SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
การวัด และประเมินผลการเรียนรู้
ความหมายของการวัดผล การทดสอบ และการประเมินผล การวัดผลการ  ( Measurement)  หมายถึง กระบวนการหาปริมาณ หรือจำนวนของสิ่งต่าง ๆ โดยใช้เครื่องมืออย่างใดอย่างหนึ่ง ผลจากการวัดจะออกมาเป็นตัวเลข หรือสัญลักษณ์ เช่น นายแดงสูง  180  ซม . ( เครื่องมือ คือ ที่วัดส่วนสูง )  วัตถุชิ้นนี้หนัก  2  ก . ก  ( เครื่องมือ คือ เครื่องชั่ง )
การทดสอบการศึกษา  หมายถึง กระบวนการวัดผลอย่างหนึ่งที่กระทำอย่างมีระบบเพื่อใช้ในการเปรียบเทียบความสามารถของบุคคล โดยใช้ข้อสอบหรือคำถามไปกระตุ้นให้สมองแสดงพฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งออกมา การประเมินผล  ( Evaluation)  หมายถึง การตัดสิน หรือวินิจฉัยสิ่งต่าง ๆ ที่ได้จากการวัดผล เช่น ผลจากการวัดความสูงของนายแดงได้  180  ซม .  ก็อาจประเมินว่าเป็นคนที่สูงมาก ผลจากการชั่งน้ำหนักของวัตถุชิ้นหนึ่งได้  2  ก . ก ก็อาจจะประเมินว่าหนัก  -  เบา หรือ เอา -  ไม่เอา
บลูม  ( Bloom)   และคณะ ได้แบ่งพฤติกรรมที่จะวัดออกเป็น  3  ลักษณะ 1. วัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย   ได้แก่ การวัดเกี่ยวกับ ความรู้ ความคิด  ( วัดด้านสมอง ) 2. วัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย   ได้แก่ การวัดเกี่ยวกับความรู้สึกนึกคิด  ( วัดด้านจิตใจ ) 3. วัดพฤติกรรมด้านทักษะพิสัย   ได้แก่ การวัดเกี่ยวกับการใช้กล้ามเนื้อ และประสาทสัมผัสส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย  ( วัดด้านการปฏิบัติ )
จุดมุ่งหมายของการวัดผลการศึกษา 1.  วัดผลเพื่อและพัฒนาสมรรถภาพของนักเรียน หมายถึง การวัดผลเพื่อดูว่านักเรียน  บกพร่องหรือไม่เข้าใจในเรื่องใดอย่างไร แล้วครูพยายามอบรมสั่งสอนให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้และมีความเจริญงอกงามตามศักยภาพของนักเรียน 2.  วัดผลเพื่อวินิจฉัย หมายถึง การวัดผลเพื่อค้นหาจุดบกพร่องของนักเรียนที่มีปัญหาว่า ยังไม่เกิดการเรียนรู้ตรงจุดใด เพื่อหาทางช่วยเหลือ 3.  วัดผลเพื่อจัดอันดับหรือจัดตำแหน่ง หมายถึง การวัดผลเพื่อจัดอันดับความสามารถของนักเรียนในกลุ่มเดียวกันว่าใครเก่งกว่า ใครควรได้อันที่  1 2 3
4.  วัดผลเพื่อเปรียบเทียบหรือเพื่อทราบพัฒนาการของนักเรียน หมายถึง การวัดผลเพื่อเปรียบเทียบความสามารถของนักเรียนเอง เช่น การทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียนแล้วนำผลมาเปรียบเทียบกัน 5.  วัดผลเพื่อพยากรณ์ หมายถึง การวัดเพื่อนำผลที่ได้ไปคาดคะเนหรือทำนายเหตุการณ์ในอนาคต   6.  วัดผลเพื่อประเมินผล หมายถึง การวัดเพื่อนำผลที่ได้มาตัดสิน หรือสรุปคุณภาพของการจัดการศึกษาว่ามีประสิทธิภาพสูงหรือต่ำ ควรปรับปรุงแก้ไขอย่างไร
หลักการวัดผลการศึกษา 1.  ต้องวัดให้ตรงกับจุดมุ่งหมายของการเรียนการสอน 2.  เลือกใช้เครื่องมือวัดที่ดีและเหมาะสม 3.  ระวังความคลาดเคลื่อนหรือความผิดพลาดของการวัด 4.  ประเมินผลการวัดให้ถูกต้อง 5.  ใช้ผลการวัดให้คุ้มค่า
เครื่องมือที่ใช้ในการวัด 1. การสังเกต การสังเกต  คือ การพิจารณาปรากฏการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น เพื่อค้นหาความจริงบางประการ โดยอาศัยประสาท สัมผัสของผู้สังเกตโดยตรง รูปแบบการสังเกต 1. การสังเกตโดยผู้สังเกตเข้าไปร่วมในเหตุการณ์หรือกิจกรรม 2. การสังเกตโดยผู้สังเกตไม่ได้เข้าไปร่วมในเหตุการณ์ 2.1  การสังเกตแบบไม่มีโคลงสร้าง 2.2  การสังเกตแบบมีโคลงสร้าง
2. การสัมภาษณ์  ( Interview ) การสัมภาษณ์  คือ การสนทนาหรือการพูดโต้ตอบกันอย่างมีจุดมุ่งหมาย เพื่อค้นหาความรู้ความจริง ตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ล่วงหน้า รูปแบบของการสัมภาษณ์ 1. การสัมภาษณ์แบบไม่มีโคลงสร้าง 2. การสัมภาษณ์แบบมีโคลงสร้าง
3. แบบสอบถาม แบบสอบถามเป็นเครื่องมือชนิดหนึ่งที่นิยมใช้กันมาก โดยเฉพาะการเก็บข้อมูลทางสังคมศาสตร์ ทั้งนี้เพราะเป็นวิชาการที่สะดวก และสามารถใช้วัดได้อย่างกว้างขวาง รูปแบบของแบบสอบถาม 1. แบบสอบถามชนิดปลายเปิด  ( Open-ended Form ) 2. แบบสอบถามปลายปิด  ( Closed-ended Form ) 2.1  แบบตรวจสอบรายการ 2.2  มาตราส่วนประมาณค่า 2.3  แบบจัดอันดับ 2.4  แบบเติมคำสั้นๆในช่องว่าง
4. การจัดอันดับ เป็นเครื่องมือมือวัดผลให้นักเรียน หรือผู้ได้รับแบบสอบถามเป็นผู้ตอบ โดยการจัดอันดับความสำคัญ   หรือจัดอันดับคุณภาพ และใช้จัดอันดับของข้อมูลหรือผลงานต่าง ๆ ของนักเรียนแล้วจึงให้คะแนน ภายหลังเพื่อการประเมิน  
5.  การประเมินผลจากสภาพจริง  ( Authentic Assessment)   หมายถึง กระบวนการสังเกต การบันทึก และรวบรวมข้อมูลจากงานและวิธีการที่นักเรียนทำ การประเมินผลจากสภาพจริงจะเน้นให้นักเรียนสามารถแก้ปัญหา เป็นผู้ค้นพบและผู้ผลิตความรู้ นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติจริง รวมทั้งเน้นพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน
ความสำคัญของการประเมินผลจากสภาพจริง 1.  การเรียนการสอนและการวัดประเมินผลจากสภาพจริง จะเอื้อให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างเต็มศักยภาพของแต่ละบุคคล 2.  เป็นการเอื้อต่อการเรียนการสอนที่เน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลาง 3.  เป็นการเน้นให้นักเรียนได้สร้างงาน 4.  เป็นการผสมผสานให้กิจกรรมการเรียนรู้และการประเมินผล 5.  เป็นการลดภาระงานซ่อมเสริมของครู
6.  การวัดผลภาคปฏิบัติ  ( Performance Assessment) การวัดผลภาคปฏิบัติ เป็นการวัดผลงานที่ให้นักเรียนลงมือปฏิบัติ ซึ่งสามารถวัดได้ทั้งกระบวนการและผลงาน ในสถานการณ์จริง หรือในสถานการณ์จำลอง สิ่งที่ควรคำนึงในการสอบวัดภาคปฏิบัติคือ 1.  ขั้นเตรียมงาน 2.  ขั้นปฏิบัติงาน 3.  เวลาที่ใช้ในการทำงาน 4.  ผลงาน  
7.  การประเมินผลโดยใช้แฟ้มสะสมงาน  ( Portfolios)  เป็นแนวทางการประเมินผลโดยการรวมข้อมูลที่ครูและผู้เรียนทำกิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกัน โดยกระทำอย่างต่อเนื่องตลอดภาคเรียน ดังนั้นการวัดผลและประเมินผลโดยใช้แฟ้มสะสมงานส่วนหนึ่ง จะเป็นกิจกรรมที่สอดแทรกอยู่ใสภาพการเรียนประจำวัน โดยกิจกรรมที่สอดแทรกเหล่านี้จะวัด เนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับสภาพชีวิตประจำวัน
8.  แบบทดสอบ  ( Test)   แบบทดสอบ หมายถึง ชุดของคำถามหริอกลุ่มงานใดๆ ที่สร้างขึ้นเพื่อชักนำให้ผู้ถูกทดสอบ แสดงพฤติกรรม หรือ ปฏิกิริยาโต้ตอบอย่างใดอย่างหนึ่งออกมาให้สามารถสังเกตได้ ประเภทของแบบทดสอบ  สามารถแบ่งประเภทออกได้หลายลักษณะ ขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่จะใช้ ดังนี้ 8.1  แบ่งตามพฤติกรรมหรือสมรรถภาพที่จะวัด     1. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ 2. แบบทดสอบวัดความถนัด 3.  แบบทดสอบวัดบุคลิกภาพทางสังคม
8.2  แบ่งตามลักษณะการตอบ   1.  แบบทดสอบภาคปฏิบัติ หมายถึง แบบทดสอบที่ให้นักเรียนลงมือปฏิบัติ จริง เช่น การปรุงอาหาร   2.  แบบทดสอบข้อเขียน หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้การเขียนตอบ   3.  แบบทดสอบปากเปล่า หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้การพูดโต้ตอบแทนการ เขียน 8.3  แบ่งตามเวลาที่กำหนดให้ตอบ   1.  แบบทดสอบที่จำกัดเวลาในการตอบ หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้เวลาน้อย   2.  แบบทดสอบที่ไม่จำกัดเวลาในการตอบ หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้เวลา ตอบมาก
8.4  แบ่งตามจำนวนผู้เข้าสอบ   1.  แบบทดสอบเป็นรายบุคคล หมายถึง การสอบทีละคนมักเป็นการสอบ ภาคปฏิบัติ   2.  แบบทดสอบเป็นชั้นหรือเป็นหมู่ หมายถึง การสอบทีละหลาย ๆ คน 8.5  แบ่งตามสิ่งเร้าของการถาม     1.  แบบทดสอบทางภาษา หมายถึง แบบทดสอบที่ต้องอาศัยภาษาของสังคม นั้น ๆ เป็นหลัก ใช้กับผู้ที่อ่านออกเขียนได้   2.  แบบทดสอบที่ไม่ใช้ภาษา หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้รูปภาพ สัญลักษณ์ หรือตัวเลข
8.6  แบ่งตามลักษณะของการใช้ประโยชน์     1.  แบบทดสอบย่อย หมายถึง แบบทดสอบประจำบท หรือหน่วยการเรียน   2.  แบบทดสอบรวม หมายถึง แบบทดสอบสรุปรวมเนื้อหาที่เรียนผ่านมา ตลอดภาคเรียน 8.7  แบ่งตามเนื้อหาของข้อสอบในฉบับ   1.  แบบทดสอบอัตนัย หมายถึง แบบทดสอบที่มีเฉพาะคำถามนักเรียนต้อง คิดหาคำตอบเอง   2.  แบบทดสอบปรนัย หมายถึง แบบทดสอบที่มีทั้งคำถามและคำตอบเฉพาะ คงที่แน่นอน
9. การสังเกต  (Observation) ธรรมชาติของข้อมูลจากการสังเกต  แบ่งเป็น  2  ระดับ คือ 1. เป็นรูปธรรม 2. เป็นนามธรรม ชนิดของการสังเกต  แบ่งเป็น  2  ชนิด คือ 1. การสังเกตแบบมีส่วนร่วม 2. การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม
ลักษณะของการสังเกตที่ดี 1. กำหนดจุดมุ่งหมายของการสังเกต 2. วางแผนการสังเกตไว้ล่วงหน้า และวิเคราะห์สิ่งที่จะสังเกต 3. ควรสังเกตโดยที่ผู้ถูกสังเกตไม่รู้ตัว 4. ควรระวังอย่าให้เกิดการลำเอียงในขณะที่สังเกต 5. ควรสังเกตซ้ำหลายๆครั้ง 6. ควรมีการบันทึกการสังเกตทุกครั้ง
10. การสัมภาษณ์ การสัมภาษณ์จะช่วยให้ทราบข้อมูลเกี่ยวกับผู้ถูก สัมภาษณ์ ในด้านบุคลิกภาพท่วงทีวาจา เจตคติ ปฏิภาณ ไหวพริบ หรือการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ประเภทของการสัมภาษณ์ 1. การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างแน่นอน 2. การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้างแน่นอน
11. แบบสอบถามและแบบสำรวจ แบบสอบถามเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการหาข้อมูลเกี่ยวกับตัวบุคคลอย่างแพร่หลายเนื่องจากเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้ได้ข้อมูลในเวลาอันรวดเร็ว และยังสามารถส่งแบบสอบถามไปให้บุคคลที่ต้องการข้อมูลจากเขาได้ ประเภทแบบสอบถาม 1. แบบสอบถามปลายเปิด 2. แบบสอบถามปลายปิด
12. แบบสำรวจ  ( checklists ) แบบสำรวจ หรือแบบตรวจสอบรายการ เป็นเครื่องมือที่ใช้กันมากอีกชนิดหนึ่ง โดยปกติจะประกอบด้วยบัญชีรายการสิ่งของหรือเรื่องราวต่างๆ ที่จะให้ผู้ตอบ ตอบในลักษณะที่ให้เลือกอย่างใดอย่างหนึ่งในสองอย่างที่กำหนดให้ เช่น มี - ไม่มี , ชอบ - ไม่ชอบ
การวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล เป็นกระบวนการนำข้อมูลซึ่งเก็บรวบรวมได้ มาจัดกระทำโดยการจัดระเบียบ แยกประเภท หรือใช้วิธีการทางสถิติ เพื่อตอบคำถามตามจุดมุ่งหมายของการประเมิน ลักษณะของข้อมูล 1. ข้อมูลเชิงปริมาณ 2. ข้อมูลเชิงคุณภาพ ประเภทของการวิเคราะห์ข้อมูล 1. การวิเคราะห์โดยไม่ใช้วิธีการทางสถิติ 2. การวิเคราะห์โดยใช้วิธีการทางสถิติ
การประเมินผลทางการศึกษา การประเมินผลทางการศึกษา หมายถึง กระบวนการในกานตัดสินใจลงสรุปคุณลักษณะหรือพฤติกรรมของนักเรียนว่ามี คุณภาพดีระดับใดโดยอาศัยเกณฑ์อย่างใดอย่างหนึ่งในการเปรียบเทียบ มีองค์ประกอบ  3  ประการ คือ 1. ผลการวัด 2. เกณฑ์การพิจารณา 3. การตัดใจ
การประเมินผลแบบอิงเกณฑ์ เป็นการวัดเพื่อต้องการทราบว่าบุคลนั้น ๆมีรความสามารถถึงเกณฑ์ที่กำหนดไว้หรือไม่ การประเมินผลต้องนำคะแนนที่ได้จาก ผลงานไปเทียบกับเกณฑ์ที่กำหนดไว้การวัดผลใช้ในการวัดสมรรถภาพเป็นราย บุคคล ถ้านักเรียนทำข้อสอบได้ถูกต้องถึงเกณฑ์ที่กำหนดไว้ที่กำหนดไว้ถือว่าได้เรียนรู้ตามจุดมุ่งหมายแล้ว ข้อควรคำนึงการประเมินแบบอิงเกณฑ์ ๑ .  วัตถุประสงค์อย่างชัดเจน ๒ .  ข้อสอบมีความเที่ยงตรงสูงและครอบคลุมวัตถุประสงค์การสอน ๓ .  เกณฑ์ที่วัดต้องเด่นชัดมีหลักเกณฑ์ที่อ้างอย่างคุณธรรม
การประเมินแบบอิงกลุ่ม เป็นการวัดเพื่อเปรียบเทียบคะแนนของบุคคลใดบุคคลหนึ่งกับบุคลหนึ่ง คือจำแนกคะแนนสูงสุดจนต่ำสุดแล้วจึงนำคะแนนเหล่านั้นมาเปรียบเทียบ เพื่อประเมินต่อไป เช่น การคัดเลือกนักศึกษาสอบเข้ามหาวิทยาลัย   ข้อควรระวัง   1 .  ข้อสอบต้องมีคุณภาพสูง มีความเชื่อมั่นและเที่ยงตรง 2 .  ข้อสอบที่ใช้จะต้องครอบคลุมทั้งหมด การประเมินผลจะต้องมีความยุติธรรม ตามสภาพความเป็นจริงของผลการเรียน

More Related Content

What's hot

แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านthkitiya
 
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลยข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลยKhunnawang Khunnawang
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3Khunnawang Khunnawang
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56
เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56
เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56krupornpana55
 
30 เทคนิคการสอน
30 เทคนิคการสอน30 เทคนิคการสอน
30 เทคนิคการสอนKobwit Piriyawat
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชลธิกาญจน์ จินาจันทร์
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบworapanthewaha
 
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3teerachon
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศsariya25
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์Pazalulla Ing Chelsea
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบssuserf8d051
 
แบบบันทึกการศึกษาค้นคว้าจาก Internet
แบบบันทึกการศึกษาค้นคว้าจาก Internetแบบบันทึกการศึกษาค้นคว้าจาก Internet
แบบบันทึกการศึกษาค้นคว้าจาก Internetโรงเรียนบ้านพอก
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยBenjapron Seesukong
 
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxJessie SK
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stadnangnut
 

What's hot (20)

แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
 
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลยข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56
เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56
เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56
 
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
 
30 เทคนิคการสอน
30 เทคนิคการสอน30 เทคนิคการสอน
30 เทคนิคการสอน
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
แบบบันทึกการศึกษาค้นคว้าจาก Internet
แบบบันทึกการศึกษาค้นคว้าจาก Internetแบบบันทึกการศึกษาค้นคว้าจาก Internet
แบบบันทึกการศึกษาค้นคว้าจาก Internet
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
 
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
 
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
 

Similar to การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

การวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผลการวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผลAnny Hotelier
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ บทที่๘Zzz
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ บทที่๘Zzzการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ บทที่๘Zzz
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ บทที่๘Zzzjaacllassic
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ บทที่๘Zzz
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ บทที่๘Zzzการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ บทที่๘Zzz
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ บทที่๘Zzzjaacllassic
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ บทที่๘Zzz
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ บทที่๘Zzzการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ บทที่๘Zzz
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ บทที่๘Zzzjaacllassic
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้tuphung
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้tuphung
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้tuphung
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลSarawut Tikummul
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลSarawut Tikummul
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1yuapawan
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1yuapawan
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้vizaza
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8josodaza
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8honeylamon
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้Sujitra ComEdu
 
งานบทที่ 8
งานบทที่ 8งานบทที่ 8
งานบทที่ 8hadesza
 
งานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะงานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะnwichunee
 

Similar to การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ (20)

การวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผลการวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผล
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ บทที่๘Zzz
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ บทที่๘Zzzการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ บทที่๘Zzz
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ บทที่๘Zzz
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ บทที่๘Zzz
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ บทที่๘Zzzการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ บทที่๘Zzz
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ บทที่๘Zzz
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ บทที่๘Zzz
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ บทที่๘Zzzการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ บทที่๘Zzz
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ บทที่๘Zzz
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผล
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผล
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
งานบทที่ 8
งานบทที่ 8งานบทที่ 8
งานบทที่ 8
 
งานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะงานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะ
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 

More from poms0077

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้poms0077
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้poms0077
 
สื่อ
สื่อสื่อ
สื่อpoms0077
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้poms0077
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3poms0077
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3poms0077
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2poms0077
 
จิตวิทยา
จิตวิทยาจิตวิทยา
จิตวิทยาpoms0077
 
ยินดีต้อนรับ
ยินดีต้อนรับยินดีต้อนรับ
ยินดีต้อนรับpoms0077
 

More from poms0077 (10)

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อ
สื่อสื่อ
สื่อ
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2
 
55
5555
55
 
จิตวิทยา
จิตวิทยาจิตวิทยา
จิตวิทยา
 
ยินดีต้อนรับ
ยินดีต้อนรับยินดีต้อนรับ
ยินดีต้อนรับ
 

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

  • 2. ความหมายของการวัดผล การทดสอบ และการประเมินผล การวัดผลการ ( Measurement) หมายถึง กระบวนการหาปริมาณ หรือจำนวนของสิ่งต่าง ๆ โดยใช้เครื่องมืออย่างใดอย่างหนึ่ง ผลจากการวัดจะออกมาเป็นตัวเลข หรือสัญลักษณ์ เช่น นายแดงสูง 180 ซม . ( เครื่องมือ คือ ที่วัดส่วนสูง ) วัตถุชิ้นนี้หนัก 2 ก . ก ( เครื่องมือ คือ เครื่องชั่ง )
  • 3. การทดสอบการศึกษา หมายถึง กระบวนการวัดผลอย่างหนึ่งที่กระทำอย่างมีระบบเพื่อใช้ในการเปรียบเทียบความสามารถของบุคคล โดยใช้ข้อสอบหรือคำถามไปกระตุ้นให้สมองแสดงพฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งออกมา การประเมินผล ( Evaluation) หมายถึง การตัดสิน หรือวินิจฉัยสิ่งต่าง ๆ ที่ได้จากการวัดผล เช่น ผลจากการวัดความสูงของนายแดงได้ 180 ซม . ก็อาจประเมินว่าเป็นคนที่สูงมาก ผลจากการชั่งน้ำหนักของวัตถุชิ้นหนึ่งได้ 2 ก . ก ก็อาจจะประเมินว่าหนัก - เบา หรือ เอา - ไม่เอา
  • 4. บลูม ( Bloom)   และคณะ ได้แบ่งพฤติกรรมที่จะวัดออกเป็น 3 ลักษณะ 1. วัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย   ได้แก่ การวัดเกี่ยวกับ ความรู้ ความคิด ( วัดด้านสมอง ) 2. วัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย   ได้แก่ การวัดเกี่ยวกับความรู้สึกนึกคิด ( วัดด้านจิตใจ ) 3. วัดพฤติกรรมด้านทักษะพิสัย   ได้แก่ การวัดเกี่ยวกับการใช้กล้ามเนื้อ และประสาทสัมผัสส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ( วัดด้านการปฏิบัติ )
  • 5. จุดมุ่งหมายของการวัดผลการศึกษา 1. วัดผลเพื่อและพัฒนาสมรรถภาพของนักเรียน หมายถึง การวัดผลเพื่อดูว่านักเรียน บกพร่องหรือไม่เข้าใจในเรื่องใดอย่างไร แล้วครูพยายามอบรมสั่งสอนให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้และมีความเจริญงอกงามตามศักยภาพของนักเรียน 2. วัดผลเพื่อวินิจฉัย หมายถึง การวัดผลเพื่อค้นหาจุดบกพร่องของนักเรียนที่มีปัญหาว่า ยังไม่เกิดการเรียนรู้ตรงจุดใด เพื่อหาทางช่วยเหลือ 3. วัดผลเพื่อจัดอันดับหรือจัดตำแหน่ง หมายถึง การวัดผลเพื่อจัดอันดับความสามารถของนักเรียนในกลุ่มเดียวกันว่าใครเก่งกว่า ใครควรได้อันที่ 1 2 3
  • 6. 4. วัดผลเพื่อเปรียบเทียบหรือเพื่อทราบพัฒนาการของนักเรียน หมายถึง การวัดผลเพื่อเปรียบเทียบความสามารถของนักเรียนเอง เช่น การทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียนแล้วนำผลมาเปรียบเทียบกัน 5. วัดผลเพื่อพยากรณ์ หมายถึง การวัดเพื่อนำผลที่ได้ไปคาดคะเนหรือทำนายเหตุการณ์ในอนาคต   6. วัดผลเพื่อประเมินผล หมายถึง การวัดเพื่อนำผลที่ได้มาตัดสิน หรือสรุปคุณภาพของการจัดการศึกษาว่ามีประสิทธิภาพสูงหรือต่ำ ควรปรับปรุงแก้ไขอย่างไร
  • 7. หลักการวัดผลการศึกษา 1. ต้องวัดให้ตรงกับจุดมุ่งหมายของการเรียนการสอน 2. เลือกใช้เครื่องมือวัดที่ดีและเหมาะสม 3. ระวังความคลาดเคลื่อนหรือความผิดพลาดของการวัด 4. ประเมินผลการวัดให้ถูกต้อง 5. ใช้ผลการวัดให้คุ้มค่า
  • 8. เครื่องมือที่ใช้ในการวัด 1. การสังเกต การสังเกต คือ การพิจารณาปรากฏการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น เพื่อค้นหาความจริงบางประการ โดยอาศัยประสาท สัมผัสของผู้สังเกตโดยตรง รูปแบบการสังเกต 1. การสังเกตโดยผู้สังเกตเข้าไปร่วมในเหตุการณ์หรือกิจกรรม 2. การสังเกตโดยผู้สังเกตไม่ได้เข้าไปร่วมในเหตุการณ์ 2.1 การสังเกตแบบไม่มีโคลงสร้าง 2.2 การสังเกตแบบมีโคลงสร้าง
  • 9. 2. การสัมภาษณ์ ( Interview ) การสัมภาษณ์ คือ การสนทนาหรือการพูดโต้ตอบกันอย่างมีจุดมุ่งหมาย เพื่อค้นหาความรู้ความจริง ตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ล่วงหน้า รูปแบบของการสัมภาษณ์ 1. การสัมภาษณ์แบบไม่มีโคลงสร้าง 2. การสัมภาษณ์แบบมีโคลงสร้าง
  • 10. 3. แบบสอบถาม แบบสอบถามเป็นเครื่องมือชนิดหนึ่งที่นิยมใช้กันมาก โดยเฉพาะการเก็บข้อมูลทางสังคมศาสตร์ ทั้งนี้เพราะเป็นวิชาการที่สะดวก และสามารถใช้วัดได้อย่างกว้างขวาง รูปแบบของแบบสอบถาม 1. แบบสอบถามชนิดปลายเปิด ( Open-ended Form ) 2. แบบสอบถามปลายปิด ( Closed-ended Form ) 2.1 แบบตรวจสอบรายการ 2.2 มาตราส่วนประมาณค่า 2.3 แบบจัดอันดับ 2.4 แบบเติมคำสั้นๆในช่องว่าง
  • 11. 4. การจัดอันดับ เป็นเครื่องมือมือวัดผลให้นักเรียน หรือผู้ได้รับแบบสอบถามเป็นผู้ตอบ โดยการจัดอันดับความสำคัญ   หรือจัดอันดับคุณภาพ และใช้จัดอันดับของข้อมูลหรือผลงานต่าง ๆ ของนักเรียนแล้วจึงให้คะแนน ภายหลังเพื่อการประเมิน  
  • 12. 5. การประเมินผลจากสภาพจริง ( Authentic Assessment)   หมายถึง กระบวนการสังเกต การบันทึก และรวบรวมข้อมูลจากงานและวิธีการที่นักเรียนทำ การประเมินผลจากสภาพจริงจะเน้นให้นักเรียนสามารถแก้ปัญหา เป็นผู้ค้นพบและผู้ผลิตความรู้ นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติจริง รวมทั้งเน้นพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน
  • 13. ความสำคัญของการประเมินผลจากสภาพจริง 1. การเรียนการสอนและการวัดประเมินผลจากสภาพจริง จะเอื้อให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างเต็มศักยภาพของแต่ละบุคคล 2. เป็นการเอื้อต่อการเรียนการสอนที่เน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลาง 3. เป็นการเน้นให้นักเรียนได้สร้างงาน 4. เป็นการผสมผสานให้กิจกรรมการเรียนรู้และการประเมินผล 5. เป็นการลดภาระงานซ่อมเสริมของครู
  • 14. 6. การวัดผลภาคปฏิบัติ ( Performance Assessment) การวัดผลภาคปฏิบัติ เป็นการวัดผลงานที่ให้นักเรียนลงมือปฏิบัติ ซึ่งสามารถวัดได้ทั้งกระบวนการและผลงาน ในสถานการณ์จริง หรือในสถานการณ์จำลอง สิ่งที่ควรคำนึงในการสอบวัดภาคปฏิบัติคือ 1. ขั้นเตรียมงาน 2. ขั้นปฏิบัติงาน 3. เวลาที่ใช้ในการทำงาน 4. ผลงาน  
  • 15. 7. การประเมินผลโดยใช้แฟ้มสะสมงาน ( Portfolios)  เป็นแนวทางการประเมินผลโดยการรวมข้อมูลที่ครูและผู้เรียนทำกิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกัน โดยกระทำอย่างต่อเนื่องตลอดภาคเรียน ดังนั้นการวัดผลและประเมินผลโดยใช้แฟ้มสะสมงานส่วนหนึ่ง จะเป็นกิจกรรมที่สอดแทรกอยู่ใสภาพการเรียนประจำวัน โดยกิจกรรมที่สอดแทรกเหล่านี้จะวัด เนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับสภาพชีวิตประจำวัน
  • 16. 8. แบบทดสอบ ( Test) แบบทดสอบ หมายถึง ชุดของคำถามหริอกลุ่มงานใดๆ ที่สร้างขึ้นเพื่อชักนำให้ผู้ถูกทดสอบ แสดงพฤติกรรม หรือ ปฏิกิริยาโต้ตอบอย่างใดอย่างหนึ่งออกมาให้สามารถสังเกตได้ ประเภทของแบบทดสอบ สามารถแบ่งประเภทออกได้หลายลักษณะ ขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่จะใช้ ดังนี้ 8.1 แบ่งตามพฤติกรรมหรือสมรรถภาพที่จะวัด   1. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ 2. แบบทดสอบวัดความถนัด 3. แบบทดสอบวัดบุคลิกภาพทางสังคม
  • 17. 8.2 แบ่งตามลักษณะการตอบ 1. แบบทดสอบภาคปฏิบัติ หมายถึง แบบทดสอบที่ให้นักเรียนลงมือปฏิบัติ จริง เช่น การปรุงอาหาร 2. แบบทดสอบข้อเขียน หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้การเขียนตอบ 3. แบบทดสอบปากเปล่า หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้การพูดโต้ตอบแทนการ เขียน 8.3 แบ่งตามเวลาที่กำหนดให้ตอบ 1. แบบทดสอบที่จำกัดเวลาในการตอบ หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้เวลาน้อย 2. แบบทดสอบที่ไม่จำกัดเวลาในการตอบ หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้เวลา ตอบมาก
  • 18. 8.4 แบ่งตามจำนวนผู้เข้าสอบ 1. แบบทดสอบเป็นรายบุคคล หมายถึง การสอบทีละคนมักเป็นการสอบ ภาคปฏิบัติ 2. แบบทดสอบเป็นชั้นหรือเป็นหมู่ หมายถึง การสอบทีละหลาย ๆ คน 8.5 แบ่งตามสิ่งเร้าของการถาม 1. แบบทดสอบทางภาษา หมายถึง แบบทดสอบที่ต้องอาศัยภาษาของสังคม นั้น ๆ เป็นหลัก ใช้กับผู้ที่อ่านออกเขียนได้ 2. แบบทดสอบที่ไม่ใช้ภาษา หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้รูปภาพ สัญลักษณ์ หรือตัวเลข
  • 19. 8.6 แบ่งตามลักษณะของการใช้ประโยชน์   1. แบบทดสอบย่อย หมายถึง แบบทดสอบประจำบท หรือหน่วยการเรียน 2. แบบทดสอบรวม หมายถึง แบบทดสอบสรุปรวมเนื้อหาที่เรียนผ่านมา ตลอดภาคเรียน 8.7 แบ่งตามเนื้อหาของข้อสอบในฉบับ 1. แบบทดสอบอัตนัย หมายถึง แบบทดสอบที่มีเฉพาะคำถามนักเรียนต้อง คิดหาคำตอบเอง 2. แบบทดสอบปรนัย หมายถึง แบบทดสอบที่มีทั้งคำถามและคำตอบเฉพาะ คงที่แน่นอน
  • 20. 9. การสังเกต (Observation) ธรรมชาติของข้อมูลจากการสังเกต แบ่งเป็น 2 ระดับ คือ 1. เป็นรูปธรรม 2. เป็นนามธรรม ชนิดของการสังเกต แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ 1. การสังเกตแบบมีส่วนร่วม 2. การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม
  • 21. ลักษณะของการสังเกตที่ดี 1. กำหนดจุดมุ่งหมายของการสังเกต 2. วางแผนการสังเกตไว้ล่วงหน้า และวิเคราะห์สิ่งที่จะสังเกต 3. ควรสังเกตโดยที่ผู้ถูกสังเกตไม่รู้ตัว 4. ควรระวังอย่าให้เกิดการลำเอียงในขณะที่สังเกต 5. ควรสังเกตซ้ำหลายๆครั้ง 6. ควรมีการบันทึกการสังเกตทุกครั้ง
  • 22. 10. การสัมภาษณ์ การสัมภาษณ์จะช่วยให้ทราบข้อมูลเกี่ยวกับผู้ถูก สัมภาษณ์ ในด้านบุคลิกภาพท่วงทีวาจา เจตคติ ปฏิภาณ ไหวพริบ หรือการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ประเภทของการสัมภาษณ์ 1. การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างแน่นอน 2. การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้างแน่นอน
  • 23. 11. แบบสอบถามและแบบสำรวจ แบบสอบถามเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการหาข้อมูลเกี่ยวกับตัวบุคคลอย่างแพร่หลายเนื่องจากเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้ได้ข้อมูลในเวลาอันรวดเร็ว และยังสามารถส่งแบบสอบถามไปให้บุคคลที่ต้องการข้อมูลจากเขาได้ ประเภทแบบสอบถาม 1. แบบสอบถามปลายเปิด 2. แบบสอบถามปลายปิด
  • 24. 12. แบบสำรวจ ( checklists ) แบบสำรวจ หรือแบบตรวจสอบรายการ เป็นเครื่องมือที่ใช้กันมากอีกชนิดหนึ่ง โดยปกติจะประกอบด้วยบัญชีรายการสิ่งของหรือเรื่องราวต่างๆ ที่จะให้ผู้ตอบ ตอบในลักษณะที่ให้เลือกอย่างใดอย่างหนึ่งในสองอย่างที่กำหนดให้ เช่น มี - ไม่มี , ชอบ - ไม่ชอบ
  • 25. การวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล เป็นกระบวนการนำข้อมูลซึ่งเก็บรวบรวมได้ มาจัดกระทำโดยการจัดระเบียบ แยกประเภท หรือใช้วิธีการทางสถิติ เพื่อตอบคำถามตามจุดมุ่งหมายของการประเมิน ลักษณะของข้อมูล 1. ข้อมูลเชิงปริมาณ 2. ข้อมูลเชิงคุณภาพ ประเภทของการวิเคราะห์ข้อมูล 1. การวิเคราะห์โดยไม่ใช้วิธีการทางสถิติ 2. การวิเคราะห์โดยใช้วิธีการทางสถิติ
  • 26. การประเมินผลทางการศึกษา การประเมินผลทางการศึกษา หมายถึง กระบวนการในกานตัดสินใจลงสรุปคุณลักษณะหรือพฤติกรรมของนักเรียนว่ามี คุณภาพดีระดับใดโดยอาศัยเกณฑ์อย่างใดอย่างหนึ่งในการเปรียบเทียบ มีองค์ประกอบ 3 ประการ คือ 1. ผลการวัด 2. เกณฑ์การพิจารณา 3. การตัดใจ
  • 27. การประเมินผลแบบอิงเกณฑ์ เป็นการวัดเพื่อต้องการทราบว่าบุคลนั้น ๆมีรความสามารถถึงเกณฑ์ที่กำหนดไว้หรือไม่ การประเมินผลต้องนำคะแนนที่ได้จาก ผลงานไปเทียบกับเกณฑ์ที่กำหนดไว้การวัดผลใช้ในการวัดสมรรถภาพเป็นราย บุคคล ถ้านักเรียนทำข้อสอบได้ถูกต้องถึงเกณฑ์ที่กำหนดไว้ที่กำหนดไว้ถือว่าได้เรียนรู้ตามจุดมุ่งหมายแล้ว ข้อควรคำนึงการประเมินแบบอิงเกณฑ์ ๑ . วัตถุประสงค์อย่างชัดเจน ๒ . ข้อสอบมีความเที่ยงตรงสูงและครอบคลุมวัตถุประสงค์การสอน ๓ . เกณฑ์ที่วัดต้องเด่นชัดมีหลักเกณฑ์ที่อ้างอย่างคุณธรรม
  • 28. การประเมินแบบอิงกลุ่ม เป็นการวัดเพื่อเปรียบเทียบคะแนนของบุคคลใดบุคคลหนึ่งกับบุคลหนึ่ง คือจำแนกคะแนนสูงสุดจนต่ำสุดแล้วจึงนำคะแนนเหล่านั้นมาเปรียบเทียบ เพื่อประเมินต่อไป เช่น การคัดเลือกนักศึกษาสอบเข้ามหาวิทยาลัย ข้อควรระวัง 1 . ข้อสอบต้องมีคุณภาพสูง มีความเชื่อมั่นและเที่ยงตรง 2 . ข้อสอบที่ใช้จะต้องครอบคลุมทั้งหมด การประเมินผลจะต้องมีความยุติธรรม ตามสภาพความเป็นจริงของผลการเรียน