูงสุดในฐานะผู้
บัญชาการยุทธบริเวณ ฝ่ายเสนาธิการร่วม และผู้แทนกองกาลังต่าง ๆ จะเข้าสู่กระบวนการ
ประมาณการณ์ทางยุทธศาสตร์ เพื่อจัดทายุทธศาสตร์ของยุทธบริเวณ ให้ นศ.วทบ. ปฏิบัติหน้าที่
เป็น ผบ.ยุทธบริเวณ และฝ่ายเสนาธิการร่วมพิจารณากาหนดสิ่งที่ต้องการดังต่อไปนี้
                        กาหนดสมมุติฐานที่เกี่ยวข้อง
                        กาหนดภารกิจแถลงใหม่ ( ของผู้บัญชาการยุทธบริเวณ )
                        พิจารณาทบทวนและกาหนดเกณฑ์การยุติการรบ
                        กาหนดผลลัพธ์สุดท้ายทางทหาร
                        กาหนดวัตถุประสงค์ของยุทธบริเวณ
                        กาหนดทางเลือกด้านการทหาร การเมือง เศรษฐกิจ และด้านข่าวสาร
ที่จะทาให้บรรลุวัตถุประสงค์ของยุทธบริเวณ และการวิเคราะห์
                           กาหนดความต้องการด้านกาลัง ขีดความสามารถในปัจจุบัน และความ
ขาดแคลน
๓๗

                  บ่งการที่ ๓
                           ให้ นศ.วทบ. ในฐานะฝ่ายเสนาธิการร่วมได้พัฒนาการจัดกาลังรบร่วมของ
ฝ่ายเรา ในรายละเอียดดังนี้
                           ๑. กกล.ทบ. แสดงกาลังให้เห็นถึงระดับกองพัน พร้อมทั้งยอดกาลัง
พล และอาวุธยุทโธปกรณ์ที่สาคัญ
                           ๒. กกล.ทร. แสดงกาลังให้เห็นถึงเรือรบเป็นลา พร้อมทั้งยอดกาลังพล
และอาวุธยุทโธปกรณ์ที่สาคัญ
                           ๓. กกล.ทอ. แสดงกาลังให้เห็นถึงเครื่องบินรบเป็นเครื่องพร้อมทั้งยอด
กาลังพล และอาวุธยุทโธปกรณ์ที่สาคัญ
                           ๔. กกล.ปพ. แสดงกาลังให้เห็นถึงระดับชุดปฏิบัติการ พร้อมทั้งยอด
กาลังพล และอาวุธยุทโธปกรณ์ที่สาคัญ
                  บ่งการที่ ๔ : ให้ นศ.วทบ. ในฐานะ ผบ.ยุทธบริเวณ ฝ่ายเสนาธิการร่วม และ
ผู้แทนของกองกาลังเหล่าทัพ นาเสนอยุทธศาสตร์ของยุทธบริเวณ ต่อกองบัญชาการแห่งชาติ ดังนี้
                  * ภารกิจ
                  - ยุทธศาสตร์การรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ และความต้องการของ
กองบัญชาการแห่งชาติ
                  - ยุทธศาสตร์ทหารของชาติ
                  - ภารกิจของกองทัพไทย
                  - วัตถุประสงค์ของยุทธบริเวณ
                  * สถานการณ์ และหนทางปฏิบัติ
                  - สถานการณ์ภายใน และภายนอก
                  - สภาพพื้นที่ปฏิบัติการ และการปฏิบัติการของฝ่ายข้าศึก
                  - สถานการณ์ฝ่ายเรา
                  - ข้อจากัด
                  - สมมุติฐาน
                  - หนทางปฏิบัติ (ทางเลือก) ของฝ่ายเรา และการวิเคราะห์
                  - กาลังที่ใช้ (แสดงการจัดกาลังในรายละเอียด) ดังนี้ กกล.ทบ. แสดง
รายละเอียดถึงระดับกองพัน กกล.ทร. แสดงรายละเอียดถึงเรือรบเป็นลา กกล.ทอ.แสดงรายละเอียด
ถึงเครื่องบินเป็นเครื่อง และ กกล.ปพ. แสดงรายละเอียดถึงชุดปฏิบัติการ
          ๒.๒ กองบัญชาการแห่งชาติเห็นชอบด้วยกับยุทธศาสตร์ของยุทธบริเวณที่ผู้บัญชาการยุทธ
บริเวณนาเสนอ
                  บ่งการที่ ๕ : ผบ.ยุทธบริเวณ ( ผบ. กาลังรบร่วม ) และฝ่ายเสนาธิการจะใช้
ยุทธศาสตร์ของยุทธบริเวณเป็นแนวทางในการพัฒนาแผนการทัพต่อไปเพื่อเผชิญกับการรุกรานของ
ประเทศกลุ่มสหพันธ์อินโดจีน ให้ นศ.วทบ. ในฐาน ผู้บัญชาการกาลังรบร่วม และฝ่ายเสนาธิการ
ร่วมดาเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาแผนการทัพ โดยมีสิ่งที่ต้องแสดงให้เห็นดังนี้
                         ทบทวนยุทธศาสตร์ของยุทธบริเวณ และคาสั่งของหน่วยเหนือ
                         กาหนดกิจเฉพาะ, กิจแฝง และ กิจสาคัญยิ่ง
๓๘

                     พิจารณากาหนดข้อเท็จจริง, สมมุติฐาน, สถานะ หรือสภาพของเงื่อนไขใน
ปัจจุบัน
                        พิจารณากาหนดข้อจากัดของการยุทธ์ ( ข้อห้าม/ข้อบังคับ )
                        พิจารณาทบทวนและกาหนดเกณฑ์การยุติการรบที่ได้นาเสนอต่อ
กองบัญชาการแห่งชาติ
                        พิจารณากาหนดผลลัพธ์สุดท้ายที่ต้องการระดับยุทธการ
                        พิจารณากาหนดวัตถุประสงค์ระดับยุทธการ
                        พิจารณากาหนดผลกระทบสาหรับแต่ละวัตถุประสงค์ระดับยุทธการ และ
มาตรการในการวัดผลกระทบ
                        พิจารณากาหนด – ทบทวน จุดศูนย์ดุล และปัจจัยวิกฤตที่เกี่ยวข้อง
                        พิจารณากาหนดจุดแตกหักสาหรับแต่ละผลกระทบ
                        วิเคราะห์โครงสร้างของกาลังที่ได้รับ
                        วิเคราะห์ความเสี่ยง
                        พิจารณากาหนดความต้องการข่าวสารที่วิกฤตของผู้บังคับบัญชา ( CCIR )
                        พัฒนาภารกิจแถลงใหม่
                        บรรยายสรุปภารกิจแถลงใหม่
                        เตรียมการเริ่มต้นประมาณการณ์ของฝ่ายเสนาธิการ
                        อนุมัติภารกิจแถลงใหม่ และพัฒนาเจตนารมณ์ และแนวทางในการ
วางแผนของ ผบ.
                 บ่ ง การที่ ๖ : หลั ง จากที่ ส ามารถก าหนดวั ต ถุ ป ระสงค์ ข องยุ ท ธบริ เ วณ
วัตถุประสงค์ทางทหารระดับยุทธการ ผลกระทบ จุดแตกหัก และภารกิจแถลงใหม่ ซึ่งเป็น
กรอบของการพัฒนาหนทางปฏิบัติ ให้ นศ.วทบ. ในฐานะ ผบ.ยุทธบริเวณ ผบ. กาลังรบร่วม และ
ฝ่ายเสนาธิการร่วม ดาเนินการพัฒนาหนทางปฏิบัติ ในรายละเอียดสาหรับขั้นการปฏิบัติต่าง ๆ สิ่ง
ที่ต้องการ และต้องแสดงให้เห็น
                        ทบทวนแนวทางในการวางแผน และเจตนารมณ์ของผู้บังคับบัญชา
                        ทบทวน และยืนยันผลลัพธ์สุดท้ายทางทหาร วัตถุประสงค์ของยุทธ
บริเวณ ผลลัพธ์สุดท้ายที่ต้องการระดับยุทธการ วัตถุประสงค์ระดับยุทธการ ผลกระทบ และ
มาตรการในการวัดผลกระทบ และจุดแตกหัก
                        ทบทวนสภาพแวดล้อม และยืนยันขีดความสามารถที่วิกฤติ ความ
ต้องการที่วิกฤติ และความอ่อนแอที่วิกฤติ และจุดศูนย์ดุลระดับยุทธศาสตร์ และยุทธการ
                        พิจารณากาหนดรายละเอียดของจุดแตกหัก
                        พิจารณากาหนดขั้นการปฏิบัติ
                        ดาเนินการพัฒนาหนทางปฏิบัติ
                              - พิจารณาผลกระทบที่ต้องการของทั้งฝ่ายเรา และฝ่ายข้าศึก จุด
แตกหัก เพื่อกาหนดแนวทางขั้นต้น
                              - วางกาลังขั้นต้น และการลวง
๓๙

                           - พัฒนาแนวความคิดในการปฏิบัติ
                             = การดาเนินกลยุทธ์
                             = การยิง
                             = การพิทักษ์หน่วย
                             = การส่งกาลังบารุง
                             = การข่าวกรอง
                             = การปฏิบัติการด้านข่าวสาร
                           - กาหนดกองบัญชาการหน่วยรอง เพื่อบังคับบัญชา และควบคุม
การปฏิบัติ
                           - กาหนดภาพ และข้อความของหนทางปฏิบัติในแต่ละขั้นการ
ปฏิบัติ
                 บ่งการที่ ๗ : ให้ นศ.วทบ. ในฐานะ ผบ.ยุทธบริเวณ ผบ.กาลังรบร่วม และ
ฝ่ายเสนาธิการร่วม จัดฝ่ายเสนาธิการร่วม ออกเป็นสายงานต่าง ๆ เพื่อดาเนินการวิเคราะห์การรบ
ต่อหนทางปฏิบัติที่พัฒนาขึ้น โดยจะต้องแสดงให้เห็นถึง
              หนทางปฏิบัติที่มีศักยภาพของฝ่ายข้าศึกที่มีผลต่อแต่ละหนทางปฏิบัติของฝ่ายเรา
              จุดแตกหักที่สาคัญ
              การปรับปรุงการจัดเฉพาะกิจ
              ผสมผสานเครื่องมือของพลังอานาจของชาติด้านอื่น ๆ เข้ากับหนทางปฏิบัติ
              ระบุแผนที่แตกออกไป และแผนที่ตามมา
              ปรับปรุงผลกระทบที่ต้องการ และที่ไม่ต้องการ
              เกณฑ์เสี่ยง และความเป็นไปได้ของผลกระทบที่ไม่ต้องการ
              ระบุถึงเป้าหมายที่ให้ผลตอบแทนที่คุ้มค่า และปม หรือขีดความสามารถที่
อ่อนแอ
              ตารางประสานสอดคล้อง และข้อมูล
              เสนอแนะความต้องการข่าวสารที่วิกฤตของผู้บังคับบัญชา
              แผ่นบริวารที่ได้รับการปรับปรุงแล้ว
                 บ่งการที่ ๘ : ให้ นศ.วทบ. ในฐานะ ผบ.กาลังรบร่วม และฝ่ายเสนาธิการร่วม
ดาเนินการเปรียบเทียบ และอนุมัติหนทางปฏิบัติโดยจะต้องแสดงให้เห็นถึง
              หนทางปฏิบัติที่ฝ่ายเสนาธิการร่วมใช้ในการเปรียบเทียบ และหนทางปฏิบัติที่
เลือกเพื่อนาเสนอต่อผู้บัญชาการกาลังรบร่วม (พร้อมทั้งการประเมินค่า)
              หนทางปฏิบัติที่ผู้บัญชาการกาลังรบร่วมตกลงใจเลือก
              ประมาณการณ์โดยย่อของ ผบ. และ สธร. ทุกฝ่าย
                 บ่งการที่ ๙ : ให้ นศ.วทบ. ในฐานะ ผบ.ยุทธบริเวณ และฝ่ายเสนาธิการร่วม
จัดทาแผนการทัพตามแบบฟอร์ มที่กาหนดไว้ (แสดงแผ่ นบริว ารพร้อมรายละเอียดเกี่ยวกับทุก
ระบบปฏิบัติการ และทุกกระบวนการที่เกี่ยวข้องอย่างครบถ้วน)
๓. อาจารย์ผู้รับผิดชอบวิชา : พ.อ.ปรีชา ชุ่มประดิษฐ์ ห้อง ๓๐๗

More Related Content

More from Sarid Tojaroon

กลุ่มจิตวิเคราะห์
กลุ่มจิตวิเคราะห์กลุ่มจิตวิเคราะห์
กลุ่มจิตวิเคราะห์Sarid Tojaroon
 
กลเม็ด 6 วิธีเพื่อควานหาคนถูกใจ
กลเม็ด 6 วิธีเพื่อควานหาคนถูกใจกลเม็ด 6 วิธีเพื่อควานหาคนถูกใจ
กลเม็ด 6 วิธีเพื่อควานหาคนถูกใจSarid Tojaroon
 
12 สัญญาณว่ามีการเกี้ยวพาราสี
12 สัญญาณว่ามีการเกี้ยวพาราสี12 สัญญาณว่ามีการเกี้ยวพาราสี
12 สัญญาณว่ามีการเกี้ยวพาราสีSarid Tojaroon
 
วทบ ๕๖ Award
วทบ ๕๖ Awardวทบ ๕๖ Award
วทบ ๕๖ AwardSarid Tojaroon
 
กระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหน
กระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหนกระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหน
กระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหนSarid Tojaroon
 
กระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหน
กระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหนกระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหน
กระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหนSarid Tojaroon
 
กระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหน
กระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหนกระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหน
กระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหนSarid Tojaroon
 
กระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหน
กระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหนกระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหน
กระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหนSarid Tojaroon
 
ชีวิตที่น่าสงสาร ของคนทำงานอย่างเราๆ
ชีวิตที่น่าสงสาร ของคนทำงานอย่างเราๆชีวิตที่น่าสงสาร ของคนทำงานอย่างเราๆ
ชีวิตที่น่าสงสาร ของคนทำงานอย่างเราๆSarid Tojaroon
 
วัดบางประทุนนอก
วัดบางประทุนนอกวัดบางประทุนนอก
วัดบางประทุนนอกSarid Tojaroon
 
ผู้แทนมอบโล่ ภาคอิสาน
ผู้แทนมอบโล่ ภาคอิสานผู้แทนมอบโล่ ภาคอิสาน
ผู้แทนมอบโล่ ภาคอิสานSarid Tojaroon
 
กำหนดการดูงานอีสาน
กำหนดการดูงานอีสานกำหนดการดูงานอีสาน
กำหนดการดูงานอีสานSarid Tojaroon
 
เกมส์ ทายภาพ
เกมส์ ทายภาพเกมส์ ทายภาพ
เกมส์ ทายภาพSarid Tojaroon
 
เวลาผ่าน.....อะไร ๆก็เปลี่ยนแปลง
เวลาผ่าน.....อะไร ๆก็เปลี่ยนแปลง เวลาผ่าน.....อะไร ๆก็เปลี่ยนแปลง
เวลาผ่าน.....อะไร ๆก็เปลี่ยนแปลง Sarid Tojaroon
 
ผนวก ฉ สถานการณ์การฝึก กองทัพไทย ชุด 56 ปี 54(น.๑๘ ๒๔)
ผนวก ฉ สถานการณ์การฝึก กองทัพไทย ชุด 56 ปี 54(น.๑๘ ๒๔)ผนวก ฉ สถานการณ์การฝึก กองทัพไทย ชุด 56 ปี 54(น.๑๘ ๒๔)
ผนวก ฉ สถานการณ์การฝึก กองทัพไทย ชุด 56 ปี 54(น.๑๘ ๒๔)Sarid Tojaroon
 

More from Sarid Tojaroon (20)

กลุ่มจิตวิเคราะห์
กลุ่มจิตวิเคราะห์กลุ่มจิตวิเคราะห์
กลุ่มจิตวิเคราะห์
 
กลเม็ด 6 วิธีเพื่อควานหาคนถูกใจ
กลเม็ด 6 วิธีเพื่อควานหาคนถูกใจกลเม็ด 6 วิธีเพื่อควานหาคนถูกใจ
กลเม็ด 6 วิธีเพื่อควานหาคนถูกใจ
 
12 สัญญาณว่ามีการเกี้ยวพาราสี
12 สัญญาณว่ามีการเกี้ยวพาราสี12 สัญญาณว่ามีการเกี้ยวพาราสี
12 สัญญาณว่ามีการเกี้ยวพาราสี
 
วทบ ๕๖ Award
วทบ ๕๖ Awardวทบ ๕๖ Award
วทบ ๕๖ Award
 
Like
LikeLike
Like
 
Email awc56
Email awc56Email awc56
Email awc56
 
กระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหน
กระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหนกระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหน
กระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหน
 
กระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหน
กระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหนกระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหน
กระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหน
 
กระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหน
กระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหนกระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหน
กระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหน
 
กระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหน
กระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหนกระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหน
กระตุ้นต่อ​มฮา.....ไป​ถึงไหน
 
ชีวิตที่น่าสงสาร ของคนทำงานอย่างเราๆ
ชีวิตที่น่าสงสาร ของคนทำงานอย่างเราๆชีวิตที่น่าสงสาร ของคนทำงานอย่างเราๆ
ชีวิตที่น่าสงสาร ของคนทำงานอย่างเราๆ
 
Who1
Who1Who1
Who1
 
Bangpratun
BangpratunBangpratun
Bangpratun
 
วัดบางประทุนนอก
วัดบางประทุนนอกวัดบางประทุนนอก
วัดบางประทุนนอก
 
ผู้แทนมอบโล่ ภาคอิสาน
ผู้แทนมอบโล่ ภาคอิสานผู้แทนมอบโล่ ภาคอิสาน
ผู้แทนมอบโล่ ภาคอิสาน
 
กำหนดการดูงานอีสาน
กำหนดการดูงานอีสานกำหนดการดูงานอีสาน
กำหนดการดูงานอีสาน
 
เกมส์ ทายภาพ
เกมส์ ทายภาพเกมส์ ทายภาพ
เกมส์ ทายภาพ
 
South
SouthSouth
South
 
เวลาผ่าน.....อะไร ๆก็เปลี่ยนแปลง
เวลาผ่าน.....อะไร ๆก็เปลี่ยนแปลง เวลาผ่าน.....อะไร ๆก็เปลี่ยนแปลง
เวลาผ่าน.....อะไร ๆก็เปลี่ยนแปลง
 
ผนวก ฉ สถานการณ์การฝึก กองทัพไทย ชุด 56 ปี 54(น.๑๘ ๒๔)
ผนวก ฉ สถานการณ์การฝึก กองทัพไทย ชุด 56 ปี 54(น.๑๘ ๒๔)ผนวก ฉ สถานการณ์การฝึก กองทัพไทย ชุด 56 ปี 54(น.๑๘ ๒๔)
ผนวก ฉ สถานการณ์การฝึก กองทัพไทย ชุด 56 ปี 54(น.๑๘ ๒๔)
 

ผนวก ฉ สถานการณ์การฝึก กองทัพไทย ชุด 56 ปี 54(น.๓๒ ๓๙)

  • 1. ๓๒ เป็นการปฏิบัติ ณ ระดับยุทธการ และ ระดับยุทธวิธีเพื่อความสาเร็จ ของระดับยุทธศาสตร์ ๑) ปฏิบัติการด้วยหลักนิยมการยุทธ์ร่วมซึ่งมีความชานาญอยู่ในเกณฑ์ดี ๒) การบังคับบัญชา และการควบคุม ดาเนินการโดยการใช้ที่บัญชาการที่ สามารถบังคับบัญชา และควบคุมการปฏิบัติการยุทธ์ร่วม ๓ ส่วน คือ การปฏิบัติการทางลึก การ ปฏิบัติการระยะใกล้ และการปฏิบัติการในพื้นที่ ส่วนหลังร่วม พร้อมทั้งสามารถวางแผนเพื่อการ ปฏิบัติการในปัจจุบัน การปฏิบัติการอนาคต และ แผนอนาคต ได้ การวางแผนมีลักษณะของการ รวมการแต่ก็ยอมให้หน่วยรองมีความริเริ่ม และเสรีในการปฏิบัติได้มากที่สุด โดยผู้บังคับบัญชาใน แต่ละระดับของสงครามจะมีความรับผิดชอบของตนที่จะทาให้ภารกิจของหน่วยเหนือบรรลุผล โดย ที่ผู้บังคับบัญชาแต่ละระดับจะมีอานาจตัดสินใจได้ตามภารกิจ และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบ ๓) การใช้กาลังจะมีลักษณะของการใช้กาลังเป็นระลอกสาหรับภารกิจ รุก – รับ – ร่นถอย การปฏิบัติการรบด้วยวิธีรุกจะใช้รูปแบบการดาเนินกลยุท ธ์ คือ การเข้าตีเจาะ การ เข้าตีโอบ การเข้าตีตลบ การแทรกซึม และการเข้าตีตรงหน้า การปฏิบัติการตั้งรับ จะใช้รูปแบบ ของการตั้งรับแบบยึดพื้นที่ และการตั้งรับแบบคล่องตัว การปฏิบัติการร่นถอย จะประกอบด้วยการ รบหน่วงเวลา การถอนตัว และการถอย การยิง จะใช้อานาจการยิงของจรวดระยะยิงไกล เพื่อให้ได้เปรียบ ตั้งแต่เริ่มต้น ฯลฯ ๔) การใช้กาลังทางบกของกองกาลังรบร่วมจะเป็นเครื่องมือที่แตกหักของ ผู้บังคับบัญชา สามารถปฏิบัติภารกิจ รุก – รับ – ร่นถอย ได้ตามที่ ผบ. กาลังรบร่วมต้องการ การใช้ กาลังจะใช้กาลังเป็นระลอกด้วยการสนับสนุนจากกาลังทางเรือ กาลังทางอากาศ กาลังปฏิบัติการ พิเศษร่วม หน่วยสนับสนุนการรบ และหน่วยสนับสนุนทางการช่วยรบ ๕) การใช้กาลังทางเรือของกาลังรบร่วม จะเป็นเครื่องมือที่ก่อให้เกิดการ ควบคุมทะเล การรักษาความปลอดภัยให้แก่เส้นหลักการคมนาคม การยุทธ์สะเทินน้าสะเทิ้นบก การสนับสนุนให้กับกองกาลังทางบก กองกาลังทางอากาศ และกาลังปฏิบัติการพิเศษร่วม การ ลาเลียงทางทะเล ตามที่กาลังรบร่วมต้องการ รูปแบบการปฏิบัติที่สาคัญก็คือการค้นหาข้าศึกให้พบ และโจมตี ๖) การใช้กาลังทางอากาศของกาลังรบร่วม จะเป็นเครื่องมือหลักที่ ก่อให้เกิดการครองอากาศ การปฏิบัติการทางลึก การสนับสนุนการปฏิบัติของกาลังทางบก กาลัง ทางเรือ และกาลังปฏิบัติการพิเศษร่วม การป้องกันภัยทางอากาศ ตลอดจนการลาเลียงทาง อากาศ ตามที่กาลังรบร่วมต้องการ รูปแบบการปฏิบัติที่สาคัญก็คือ การโจมตีอากาศยานข้าศึก เพื่อให้ได้มาซึ่งการครองอากาศ ด้วยรูปแบบของการปฏิบัติต่อต้านทางอากาศเชิงรุก ( OCA ) และ เชิงรับ ( DCA ) ในขณะเดียวกันก็จะปฏิบัติการโจมตีทางลึก สนับสนุนให้กับกองกาลังทางบก กองกาลังทางเรือ และ กองกาลังปฏิบัติการพิเศษร่วม เพื่อความสาเร็จของกองกาลังรบร่วม ๗) รูปแบบการปฏิบัติการที่สาคัญอื่น ๆ ก) การปฏิบัติการในพื้นที่ส่วนหลังร่วม : ผบ.กกล.ทบ. จะได้รับการ แต่งตั้งเป็นผู้อานวยการการปฏิบัติการในพื้นที่ส่วนหลังร่วม ( ผอ.ปล. ร่วม ) โดยมีความรับผิดชอบใน การจัดให้มีกาลังที่สามารถเอาชนะภัยคุกคามจากการก่อการร้าย การก่อวินาศกรรม กองโจร กลุ่ม ต่อต้าน และกาลังตามแบบของข้าศึกได้
  • 2. ๓๓ ข) การต่อต้านทางอากาศเชิงรุก ( OCA ) จะเป็นการปฏิบัติการของ กาลังรบร่วมที่ใช้ทรัพยากรทุกประเภทที่มีในการยุทธ์ครั้งนั้น เช่น ใช้จรวดระยะยิงไกล โจมตีฐานทัพ อากาศข้าศึก ใช้หน่วยปฏิบัติการพิเศษ และกลุ่มต่อต้านโจมตีฐานทัพอากาศ การใช้ปืนเรื อที่อยู่ใน ระยะยิง การใช้หน่วยดาเนินกลยุทธ์ของกาลังทางบก และ อากาศยานของกาลังทางอากาศ เป็นต้น ค) การต่อต้านทางอากาศเชิงรับ ( DCA ) จะเป็นการปฏิบัติการของ กาลังรบร่วมที่ใช้ทรัพยากร และวิธีการป้องกันภัยทางอากาศทุกรูปแบบที่มี โดยอากาศยานของ กาลังทางอากาศจะเป็นเครื่องมือหลักในการป้องกันภัยทางอากาศ กองกาลังทางบก กองกาลังทาง เรือ จะต้องดาเนินการใช้อาวุธป้องกันภัยทางอากาศในพื้นที่ส่วนหลังร่วมหรือในพื้นที่ทางทะเลที่จะ กระทบต่อการปฏิบัติการในพื้นที่ส่วนหลังร่วมให้เป็นไปตามความต้องการของ ผบ.ทอ. ที่จะได้รับ การแต่งตั้งเป็นผู้บัญชาการป้องกันภัยทางอากาศเป็นพื้นที่ ( AADC ) ง) การยุทธ์สะเทินน้าสะเทิ้นบก จะเป็นการตัดสินใจของกองกาลังรบ ร่วม โดยจะให้ ผบ.กกล.ทร. เป็น ผบ.กองกาลังยุทธ์สะเทินน้าสะเทิ้นบก ที่จะดาเนินการยุทธ์สะเทิน น้าสะเทิ้นบกในพื้นที่ที่หมายของการยุทธ์สะเทิ้นน้าสะเทิ้ นบก ( AOA ) ควบคุมบังคับบัญชาต่อกอง กาลังทั้งปวงที่จะปฏิบัติการดังกล่าว การปฏิบัติจะเริ่มต้นตั้งแต่ กกล.ทร. ปฏิบัติการเพื่อการครอง ทะเล เมื่ อสามารถครองทะเลได้ก็จ ะส่ ง หน่ว ยนาวิกโยธิน ขึ้นสู่ ฝั่ ง เมื่อ สถาปนาพื้นที่ หั ว หาดได้ เรียบร้อยก็จะส่ง กกล.ทบ. ขึ้นสู่หัวหาดนั้นเมื่อ กกล.ทบ. มีความพร้อมที่จะปฏิบัติการรุกออกจากหัว หาดนั้น การบังคับบัญชาจาก ผบ.กกล.ทร. ในฐานะ ผบ.กองกาลังยุทธ์สะเทิ้นน้าสะเทิ้นบกก็จะ สิ้นสุดลง ผบ.กกล.ทบ. ก็จะรับผิดชอบการบังคับชาต่อไปแทน ๘) รูปแบบและการเรียกชื่อของกองกาลังทางบกที่เข้าปฏิบัติการ
  • 3. ๓๔ ข. ยุทธศาสตร์ ข.๑ ยุทธศาสตร์การรักษาความปลอดภัยของชาติ  ส่งเสริมความปลอดภัยของประเทศของเรา โดยการดารงรักษาขีด ความสามารถในการป้ องกัน ตนเองอย่ างเข้ มแข็ง ดาเนินการควบคุมการแผ่ กระจายของอาวุ ธ ส่งเสริมการปฏิบัติการเพื่อสันติภาพ ดาเนินการให้มีขีดความสามารถด้านข่ าวกรองที่เข็มแข้ง และ ส่งเสริมให้มีการพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสิ่งแวดล้อม ด้วยการใช้เครื่องมือด้านการทหาร การทูต การ เศรษฐกิจ และการเมืองอย่างเหมาะสม  ส่งเสริมความมั่งคั่งรุ่งเรืองให้กับประเทศของเรา โดยการเปิดการค้าเสรี กับประเทศ หรือกลุ่มประเทศที่เอื้ออานวยผลประโยชน์ให้กับฝ่ายเรา ส่งเสริมการเป็นหุ้นส่วนซึ่ง กัน และกัน ของแรงงานและธุร กิจ จั ดให้ มีการประสานงานด้านเศรษฐกิจมหภาคอย่างเข้มแข็ง ดาเนินการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ลดการขาดดุลของรัฐ จัดให้มีความปลอดภัยด้านพลังงานอย่าง ต่อเนื่อง ด้วยการใช้เครื่องมือด้านเศรษฐกิจ และด้านการทูต  ส่งเสริมความเป็นประชาธิปไตย โดยการขยายตลาดเสรีกับทุกประเทศ ที่เกิดประโยชน์ต่อประเทศเรา ช่วยเหลือ และสนับสนุนการดารงคงอยู่ และการขยายตัวของ ประชาธิปไตย ส่งเสริมสิทธิมนุษย์ชนทั้งภายใน และภายนอก เอาใจใส่และดารงรักษาสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมความมีเสถีย รภาพในประเทศ และในภูมิภาคดาเนินการตามข้อตกลงที่ได้กระทาไว้ ด้วย เครื่องมือด้านการทหาร การทูต และการเมือง ข. ๒ ยุทธศาสตร์ทหารของชาติ  วัตถุประสงค์แรกของยุทธศาสตร์ทหารของชาติได้แก่ การส่งเสริมความ มีเสถีย รภาพโดยการร่ ว มมือ ในภูมิภ าค และส่ งเสริมการปฏิบัติ การที่ร่ ว มมือกั นทั้ งภายในและ ภายนอก ด้วยการปฏิบัติการในสภาวะปกติ ซึ่งดาเนินการเกี่ยวกับโครงการทาง ทหาร การช่วยเหลือชาติ การช่วยเหลือด้านความปลอดภัย การปฏิบัติการเพื่อมนุษย์ธรรม การ ต่อต้านการก่อการร้าย และการปราบปรามยาเสพติด การรักษาสันติภาพ ด้วยการยับยั้งและการป้องกันความขัดแย้งซึ่งดาเนินการเกี่ยวกับการเป็น พันธมิตรในภูมิภาค การตอบสนองต่อวิกฤตการณ์ การสนับสนุนต่อการควบคุมอาวุธในภูมิภาค การส่งเสริมความเชื่อถือ การปฏิบัติการอพยพที่ไม่เกี่ยวกับการรบ การสนับสนุนต่อการบังคับให้ เกิดสันติภาพ  วัตถุประสงค์ที่สองของยุทธศาสตร์ทหารได้แก่ ทาลายการรุกราน โดย การยับยั้งอย่างมีประสิทธิภาพ และการใช้ขีดความสามารถในการต่อสู้อย่างรุนแรง ด้วยการยับยั้งและป้องกันความขัดแย้งตามที่กล่าวแล้วในวัตถุประสงค์ แรก ด้วยการสู้รบและให้ได้ชัยชนะ โดยดาเนินการเกี่ยวกับ การทาความ เข้าใจในวัตถุประสงค์ทางทหารอย่างชัดเจนและใช้กาลังอย่างแตกหัก ต่อสู้ในลักษณะของการยุทธ์ ร่วมและยุทธ์ผสม ดาเนินการให้ได้ชัยชนะในสงครามข่าวสาร ต้องสู้รบพร้อม ๆ กันได้ใน สองทิศทาง ใช้กาลังแบบเบ็ดเสร็จทั้งกาลังประจาการ และกาลังสารอง ค. แนวทางในการวางแผน
  • 4. ๓๕ ค. ๑ กองบัญชาการแห่งชาติ เป็นองค์กรที่มีอานาจในการตกลงใจสูงสุดตามที่ ได้รับการโปรดเกล้าฯ ในการพิจารณาตัดสินใจใช้การปฏิบัติการทางทหาร และการใช้เครื่องมือ ด้านอื่น ๆ ของพลังอานาจของชาติ ค. ๒ ประเทศเรายึดถือการป้องกันตนเองเห็นหลัก และการปฏิบัติใด ๆ ต้องไม่ สร้างเงื่อนไขว่าประเทศของเราเป็นผู้รุกรานก่อน ค. ๓ การใช้ ก าลั ง ต่ อ ศั ต รู ห รื อ ประเทศหนึ่ ง ประเทศใดต้ อ งได้ รั บ อนุ มั ติ จ าก กองบัญชาการแห่งชาติก่อน ค. ๔ ประเทศของเราจะตัดสินใจใช้กาลังทหารเป็นทางเลือกสุดท้าย หรือเพื่อ สนับสนุนต่อมาตรการทางการทูต การเมือง หรือ เศรษฐกิจ ทางเลือกต่าง ๆ ได้แก่ ทางเลือกทางทหาร  ส่งกาลังยุทธ์ร่วมเข้าไปในพื้นที่เพื่อปฏิบัติการ  ใช้เครื่องมืออื่น ๆ ที่เป็นไปได้ เช่น กาลังที่อยู่ในพื้นที่  เพิ่มการลาดตระเวน และการเฝ้าตรวจ  แสดงกาลัง  เตรียมพร้อมด้านกาลัง  ระดมพลเพื่อเตรียมกองหนุน ทางเลือกทางการทูต  ลดระดับความสัมพันธ์  ขับไล่ทูตของประเทศที่มีปัญหา  ใช้องค์กรสหประชาชาติ  การปฏิบัติการอพยพที่ไม่ใช่การรบ ทางเลือกของการปฏิบัติด้านข่าวสาร  ดารงรักษาการพบปะพูดคุยผ่านทางสิ่งพิมพ์  สนับสนุนให้สาธารณชนสนับสนุนต่อการปฏิบัติการ  ใช้สภาสนับสนุนต่อการปฏิบัติการ ทางเลือกด้านเศรษฐกิจ  อายัดทรัพย์สินของชาติที่มีปัญหา  ลดโครงการช่วยเหลือ  ขยายเศรษฐกิจ และโครงการช่วยเหลือกับประเทศที่เป็นมิตร  ตัดความสัมพันธ์ด้านเศรษฐกิจกับประเทศที่มีปัญหา ง. การเคลื่อนย้ายกาลัง ให้กองทัพไทย ดาเนินการเคลื่อนย้ายกาลังด้วยเครื่องมือในอัตราของตนเอง และ เครื่องมือที่ได้รับมอบตามแผนเตรีย มพร้อม และระดมสรรพกาลังแห่ งชาติ โดยกองบัญชาการ แห่งชาติจะสนับสนุนงบประมาณที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติมให้ กรณีที่เกินขีดความสามารถให้กองทัพไทย ร้องขอการสนับสนุนต่อกองบัญชาการแห่งชาติ จ. กาลังที่ใช้ได้ของฝ่ายเรา : กาลังของกองทัพไทยตามอัตรา และกาลังที่จัดตั้งขึ้น
  • 5. ๓๖ ๒. การปฏิบัติ ๒.๑ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ได้เรียกประชุมฝ่ายเสนาธิการร่วม เพื่อดาเนินการจัดทา ยุทธศาสตร์ของยุทธบริเวณเพื่อนาเสนอต่อกองบัญชาการแห่งชาติ บ่งการที่ ๑ ให้ นศ.วทบ. ปฏิบัติหน้าที่เป็น ผบ.ยุทธบริเวณ (ผบ.กาลังรบร่วม) และ สธร. ดาเนินการเกี่ยวกับการเตรียมข่าวกรองร่วมสาหรับสภาพแวดล้อมทางทหาร (JIPOE) เพื่อเป็นพื้นฐานในการจัดทายุทธศาสตร์ของยุทธบริเวณ และแผนการทัพต่อไป  สิ่งที่ต้องการ - กาหนดสภาพแวดล้อมของการยุทธ์ ให้แสดง ยุทธบริเวณปฏิบัติการ พื้นที่สนใจ - พรรณนาถึงผลกระทบของสภาพแวดล้อมของการยุทธ์ ให้แสดงแผ่นบริวาร เครื่องกีดขวางผสมทางบก แผ่นบริวารเครื่องกีดขวางทางเรือ แผ่นบริวารเครื่องกีดขวางผสมทาง อากาศ ผลกระทบของลมฟ้าอากาศ และ การวิเคราะห์ระบบ - ประเมินค่าภัยคุกคาม ให้แสดงจุดศูนย์ดุลของฝ่ายข้าศึก พร้อมทั้ง องค์ประกอบ แผ่นภาพหลักนิยมของฝ่ายข้าศึก ตารางเหตุการณ์ของฝ่ายข้าศึก ระบุเป้าหมายที่ มีค่าสูง และระบุขีดความสามารถของข้าศึก - พิจารณากาหนดหนทางปฏิบัติของข้าศึก ให้แสดงวัตถุประสงค์และ ผลลัพธ์สุดท้ายของฝ่ายข้าศึก หนทางปฏิบัติเต็มขอบเขตของฝ่ายข้าศึก หนทางปฏิบัติที่น่าจะ กระทาของฝ่ายข้าศึก พร้อมตารางสถานการณ์ การรวบรวมข่าวสาร - แสดงการจัดของกาลังฝ่ายข้าศึกในรายละเอียด กกล.ทบ. แสดงกาลังให้เห็น ถึงระดับกองพัน กกล.ทร. แสดงกาลังให้เห็นถึงเรือรบเป็นลา กกล.ทอ. แสดงกาลังให้เห็นถึง เครื่องบินรบเป็นเครื่อง กกล.ปพ. แสดงกาลังให้เห็นถึงชุดปฏิบัติการ บ่งการที่ ๒ : จากคาสั่งกองบัญชาการแห่งชาติที่ ๑๒/๕๕ ทาให้ทราบถึงความ ต้องการของหน่วยเหนือและข้อเท็จจริงที่เป็นอยู่ รวมทั้งการดาเนินการตามบ่งการที่ ๑ ทาให้ ทราบถึงสภาพแวดล้อมของการยุทธ์ในรูปของระบบที่เป็นอยู่ ซึ่งทั้ง ผบ.ทหารสูงสุดในฐานะผู้ บัญชาการยุทธบริเวณ ฝ่ายเสนาธิการร่วม และผู้แทนกองกาลังต่าง ๆ จะเข้าสู่กระบวนการ ประมาณการณ์ทางยุทธศาสตร์ เพื่อจัดทายุทธศาสตร์ของยุทธบริเวณ ให้ นศ.วทบ. ปฏิบัติหน้าที่ เป็น ผบ.ยุทธบริเวณ และฝ่ายเสนาธิการร่วมพิจารณากาหนดสิ่งที่ต้องการดังต่อไปนี้  กาหนดสมมุติฐานที่เกี่ยวข้อง  กาหนดภารกิจแถลงใหม่ ( ของผู้บัญชาการยุทธบริเวณ )  พิจารณาทบทวนและกาหนดเกณฑ์การยุติการรบ  กาหนดผลลัพธ์สุดท้ายทางทหาร  กาหนดวัตถุประสงค์ของยุทธบริเวณ  กาหนดทางเลือกด้านการทหาร การเมือง เศรษฐกิจ และด้านข่าวสาร ที่จะทาให้บรรลุวัตถุประสงค์ของยุทธบริเวณ และการวิเคราะห์  กาหนดความต้องการด้านกาลัง ขีดความสามารถในปัจจุบัน และความ ขาดแคลน
  • 6. ๓๗ บ่งการที่ ๓ ให้ นศ.วทบ. ในฐานะฝ่ายเสนาธิการร่วมได้พัฒนาการจัดกาลังรบร่วมของ ฝ่ายเรา ในรายละเอียดดังนี้ ๑. กกล.ทบ. แสดงกาลังให้เห็นถึงระดับกองพัน พร้อมทั้งยอดกาลัง พล และอาวุธยุทโธปกรณ์ที่สาคัญ ๒. กกล.ทร. แสดงกาลังให้เห็นถึงเรือรบเป็นลา พร้อมทั้งยอดกาลังพล และอาวุธยุทโธปกรณ์ที่สาคัญ ๓. กกล.ทอ. แสดงกาลังให้เห็นถึงเครื่องบินรบเป็นเครื่องพร้อมทั้งยอด กาลังพล และอาวุธยุทโธปกรณ์ที่สาคัญ ๔. กกล.ปพ. แสดงกาลังให้เห็นถึงระดับชุดปฏิบัติการ พร้อมทั้งยอด กาลังพล และอาวุธยุทโธปกรณ์ที่สาคัญ บ่งการที่ ๔ : ให้ นศ.วทบ. ในฐานะ ผบ.ยุทธบริเวณ ฝ่ายเสนาธิการร่วม และ ผู้แทนของกองกาลังเหล่าทัพ นาเสนอยุทธศาสตร์ของยุทธบริเวณ ต่อกองบัญชาการแห่งชาติ ดังนี้ * ภารกิจ - ยุทธศาสตร์การรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ และความต้องการของ กองบัญชาการแห่งชาติ - ยุทธศาสตร์ทหารของชาติ - ภารกิจของกองทัพไทย - วัตถุประสงค์ของยุทธบริเวณ * สถานการณ์ และหนทางปฏิบัติ - สถานการณ์ภายใน และภายนอก - สภาพพื้นที่ปฏิบัติการ และการปฏิบัติการของฝ่ายข้าศึก - สถานการณ์ฝ่ายเรา - ข้อจากัด - สมมุติฐาน - หนทางปฏิบัติ (ทางเลือก) ของฝ่ายเรา และการวิเคราะห์ - กาลังที่ใช้ (แสดงการจัดกาลังในรายละเอียด) ดังนี้ กกล.ทบ. แสดง รายละเอียดถึงระดับกองพัน กกล.ทร. แสดงรายละเอียดถึงเรือรบเป็นลา กกล.ทอ.แสดงรายละเอียด ถึงเครื่องบินเป็นเครื่อง และ กกล.ปพ. แสดงรายละเอียดถึงชุดปฏิบัติการ ๒.๒ กองบัญชาการแห่งชาติเห็นชอบด้วยกับยุทธศาสตร์ของยุทธบริเวณที่ผู้บัญชาการยุทธ บริเวณนาเสนอ บ่งการที่ ๕ : ผบ.ยุทธบริเวณ ( ผบ. กาลังรบร่วม ) และฝ่ายเสนาธิการจะใช้ ยุทธศาสตร์ของยุทธบริเวณเป็นแนวทางในการพัฒนาแผนการทัพต่อไปเพื่อเผชิญกับการรุกรานของ ประเทศกลุ่มสหพันธ์อินโดจีน ให้ นศ.วทบ. ในฐาน ผู้บัญชาการกาลังรบร่วม และฝ่ายเสนาธิการ ร่วมดาเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาแผนการทัพ โดยมีสิ่งที่ต้องแสดงให้เห็นดังนี้  ทบทวนยุทธศาสตร์ของยุทธบริเวณ และคาสั่งของหน่วยเหนือ  กาหนดกิจเฉพาะ, กิจแฝง และ กิจสาคัญยิ่ง
  • 7. ๓๘  พิจารณากาหนดข้อเท็จจริง, สมมุติฐาน, สถานะ หรือสภาพของเงื่อนไขใน ปัจจุบัน  พิจารณากาหนดข้อจากัดของการยุทธ์ ( ข้อห้าม/ข้อบังคับ )  พิจารณาทบทวนและกาหนดเกณฑ์การยุติการรบที่ได้นาเสนอต่อ กองบัญชาการแห่งชาติ  พิจารณากาหนดผลลัพธ์สุดท้ายที่ต้องการระดับยุทธการ  พิจารณากาหนดวัตถุประสงค์ระดับยุทธการ  พิจารณากาหนดผลกระทบสาหรับแต่ละวัตถุประสงค์ระดับยุทธการ และ มาตรการในการวัดผลกระทบ  พิจารณากาหนด – ทบทวน จุดศูนย์ดุล และปัจจัยวิกฤตที่เกี่ยวข้อง  พิจารณากาหนดจุดแตกหักสาหรับแต่ละผลกระทบ  วิเคราะห์โครงสร้างของกาลังที่ได้รับ  วิเคราะห์ความเสี่ยง  พิจารณากาหนดความต้องการข่าวสารที่วิกฤตของผู้บังคับบัญชา ( CCIR )  พัฒนาภารกิจแถลงใหม่  บรรยายสรุปภารกิจแถลงใหม่  เตรียมการเริ่มต้นประมาณการณ์ของฝ่ายเสนาธิการ  อนุมัติภารกิจแถลงใหม่ และพัฒนาเจตนารมณ์ และแนวทางในการ วางแผนของ ผบ. บ่ ง การที่ ๖ : หลั ง จากที่ ส ามารถก าหนดวั ต ถุ ป ระสงค์ ข องยุ ท ธบริ เ วณ วัตถุประสงค์ทางทหารระดับยุทธการ ผลกระทบ จุดแตกหัก และภารกิจแถลงใหม่ ซึ่งเป็น กรอบของการพัฒนาหนทางปฏิบัติ ให้ นศ.วทบ. ในฐานะ ผบ.ยุทธบริเวณ ผบ. กาลังรบร่วม และ ฝ่ายเสนาธิการร่วม ดาเนินการพัฒนาหนทางปฏิบัติ ในรายละเอียดสาหรับขั้นการปฏิบัติต่าง ๆ สิ่ง ที่ต้องการ และต้องแสดงให้เห็น  ทบทวนแนวทางในการวางแผน และเจตนารมณ์ของผู้บังคับบัญชา  ทบทวน และยืนยันผลลัพธ์สุดท้ายทางทหาร วัตถุประสงค์ของยุทธ บริเวณ ผลลัพธ์สุดท้ายที่ต้องการระดับยุทธการ วัตถุประสงค์ระดับยุทธการ ผลกระทบ และ มาตรการในการวัดผลกระทบ และจุดแตกหัก  ทบทวนสภาพแวดล้อม และยืนยันขีดความสามารถที่วิกฤติ ความ ต้องการที่วิกฤติ และความอ่อนแอที่วิกฤติ และจุดศูนย์ดุลระดับยุทธศาสตร์ และยุทธการ  พิจารณากาหนดรายละเอียดของจุดแตกหัก  พิจารณากาหนดขั้นการปฏิบัติ  ดาเนินการพัฒนาหนทางปฏิบัติ - พิจารณาผลกระทบที่ต้องการของทั้งฝ่ายเรา และฝ่ายข้าศึก จุด แตกหัก เพื่อกาหนดแนวทางขั้นต้น - วางกาลังขั้นต้น และการลวง
  • 8. ๓๙ - พัฒนาแนวความคิดในการปฏิบัติ = การดาเนินกลยุทธ์ = การยิง = การพิทักษ์หน่วย = การส่งกาลังบารุง = การข่าวกรอง = การปฏิบัติการด้านข่าวสาร - กาหนดกองบัญชาการหน่วยรอง เพื่อบังคับบัญชา และควบคุม การปฏิบัติ - กาหนดภาพ และข้อความของหนทางปฏิบัติในแต่ละขั้นการ ปฏิบัติ บ่งการที่ ๗ : ให้ นศ.วทบ. ในฐานะ ผบ.ยุทธบริเวณ ผบ.กาลังรบร่วม และ ฝ่ายเสนาธิการร่วม จัดฝ่ายเสนาธิการร่วม ออกเป็นสายงานต่าง ๆ เพื่อดาเนินการวิเคราะห์การรบ ต่อหนทางปฏิบัติที่พัฒนาขึ้น โดยจะต้องแสดงให้เห็นถึง  หนทางปฏิบัติที่มีศักยภาพของฝ่ายข้าศึกที่มีผลต่อแต่ละหนทางปฏิบัติของฝ่ายเรา  จุดแตกหักที่สาคัญ  การปรับปรุงการจัดเฉพาะกิจ  ผสมผสานเครื่องมือของพลังอานาจของชาติด้านอื่น ๆ เข้ากับหนทางปฏิบัติ  ระบุแผนที่แตกออกไป และแผนที่ตามมา  ปรับปรุงผลกระทบที่ต้องการ และที่ไม่ต้องการ  เกณฑ์เสี่ยง และความเป็นไปได้ของผลกระทบที่ไม่ต้องการ  ระบุถึงเป้าหมายที่ให้ผลตอบแทนที่คุ้มค่า และปม หรือขีดความสามารถที่ อ่อนแอ  ตารางประสานสอดคล้อง และข้อมูล  เสนอแนะความต้องการข่าวสารที่วิกฤตของผู้บังคับบัญชา  แผ่นบริวารที่ได้รับการปรับปรุงแล้ว บ่งการที่ ๘ : ให้ นศ.วทบ. ในฐานะ ผบ.กาลังรบร่วม และฝ่ายเสนาธิการร่วม ดาเนินการเปรียบเทียบ และอนุมัติหนทางปฏิบัติโดยจะต้องแสดงให้เห็นถึง  หนทางปฏิบัติที่ฝ่ายเสนาธิการร่วมใช้ในการเปรียบเทียบ และหนทางปฏิบัติที่ เลือกเพื่อนาเสนอต่อผู้บัญชาการกาลังรบร่วม (พร้อมทั้งการประเมินค่า)  หนทางปฏิบัติที่ผู้บัญชาการกาลังรบร่วมตกลงใจเลือก  ประมาณการณ์โดยย่อของ ผบ. และ สธร. ทุกฝ่าย บ่งการที่ ๙ : ให้ นศ.วทบ. ในฐานะ ผบ.ยุทธบริเวณ และฝ่ายเสนาธิการร่วม จัดทาแผนการทัพตามแบบฟอร์ มที่กาหนดไว้ (แสดงแผ่ นบริว ารพร้อมรายละเอียดเกี่ยวกับทุก ระบบปฏิบัติการ และทุกกระบวนการที่เกี่ยวข้องอย่างครบถ้วน) ๓. อาจารย์ผู้รับผิดชอบวิชา : พ.อ.ปรีชา ชุ่มประดิษฐ์ ห้อง ๓๐๗