SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
timeline
ก.พ. 2554
สำนักงบประมาณ มาดูสถานที่ ณ มทร.อีสาน นครราชสีมา แนะนำใหของบประมาณโดยรวมสิ่งกอสราง
เปนรายการเดียว ชื่อ “อาคารปฏิบัติการคณะศิลปกรรมและออกแบบอุตสาหกรรม พรอมอาคาร
อเนกประสงค” ใหจัดทำแบบกอสรางและคำนวณราคาโดยดวน เพื่อเสนอของบประมาณป 2555 ในวงเงิน
งบประมาณ 250 ลานบาท
พ.ค. 2554
มหาวิทยาลัยจางที่ปรึกษาออกแบบอาคารปฏิบัติการคณะศิลปกรรมฯโดย TOR กำหนดขอบเขตและราย
ละเอียดโครงการ ดังนี้
1. อาคารปฏิบัติการคณะศิลปกรรมและออกแบบอุตสาหกรรม ความสูงไมนอยกวา 5 ชั้น
2. ปรับปรุงอาคารเรียน 2 ใหเปนอาคารศูนยศิลปวัฒนธรรม
3. ปรับปรุงอาคารหอประชุม พื้นที่ใชสอย ไมนอยกวา 980 ตารางเมตร
ก.ค. 2554
รองอธิการบดีฝายกิจการนักศึกษา(ผศ.ชูชัย) และรองอธิการบดีฝายวางแผนฯ (ผศ.ดร.วิโรจน) ตองการเพิ่ม
ความจุของหองประชุมใหได 3,000 คน ในบริเวณที่ตั้งหอประชุมเดิม ซึ่งผูออกแบบ(บริษัท T Architect)
ใหความเห็นวาบริเวณดังกลาวไมเหมาะสม คับแคบ เปนพื้นที่ปดถึงสามดาน มีปญหาในการระบายคนเมื่อ
เกิดกรณีฉุกเฉิน ไมมีพื้นที่วางใหจัดเปนที่จอดรถเพื่อรองรับการใชงานในอนาคต ขาดที่วางเพื่อการพักคอย
ของผูใชบริการหอประชุมตามมาตรฐานการออกแบบและปฏิบัติวิชาชีพสถาปตยกรรม แตรองอธิการฝาย
กิจการนักศึกษา(ผศ.ชูชัย)เสนอใหผูออกแบบอีกราย (บริษัท เคเอสบี เอนเตอรไพรส ซึ่งตอมาก็คือบริษัทที่
ไดงานออกแบบอาคารอเนกประสงคปจจุบัน) นำเสนอตออธิการบดีวาสามารถทำได
ก.ค. 2554
อธิการบดีขอให บริษัท T Architect ที่มหาวิทยาลัยจางออกแบบอยู ดำเนินการตามที่รองอธิการบดีทั้งสอง
เสนอ และใหคำแนะนำวาใหออกแบบอาคารหอประชุมใหมีขนาดความจุเทาที่จะเปนไปได ซึ่งทีมงานผู
ออกแบบไดออกแบบหอประชุมใหมีความจุขนาด 2,700 ที่นั่ง และไดนำแบบดังกลาวไปปรึกษากับ
อ.ดร.วทัญู ณ ถลาง ไดรับคำชี้แนะหลายประการและทีมงานพิจารณาเห็นวามีขอจำกัดในการออกแบบ
อาคารในบริเวณนี้อยูมากที่อาจจะทำใหไมสามารถใชอาคารไดอยางมีประสิทธิภาพตามตองการ
พ.ย. 2554
บริษัท T Architect ผูรับจางไดสงมอบงาน แบบกอสราง อาคารปฏิบัติการคณะศิลปกรรมฯพรอมศูนย
วัฒนธรรม
ธ.ค. 2554
อาคารปฏิบัติการคณะศิลปกรรมฯพรอมศูนยศิลปวัฒนธรรม ไมไดรับการจัดสรรงบประมาณ ป 2555 ดวย
มีการเปลี่ยนแปลงรัฐบาลในชวงเวลานั้น มีการโอนเงินงบประมาณดังกลาวใหกับวิทยาเขตกาฬสินธุกอน
มหาวิทยาลัยเลื่อนการของบประมาณอาคารปฏิบัติการคณะศิลปกรรมไวในปงบประมาณ 2556 ตอไป
ปลาย ธ.ค. 2554 - ม.ค. 2555
รองอธิการบดีฝายกิจการทั่วไป(ผศ.สุรศักดิ์) เรียนปรึกษากับรักษาการอธิการบดี เพื่อขอยายสถานที่กอสราง
อาคารหอประชุมที่จะสรางใหมแทนสถานที่เดิมที่ทับกับหอประชุมเดิม โดยขอวงเงินงบประมาณเพิ่มเติมอีก
100 ลานบาท รวมเปนเงินงบประมาณ 350 ลานบาทและใชชื่อโครงการวา “อาคารปฏิบัติการคณะ
ศิลปกรรมและออกแบบอุตสาหกรรม พรอมศูนยศิลปวัฒนธรรมและอาคารอเนกประสงค” รักษาการ
อธิการบดี(รศ.ดร.วินิจ)เห็นชอบและใหดำเนินการ
ม.ค. 2555
มหาวิทยาลัยไดจางผูรับจางรายเดิม (บริษัท T Architect ) ใหออกแบบอาคารอเนกประสงคขนาด 3,500
ที่นั่ง ในบริเวณที่วางตรงขามอาคารเรียนรวมคณะวิทยาศาสตรและศิลปศาสตร
มิ.ย. 2555
บริษัท T Architect ผูรับจางสงมอบงานออกแบบเขียนแบบ อาคารอเนกประสงค 3,500 ที่นั่ง
ก.ค. 2555
รักษาการอธิการบดี(รศ.ดร.วินิจ) หมดวาระพรอมผูบริหารชุดเดิมตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
ส.ค. 2555
รักษาการอธิการบดี(ผศ.ดร.วิโรจน) เขารับตำแหนง พรอมผูบริหารชุดใหม
ต.ค. 2555
รักษาการอธิการบดี (ผศ.ดร.วิโรจน) พรอมผูบริหาร เชิญบริษัท T Architect ผูรับจางออกแบบอาคาร
ปฏิบัติการคณะศิลปกรรมฯปรึกษาหารือ เรื่องการปรับเปลี่ยนแบบกอสราง มีรายละเอียดดังนี้
1. เพิ่มชั้นอาคารปฏิบัติการคณะศิลปกรรม อีก 1 ชั้น
2. ยายตำแหนงที่กอสรางอาคารอเนกประสงค(บริเวณดานตรงขามอาคารคณะวิทยาศาสตร) กลับมาอยู
ณ ตำแหนงเดิม บริเวณขางอาคารเรียน 2 โดยใหรื้อหอประชุมเดิมออก
3. ผูออกแบบไดเสนอราคาคาออกแบบใหม จำนวน 3.5 ลานบาท โดยใหเหตุผลวาเปนการออกแบบ
อาคารใหมทั้งหมด ตองนำแบบที่ดำเนินการเสร็จแลวกลับไปแกไขใหมเกือบทั้งหมดจึงคิดราคาที่
1%ของมูลคาทั้งหมดของโครงการ มหาวิทยาลัยไมตกลง
พ.ย. 2555
มหาวิทยาลัยเชิญชวน จางออกแบบ ศูนยศิลปวัฒนธรรมและอาคารอเนกประสงค วงเงินงบประมาณ 150
ลานบาท คาจางออกแบบ 1.5 ลานบาท
ธ.ค. 2555
มหาวิทยาลัยตกลงจางบริษัท เคเอสบี เอ็นเตอรไพรส ดวยวงเงินคาจางออกแบบ 1.47 ลานบาท กำหนด
แลวเสร็จภายในเกาสิบวัน
ม.ค. 2556
สมาคมศิษยเกาสถาปตยกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน และ สมาคมสถาปนิกสยาม ใน
พระบรมราชูปถัมภ ทำหนังสือถึงมหาวิทยาลัยใหทบทวนที่ตั้งโครงการกอสรางอาคารเอนกประสงค
เนื่องจากตองมีการรื้อทำลายอาคารที่ถือวาเปนประวัติศาสตรสมควรที่จะอนุรักษ
ก.พ. 2556
คณะบุคคลและกลุมศิษยเกาที่ยื่นเรื่องใหทบทวนที่ตั้งอาคารอเนกประสงคจัดการประชุมรวมกับรอง
อธิการบดีฝายกิจการนักศึกษา(ผศ.ชูชัย)เพื่อหาทางออกในเรื่องของการกอสรางใหทันตามกำหนดเวลาโดย
ศิษยเกายินดีชวยเหลือในสวนใดที่มหาวิทยาลัยมีขอจำกัดในการดำเนินการ แตไมไดขอสรุปที่ชัดเจน
ในที่ประชุมกลุมศิษยเกาไดแจงกับ ผศ.ชูชัย วามหาวิทยาลัยกำลังละเมิดพระราชบัญญัติสถาปนิก พ.ศ.
2543 ดวยการจางผูที่ไมมีคุณสมบัติตามที่กำหนดในพระราชบัญญัติมาปฏิบัติงานออกแบบ
สถาปตยกรรม(เนื่องจากบริษัท เคเอสบี เอ็นเตอรไพรส ไมไดขึ้นทะเบียนเปนนิติบุคคลที่รับจางออกแบบกับ
สภาสถาปนิก) ผศ.ชูชัย รับปากวาจะตรวจสอบในกรณีนี้อยางเรงดวนหากมีการกระทำผิดอยางที่ศิษยเกา
รองเรียนจริง จะยกเลิกสัญญากับบริษัท แตไมมีความคืบหนาในเรื่องนี้แตอยางใดในเวลาตอมา
มี.ค. 2556
บริษัท เคเอสบี เอ็นเตอรไพรส ยื่นจดทะเบียนรับรองเปนนิติบุคคลที่รับจางออกแบบสถาปตยกรรมจากสภา
สถาปนิก
18 มี.ค. 2556
บริษัท เคเอสบี เอ็นเตอรไพรส ผูรับจาง สงมอบงานออกแบบ “ศูนยศิลปวัฒนธรรมและอาคาร
อเนกประสงค”
11 เม.ย. 2556
มหาวิทยาลัยประกาศราง TOR
18 เม.ย. 2556
มหาวิทยาลัยประกาศเชิญชวนจางกอสรางอาคารปฏิบัติการคณะศิลปกรรมและออกแบบอุตสาหกรรม
พรอมศูนยศิลปวัฒนธรรมและอาคารอเนกประสงค วงเงินงบประมาณ 350 ลานบาท
19 เม.ย. 2556
คณะบุคคลและกลุมศิษยเกาเขาพบนายกสภามหาวิทยาลัยและอธิการบดี เพื่อขอความชัดเจนในเรื่องการ
ยายที่ตั้งโครงการกอสรางอาคารอเนกประสงคตามหนังสือที่ศิษยเกาไดยื่นมากอนหนานี้
ขอสังเกตุ
1. คาจางออกแบบอาคารปฏิบัติการคณะศิลปกรรมและออกแบบพรอมศูนยวัฒนธรรม 1,200,000 บาท(ครั้งแรก)
2. คาจางออกแบบอาคารอเนกประสงค 500,000 บาท (ครั้งที่ 2)
3. คาจางออกแบบศูนยวัฒนธรรมและอาคารอเนกประสงค 1,470,000 (ครั้งที่ 3) ซึ่งหากมีการดำเนินการตอเนื่องไป
โดยใชแบบกอสรางตามขอ1 และ 2 ก็ไมตองเสียงบประมาณจำนวนนี้ อีกทั้งยังไมมีปญหากับกลุมศิษยเกาในเรื่องที่
ตั้งของโครงการที่ทับอาคารประวัติศาสตร
4. บริษัท เคเอสบี เอ็นเตอรไพรส ยื่นขอรับรองเปนนิติบุคคลผูรับจางออกแบบสถาปตยกรรมจากสภาสถาปนิกหลัง
จากลงนามในสัญญากับมหาวิทยาลัยแลวถึงสามเดือน การดำเนินการกอนหนานี้จึงถือเปนการละเมิดกฏหมาย
พระราชบัญญัติสถาปนิก พ.ศ. 2543 หมวด 6 มาตรา 45 และมหาวิทยาลัยละเมิดกฏหมายเดียวกัน หมวด 6
มาตรา 47

More Related Content

Viewers also liked

Grafeen
GrafeenGrafeen
Grafeenn_kuk
 
NFC - near field communication (od základů po případové studie)
NFC - near field communication (od základů po případové studie)NFC - near field communication (od základů po případové studie)
NFC - near field communication (od základů po případové studie)Etenim
 
Research uniqueness ofindianmanagers
Research uniqueness ofindianmanagersResearch uniqueness ofindianmanagers
Research uniqueness ofindianmanagersSankar Surendran
 
Writing lesson plan that works
Writing lesson plan that worksWriting lesson plan that works
Writing lesson plan that worksGita Cipta
 
Classification presentation
Classification presentationClassification presentation
Classification presentationLupuqium
 
Jak správně nastavit PPC kampaně v Skliku
Jak správně nastavit PPC kampaně v SklikuJak správně nastavit PPC kampaně v Skliku
Jak správně nastavit PPC kampaně v SklikuEtenim
 

Viewers also liked (10)

Grafeen
GrafeenGrafeen
Grafeen
 
Ethical confusion
Ethical confusionEthical confusion
Ethical confusion
 
NFC - near field communication (od základů po případové studie)
NFC - near field communication (od základů po případové studie)NFC - near field communication (od základů po případové studie)
NFC - near field communication (od základů po případové studie)
 
Research uniqueness ofindianmanagers
Research uniqueness ofindianmanagersResearch uniqueness ofindianmanagers
Research uniqueness ofindianmanagers
 
Giao trinh ke toan excel
Giao trinh ke toan excelGiao trinh ke toan excel
Giao trinh ke toan excel
 
Curs 1 stoma rom
Curs 1 stoma romCurs 1 stoma rom
Curs 1 stoma rom
 
Keltron analysis
Keltron analysisKeltron analysis
Keltron analysis
 
Writing lesson plan that works
Writing lesson plan that worksWriting lesson plan that works
Writing lesson plan that works
 
Classification presentation
Classification presentationClassification presentation
Classification presentation
 
Jak správně nastavit PPC kampaně v Skliku
Jak správně nastavit PPC kampaně v SklikuJak správně nastavit PPC kampaně v Skliku
Jak správně nastavit PPC kampaně v Skliku
 

More from Thanai Punyakalamba

คู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุคู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุThanai Punyakalamba
 
การ เสวนาเพื่อรับฟังความคิดเห็น
การ เสวนาเพื่อรับฟังความคิดเห็นการ เสวนาเพื่อรับฟังความคิดเห็น
การ เสวนาเพื่อรับฟังความคิดเห็นThanai Punyakalamba
 
หลักพื้นฐานธรรมาภิบาล มธ.
หลักพื้นฐานธรรมาภิบาล มธ.หลักพื้นฐานธรรมาภิบาล มธ.
หลักพื้นฐานธรรมาภิบาล มธ.Thanai Punyakalamba
 
หลักธรรมาภิบาล
หลักธรรมาภิบาลหลักธรรมาภิบาล
หลักธรรมาภิบาลThanai Punyakalamba
 
Labour protection 2551_release_3
Labour protection 2551_release_3Labour protection 2551_release_3
Labour protection 2551_release_3Thanai Punyakalamba
 

More from Thanai Punyakalamba (15)

คู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุคู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
 
Punyakalamba
PunyakalambaPunyakalamba
Punyakalamba
 
การ เสวนาเพื่อรับฟังความคิดเห็น
การ เสวนาเพื่อรับฟังความคิดเห็นการ เสวนาเพื่อรับฟังความคิดเห็น
การ เสวนาเพื่อรับฟังความคิดเห็น
 
หลักพื้นฐานธรรมาภิบาล มธ.
หลักพื้นฐานธรรมาภิบาล มธ.หลักพื้นฐานธรรมาภิบาล มธ.
หลักพื้นฐานธรรมาภิบาล มธ.
 
หลักธรรมาภิบาล
หลักธรรมาภิบาลหลักธรรมาภิบาล
หลักธรรมาภิบาล
 
Eep time issue_8
Eep time issue_8Eep time issue_8
Eep time issue_8
 
Eep time issue_7
Eep time issue_7Eep time issue_7
Eep time issue_7
 
Eep time issue_6
Eep time issue_6Eep time issue_6
Eep time issue_6
 
Eep time issue_5
Eep time issue_5Eep time issue_5
Eep time issue_5
 
Eep time issue_4
Eep time issue_4Eep time issue_4
Eep time issue_4
 
Eep time issue_3
Eep time issue_3Eep time issue_3
Eep time issue_3
 
Eep time issue_1
Eep time issue_1Eep time issue_1
Eep time issue_1
 
Photo nextor v14
Photo nextor v14Photo nextor v14
Photo nextor v14
 
Labour protection 2551_release_3
Labour protection 2551_release_3Labour protection 2551_release_3
Labour protection 2551_release_3
 
Labour protection 2541
Labour protection 2541Labour protection 2541
Labour protection 2541
 

เกี่ยวกับ มทร

  • 1. timeline ก.พ. 2554 สำนักงบประมาณ มาดูสถานที่ ณ มทร.อีสาน นครราชสีมา แนะนำใหของบประมาณโดยรวมสิ่งกอสราง เปนรายการเดียว ชื่อ “อาคารปฏิบัติการคณะศิลปกรรมและออกแบบอุตสาหกรรม พรอมอาคาร อเนกประสงค” ใหจัดทำแบบกอสรางและคำนวณราคาโดยดวน เพื่อเสนอของบประมาณป 2555 ในวงเงิน งบประมาณ 250 ลานบาท พ.ค. 2554 มหาวิทยาลัยจางที่ปรึกษาออกแบบอาคารปฏิบัติการคณะศิลปกรรมฯโดย TOR กำหนดขอบเขตและราย ละเอียดโครงการ ดังนี้ 1. อาคารปฏิบัติการคณะศิลปกรรมและออกแบบอุตสาหกรรม ความสูงไมนอยกวา 5 ชั้น 2. ปรับปรุงอาคารเรียน 2 ใหเปนอาคารศูนยศิลปวัฒนธรรม 3. ปรับปรุงอาคารหอประชุม พื้นที่ใชสอย ไมนอยกวา 980 ตารางเมตร ก.ค. 2554 รองอธิการบดีฝายกิจการนักศึกษา(ผศ.ชูชัย) และรองอธิการบดีฝายวางแผนฯ (ผศ.ดร.วิโรจน) ตองการเพิ่ม ความจุของหองประชุมใหได 3,000 คน ในบริเวณที่ตั้งหอประชุมเดิม ซึ่งผูออกแบบ(บริษัท T Architect) ใหความเห็นวาบริเวณดังกลาวไมเหมาะสม คับแคบ เปนพื้นที่ปดถึงสามดาน มีปญหาในการระบายคนเมื่อ เกิดกรณีฉุกเฉิน ไมมีพื้นที่วางใหจัดเปนที่จอดรถเพื่อรองรับการใชงานในอนาคต ขาดที่วางเพื่อการพักคอย ของผูใชบริการหอประชุมตามมาตรฐานการออกแบบและปฏิบัติวิชาชีพสถาปตยกรรม แตรองอธิการฝาย กิจการนักศึกษา(ผศ.ชูชัย)เสนอใหผูออกแบบอีกราย (บริษัท เคเอสบี เอนเตอรไพรส ซึ่งตอมาก็คือบริษัทที่ ไดงานออกแบบอาคารอเนกประสงคปจจุบัน) นำเสนอตออธิการบดีวาสามารถทำได ก.ค. 2554 อธิการบดีขอให บริษัท T Architect ที่มหาวิทยาลัยจางออกแบบอยู ดำเนินการตามที่รองอธิการบดีทั้งสอง เสนอ และใหคำแนะนำวาใหออกแบบอาคารหอประชุมใหมีขนาดความจุเทาที่จะเปนไปได ซึ่งทีมงานผู ออกแบบไดออกแบบหอประชุมใหมีความจุขนาด 2,700 ที่นั่ง และไดนำแบบดังกลาวไปปรึกษากับ อ.ดร.วทัญู ณ ถลาง ไดรับคำชี้แนะหลายประการและทีมงานพิจารณาเห็นวามีขอจำกัดในการออกแบบ อาคารในบริเวณนี้อยูมากที่อาจจะทำใหไมสามารถใชอาคารไดอยางมีประสิทธิภาพตามตองการ พ.ย. 2554 บริษัท T Architect ผูรับจางไดสงมอบงาน แบบกอสราง อาคารปฏิบัติการคณะศิลปกรรมฯพรอมศูนย วัฒนธรรม ธ.ค. 2554 อาคารปฏิบัติการคณะศิลปกรรมฯพรอมศูนยศิลปวัฒนธรรม ไมไดรับการจัดสรรงบประมาณ ป 2555 ดวย มีการเปลี่ยนแปลงรัฐบาลในชวงเวลานั้น มีการโอนเงินงบประมาณดังกลาวใหกับวิทยาเขตกาฬสินธุกอน มหาวิทยาลัยเลื่อนการของบประมาณอาคารปฏิบัติการคณะศิลปกรรมไวในปงบประมาณ 2556 ตอไป
  • 2. ปลาย ธ.ค. 2554 - ม.ค. 2555 รองอธิการบดีฝายกิจการทั่วไป(ผศ.สุรศักดิ์) เรียนปรึกษากับรักษาการอธิการบดี เพื่อขอยายสถานที่กอสราง อาคารหอประชุมที่จะสรางใหมแทนสถานที่เดิมที่ทับกับหอประชุมเดิม โดยขอวงเงินงบประมาณเพิ่มเติมอีก 100 ลานบาท รวมเปนเงินงบประมาณ 350 ลานบาทและใชชื่อโครงการวา “อาคารปฏิบัติการคณะ ศิลปกรรมและออกแบบอุตสาหกรรม พรอมศูนยศิลปวัฒนธรรมและอาคารอเนกประสงค” รักษาการ อธิการบดี(รศ.ดร.วินิจ)เห็นชอบและใหดำเนินการ ม.ค. 2555 มหาวิทยาลัยไดจางผูรับจางรายเดิม (บริษัท T Architect ) ใหออกแบบอาคารอเนกประสงคขนาด 3,500 ที่นั่ง ในบริเวณที่วางตรงขามอาคารเรียนรวมคณะวิทยาศาสตรและศิลปศาสตร มิ.ย. 2555 บริษัท T Architect ผูรับจางสงมอบงานออกแบบเขียนแบบ อาคารอเนกประสงค 3,500 ที่นั่ง ก.ค. 2555 รักษาการอธิการบดี(รศ.ดร.วินิจ) หมดวาระพรอมผูบริหารชุดเดิมตามระเบียบของมหาวิทยาลัย ส.ค. 2555 รักษาการอธิการบดี(ผศ.ดร.วิโรจน) เขารับตำแหนง พรอมผูบริหารชุดใหม ต.ค. 2555 รักษาการอธิการบดี (ผศ.ดร.วิโรจน) พรอมผูบริหาร เชิญบริษัท T Architect ผูรับจางออกแบบอาคาร ปฏิบัติการคณะศิลปกรรมฯปรึกษาหารือ เรื่องการปรับเปลี่ยนแบบกอสราง มีรายละเอียดดังนี้ 1. เพิ่มชั้นอาคารปฏิบัติการคณะศิลปกรรม อีก 1 ชั้น 2. ยายตำแหนงที่กอสรางอาคารอเนกประสงค(บริเวณดานตรงขามอาคารคณะวิทยาศาสตร) กลับมาอยู ณ ตำแหนงเดิม บริเวณขางอาคารเรียน 2 โดยใหรื้อหอประชุมเดิมออก 3. ผูออกแบบไดเสนอราคาคาออกแบบใหม จำนวน 3.5 ลานบาท โดยใหเหตุผลวาเปนการออกแบบ อาคารใหมทั้งหมด ตองนำแบบที่ดำเนินการเสร็จแลวกลับไปแกไขใหมเกือบทั้งหมดจึงคิดราคาที่ 1%ของมูลคาทั้งหมดของโครงการ มหาวิทยาลัยไมตกลง พ.ย. 2555 มหาวิทยาลัยเชิญชวน จางออกแบบ ศูนยศิลปวัฒนธรรมและอาคารอเนกประสงค วงเงินงบประมาณ 150 ลานบาท คาจางออกแบบ 1.5 ลานบาท ธ.ค. 2555 มหาวิทยาลัยตกลงจางบริษัท เคเอสบี เอ็นเตอรไพรส ดวยวงเงินคาจางออกแบบ 1.47 ลานบาท กำหนด แลวเสร็จภายในเกาสิบวัน ม.ค. 2556 สมาคมศิษยเกาสถาปตยกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน และ สมาคมสถาปนิกสยาม ใน พระบรมราชูปถัมภ ทำหนังสือถึงมหาวิทยาลัยใหทบทวนที่ตั้งโครงการกอสรางอาคารเอนกประสงค เนื่องจากตองมีการรื้อทำลายอาคารที่ถือวาเปนประวัติศาสตรสมควรที่จะอนุรักษ
  • 3. ก.พ. 2556 คณะบุคคลและกลุมศิษยเกาที่ยื่นเรื่องใหทบทวนที่ตั้งอาคารอเนกประสงคจัดการประชุมรวมกับรอง อธิการบดีฝายกิจการนักศึกษา(ผศ.ชูชัย)เพื่อหาทางออกในเรื่องของการกอสรางใหทันตามกำหนดเวลาโดย ศิษยเกายินดีชวยเหลือในสวนใดที่มหาวิทยาลัยมีขอจำกัดในการดำเนินการ แตไมไดขอสรุปที่ชัดเจน ในที่ประชุมกลุมศิษยเกาไดแจงกับ ผศ.ชูชัย วามหาวิทยาลัยกำลังละเมิดพระราชบัญญัติสถาปนิก พ.ศ. 2543 ดวยการจางผูที่ไมมีคุณสมบัติตามที่กำหนดในพระราชบัญญัติมาปฏิบัติงานออกแบบ สถาปตยกรรม(เนื่องจากบริษัท เคเอสบี เอ็นเตอรไพรส ไมไดขึ้นทะเบียนเปนนิติบุคคลที่รับจางออกแบบกับ สภาสถาปนิก) ผศ.ชูชัย รับปากวาจะตรวจสอบในกรณีนี้อยางเรงดวนหากมีการกระทำผิดอยางที่ศิษยเกา รองเรียนจริง จะยกเลิกสัญญากับบริษัท แตไมมีความคืบหนาในเรื่องนี้แตอยางใดในเวลาตอมา มี.ค. 2556 บริษัท เคเอสบี เอ็นเตอรไพรส ยื่นจดทะเบียนรับรองเปนนิติบุคคลที่รับจางออกแบบสถาปตยกรรมจากสภา สถาปนิก 18 มี.ค. 2556 บริษัท เคเอสบี เอ็นเตอรไพรส ผูรับจาง สงมอบงานออกแบบ “ศูนยศิลปวัฒนธรรมและอาคาร อเนกประสงค” 11 เม.ย. 2556 มหาวิทยาลัยประกาศราง TOR 18 เม.ย. 2556 มหาวิทยาลัยประกาศเชิญชวนจางกอสรางอาคารปฏิบัติการคณะศิลปกรรมและออกแบบอุตสาหกรรม พรอมศูนยศิลปวัฒนธรรมและอาคารอเนกประสงค วงเงินงบประมาณ 350 ลานบาท 19 เม.ย. 2556 คณะบุคคลและกลุมศิษยเกาเขาพบนายกสภามหาวิทยาลัยและอธิการบดี เพื่อขอความชัดเจนในเรื่องการ ยายที่ตั้งโครงการกอสรางอาคารอเนกประสงคตามหนังสือที่ศิษยเกาไดยื่นมากอนหนานี้ ขอสังเกตุ 1. คาจางออกแบบอาคารปฏิบัติการคณะศิลปกรรมและออกแบบพรอมศูนยวัฒนธรรม 1,200,000 บาท(ครั้งแรก) 2. คาจางออกแบบอาคารอเนกประสงค 500,000 บาท (ครั้งที่ 2) 3. คาจางออกแบบศูนยวัฒนธรรมและอาคารอเนกประสงค 1,470,000 (ครั้งที่ 3) ซึ่งหากมีการดำเนินการตอเนื่องไป โดยใชแบบกอสรางตามขอ1 และ 2 ก็ไมตองเสียงบประมาณจำนวนนี้ อีกทั้งยังไมมีปญหากับกลุมศิษยเกาในเรื่องที่ ตั้งของโครงการที่ทับอาคารประวัติศาสตร 4. บริษัท เคเอสบี เอ็นเตอรไพรส ยื่นขอรับรองเปนนิติบุคคลผูรับจางออกแบบสถาปตยกรรมจากสภาสถาปนิกหลัง จากลงนามในสัญญากับมหาวิทยาลัยแลวถึงสามเดือน การดำเนินการกอนหนานี้จึงถือเปนการละเมิดกฏหมาย พระราชบัญญัติสถาปนิก พ.ศ. 2543 หมวด 6 มาตรา 45 และมหาวิทยาลัยละเมิดกฏหมายเดียวกัน หมวด 6 มาตรา 47