SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
การเตรียมบทคัดย่อ
การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกียวแห่งชาติ ครังที 11
เนืองจากการตีพิมพ์บทคัดย่องานประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกียวในครั!งนี! จะใช้วิธีพิมพ์จากเพลททีถ่าย
จากต้นฉบับบทคัดย่อ (hard copy) ฉบับทีถูกต้องหรือได้รับการแก้ไขให้ถูกต้องโดยตรง ดังนั!น ผู้เสนอผลงานจึงจําเป็นต้อง
เตรียมต้นฉบับดังกล่าวให้ถูกต้องตามรูปแบบและข้อกําหนดต่าง ๆ ตามทีคณะกรรมการฯ กําหนดไว้ด้านล่างนี! อย่างเคร่งครัด
มิฉะนั!นทางคณะกรรมการฯ ขอสงวนสิทธิ3ในการไม่ตีพิมพ์เรืองเต็มทีมีรูปแบบไม่ถูกต้องโดยไม่ต้องแจ้งให้ท่านทราบ
รายละเอียดและรูปแบบข้อกําหนดต่างๆ สําหรับเตรียมต้นฉบับต้องเป็นดังนี
ต้นฉบับบทคัดย่อ: ต้องพิมพ์ด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ด (Microsoft Word for Windows) เวอร์ชัน 2003 หรือ 2007 โดย
ใช้รูปแบบอักษรเป็น Cordia New เท่านั!นทั!งฉบับ (ขนาดของตัวอักษรให้ดูในรายละเอียดของแต่ละหัวข้อ) ยกเว้น ตัวอักษรที
เป็นสัญลักษณ์ ให้ใช้รูปแบบอักษรเป็น Symbol เท่านั!น
ขนาดกระดาษต้นฉบับ: ใช้กระดาษขนาด A4 สีขาว พิมพ์แบบ Portrait โดยตั!งค่าหน้ากระดาษ (page setup) ดังนี!
ส่วนระยะขอบ (Margins) ดังนี! ด้านบน (Top) 1 นิ!ว ด้านล่าง (Bottom) 0.75 นิ!ว
ด้านซ้าย (Left) 1 นิ!ว ด้านขวา (Right) 0.75 นิ!ว
ขอบเย็บกระดาษ (Gutter) 0 นิ!ว หัวกระดาษ (Header) 0.5 นิ!ว ท้ายกระดาษ (Footer) 0.5 นิ!ว
รายละเอียดของหัวข้อหลัก ควรเรียงตามลําดับดังนี
ชื#อเรื#อง: อยู่ชิดขอบบนของหน้า มีทั!งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (แยกกันคนละบรรทัด) ชือเรืองแต่ละภาษามีความยาวไม่
เกิน 2 บรรทัด แต่ให้อธิบายสาระของเรืองได้ดี กําหนดให้ใช้อักษร Cordia New ขนาด 15 points พิมพ์ตัวหนา (bold) กําหนด
ระยะห่างบรรทัด (Line spacing) เป็น ค่าแน่นอน (Exactly) ขนาด (At:) 16 points [เรียกคําสังจากเมนู รูปแบบ (Format), ย่อหน้า
(Paragraph), การเยื!องและระยะห่าง (Indent and Spacing), กําหนดระยะห่างบรรทัด (Line spacing)] และจัดให้อยู่
กึงกลางหน้ากระดาษ ถ้ามีตัวอักษรทีเป็นสัญลักษณ์ให้ใช้อักษร Symbol ขนาด 12 points หรือขนาดตัวอักษรเท่ากับตัวอักษร
อืนในบรรทัดนั!น
ชื#อผู้เขียนและคณะ: เว้น 1 บรรทัดจากชือเรืองภาษาอังกฤษ ให้ใช้ชือเต็ม มีทั!งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (แยกคนละ
บรรทัด) ให้ครบทุกคน และต้องใส่เชิงอรรถ (Footnote) (รายละเอียดเชิงอรรถให้ดูย่อหน้าถัดไป) เป็นแบบลําดับตัวเลข (ยก
กําลัง) กํากับไว้ท้ายนามสกุลให้ครบทุกคน ชือผู้เขียนกําหนดให้ใช้อักษร Cordia New ขนาด 12 points พิมพ์ตัวหนา
(Bold) กําหนดระยะห่างบรรทัด (Line spacing) เป็น ค่าแน่นอน (Exactly) ขนาด (At:) 14 points จัดชิดขอบขวาของ
หน้ากระดาษ
การแทรกเชิงอรรถ (Footnote) [จากเมนู แทรก (Insert), เชิงอรรถ (Footnote)] ให้ใช้แบบ ลําดับตัวเลขอัตโนมัติ (1, 2,
3, ...) โดยใช้อักษรแบบ Cordia New ขนาด 10 points กําหนดระยะห่างบรรทัด (Line spacing) เป็น ค่าแน่นอน (Exactly)
ขนาด (At:) 10 points และจัดข้อความชิดขอบซ้ายของหน้ากระดาษ
บทคัดย่อ (Abstract): มีทั!งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยขึ!นด้วยบทคัดย่อภาษาอังกฤษก่อนแล้วจึงตามด้วยบทคัดย่อ
ภาษาไทย โดยมีรายละเอียดดังนี!
ให้เว้น 1 บรรทัดจากชือผู้แต่งภาษาอังกฤษ และพิมพ์คําว่า Abstract แล้วขึ!นย่อหน้าใหม่เป็นเนื!อหาของบทคัดย่อ
ภาษาอังกฤษ เมือจบบทคัดย่อภาษาอังกฤษแล้วให้เว้น 1 บรรทัด และพิมพ์คําว่า บทคัดย่อ และขึ!นย่อหน้าใหม่เป็นเนื!อหา
บทคัดย่อภาษาไทย คําว่า Abstract และ บทคัดย่อ ให้ใช้อักษร Cordia New ขนาด 14 points และพิมพ์ตัวหนา (◌ฺ Bold)
กําหนดระยะห่างบรรทัด (Line spacing) เป็น ค่าแน่นอน (Exactly) ขนาด (At:) 16 points จัดกึงกลางหน้ากระดาษ
ส่วนเนื!อหาของตัวบทคัดย่อ ทั!งภาษาอังกฤษและภาษาไทย ให้ใช้อักษร Cordia New ขนาด 14 points กําหนด
ระยะห่างบรรทัด (Line spacing) เป็น ค่าแน่นอน (Exactly) ขนาด (At:) 16 points และบรรทัดแรกของย่อหน้าให้เยื!องมา
ทางขวา 0.5 นิ!ว และจัดข้อความในแต่ละย่อหน้าแบบข้อความชิดขอบ (Justified) ห้ามใช้การจัดแบบกระจายแบบไทย (Thai
distribute) โดยเด็ดขาด ถ้ามีตัวอักษรทีเป็นสัญลักษณ์หรืออักษรกรีก ให้ใช้อักษร Symbol ขนาด 12 points หรือขนาดทีเท่ากับ
ตัวอักษรอืนในบรรทัดนั!น บทคัดย่อเป็นการสรุปสาระสําคัญของเรือง โดยเฉพาะอย่างยิง วัตถุประสงค์ วิธีการและผล ไม่ควร
เกิน 300 คํา (บทคัดย่อทั!งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ รวมกันยาวไม่เกิน 1 หน้ากระดาษขนาด A4)
กําหนดคําสําคัญ (Key words) ทั!งภาษาไทยและภาษาอังกฤษอย่างละ 3 คํา
การสํารวจทัศนคติและพฤติกรรมของผู้บริโภคต่อสารเคลือบผักและผลไม้สด
Consumer Survey on Attitude and Behavior of Fresh Fruits and Vegetables Coating
วัณณิตา จิรังรัตน์1
อนุวัตร แจ้งชัด1
พิสิฏฐ์ ธรรมวิถี1
และ อภิญญา หิรัญวงษ์2
Wannita Jirangrat1
, Anuvat Jangchud1
, Pisit Dhamvithee1
and Apinya Hirunwong2
Abstract
Recently, coating of agricultural products is widely used for quality maintenance and shelf life extension.
Although, this method is now used in the market such as a chitosan coating on oranges, most of consumers have
very limited knowledge about coating. Therefore, this research was designed to determine consumer attitudes
and behavior on fresh fruits and vegetables coating. In this study, a questionnaires, which had 0.82 of the
Cronbach’s alpha score from the reliability test, was prepared and completed by 200 of consumers selected by
convenience sampling method in the Bangkok area. The data were analyzed using probit analysis to determine
the effect of demographic characteristics on the consumer attitudes and purchased of fresh fruits and vegetables
and coating. According to the result, the percentage of male and female were 27.8 and 72.2, respectively. 33.9%
of them already knew what the coating is before they answered and 66.1% of them did not know the coating. 7.2%
increase in purchase intention was observed after the advantages of coating have been described to consumers.
Therefore, prior distribution of coating agricultural products, the information and advantages of coating should be
informed to consumer as well as they consume.
Key word: coating, survey, fruits and vegetables
บทคัดย่อ
ปัจจุบันมีการใช้สารเคลือบในผักและผลไม้สดเป็นจํานวนมาก เพือยืดอายุการเก็บรักษาผักและผลไม้ให้คงความสด
และอยู่ได้นานด้วยวัตถุดิบทีมาจากธรรมชาติ เช่น การใช้สารเคลือบไคโตซานในการเคลือบส้ม ซึงมีอยู่มากในท้องตลาด แต่
ความรู้ในเรืองทีเกียวกับสารเคลือบผัก และผลไม้สําหรับตัวผู้บริโภคเองนั!นยังคงมีอยู่น้อยมาก ดังนั!น งานวิจัยฉบับนี!จึง
ทําการศึกษาทัศนคติและพฤติกรรมทีมีต่อการใช้สารเคลือบในผักและผลไม้และการเลือกซื!อผักและผลไม้สดของผู้บริโภค โดย
การออกแบบสอบถามและทดสอบความน่าเชือถือของแบบสอบถาม (Reliability test) พบว่า ให้ค่า Cronbach’s alpha
เท่ากับ 0.82 จากนั!นนําไปทดสอบกับผู้บริโภคจํานวน 200 คน ใช้การสุ่มตัวอย่างตามความสะดวก (convenience sampling)
ในเขตกรุงเทพมหานคร และทําการวิเคราะห์โดยใช้เทคนิคทางสถิติ Probit analysis เพือศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัย
ต่าง ๆ ของคุณลักษณะทางประชากรศาสตร์ทีมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมและทัศนคติของผู้บริโภคในการซื!อผักและผลไม้ทีเคลือบ
ผิวด้วยสารเคลือบทีมาจากวัตถุดิบธรรมชาติ พบว่า ผู้บริโภคแบ่งเป็น เพศชายร้อยละ 27.8 และเพศหญิงร้อยละ 72.2 รู้จักสาร
เคลือบร้อยละ 33.9 ไม่รู้จักร้อยละ 66.1 และผู้บริโภคให้ความสนใจทีจะซื!อผลิตภัณฑ์ทีมีการเคลือบผิวเมือมีการให้ความรู้เรือง
สารเคลือบแก่ผู้บริโภคเพิมขึ!นคิดเป็นร้อยละ 7.2 ดังนั!นในการจําหน่ายผลิตผลทางการเกษตรทีมีการเคลือบด้วยสารเคลือบผิว
จากวัตถุดิบธรรมชาติควรมีการให้ความรู้แก่ผู้บริโภคโดยระบุข้อความเกียวกับสารเคลือบและประโยชน์ของสารเคลือบทีตัว
ผลิตภัณฑ์ในระหว่างการจําหน่ายก่อนถึงมือผู้บริโภค
คําสําคัญ: สารเคลือบ, ทัศนคติ, ผักและผลไม้
1
ภาควิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน กรุงเทพฯ 10900
1
Department of Product Development, Faculty of Agro-Industry, Kasetsart University, Bangkhen Campus, Bangkok 10900
2
ภาควิชาสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน กรุงเทพฯ 10900
2
Department of Statistics, Faculty of Science, Kasetsart University, Bangkhen Campus, Bangkok 10900
1 เคาะ
1 เคาะ
1 เคาะ
ด้านบน 1 นิ

More Related Content

More from Postharvest Technology Innovation Center

ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าว
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าว
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวPostharvest Technology Innovation Center
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวบรอกโคลี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวบรอกโคลีข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวบรอกโคลี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวบรอกโคลีPostharvest Technology Innovation Center
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวคะน้า
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวคะน้าข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวคะน้า
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวคะน้าPostharvest Technology Innovation Center
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวมะเขือเทศ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวมะเขือเทศข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวมะเขือเทศ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวมะเขือเทศPostharvest Technology Innovation Center
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดขาวปลี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดขาวปลีข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดขาวปลี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดขาวปลีPostharvest Technology Innovation Center
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวโพดฝักอ่อน
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวโพดฝักอ่อนข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวโพดฝักอ่อน
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวโพดฝักอ่อนPostharvest Technology Innovation Center
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดหอมใบ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดหอมใบข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดหอมใบ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดหอมใบPostharvest Technology Innovation Center
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวกะหล่ำปลี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวกะหล่ำปลีข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวกะหล่ำปลี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวกะหล่ำปลีPostharvest Technology Innovation Center
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดหอมห่อ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดหอมห่อข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดหอมห่อ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดหอมห่อPostharvest Technology Innovation Center
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลอะโวกาโด
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลอะโวกาโดข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลอะโวกาโด
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลอะโวกาโดPostharvest Technology Innovation Center
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสตรอว์เบอร์รี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสตรอว์เบอร์รีข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสตรอว์เบอร์รี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสตรอว์เบอร์รีPostharvest Technology Innovation Center
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลแก้วมังกร
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลแก้วมังกรข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลแก้วมังกร
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลแก้วมังกรPostharvest Technology Innovation Center
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลมะละกอ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลมะละกอข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลมะละกอ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลมะละกอPostharvest Technology Innovation Center
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลพลับ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลพลับข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลพลับ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลพลับPostharvest Technology Innovation Center
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลเงาะ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลเงาะข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลเงาะ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลเงาะPostharvest Technology Innovation Center
 
ประกาศรางวัลการประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 20
ประกาศรางวัลการประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 20ประกาศรางวัลการประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 20
ประกาศรางวัลการประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 20Postharvest Technology Innovation Center
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลกล้วย
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลกล้วยข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลกล้วย
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลกล้วยPostharvest Technology Innovation Center
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลลิ้นจี่
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลลิ้นจี่ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลลิ้นจี่
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลลิ้นจี่Postharvest Technology Innovation Center
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลมะพร้าว
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลมะพร้าวข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลมะพร้าว
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลมะพร้าวPostharvest Technology Innovation Center
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสับปะรด
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสับปะรดข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสับปะรด
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสับปะรดPostharvest Technology Innovation Center
 

More from Postharvest Technology Innovation Center (20)

ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าว
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าว
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าว
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวบรอกโคลี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวบรอกโคลีข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวบรอกโคลี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวบรอกโคลี
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวคะน้า
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวคะน้าข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวคะน้า
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวคะน้า
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวมะเขือเทศ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวมะเขือเทศข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวมะเขือเทศ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวมะเขือเทศ
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดขาวปลี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดขาวปลีข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดขาวปลี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดขาวปลี
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวโพดฝักอ่อน
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวโพดฝักอ่อนข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวโพดฝักอ่อน
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวโพดฝักอ่อน
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดหอมใบ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดหอมใบข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดหอมใบ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดหอมใบ
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวกะหล่ำปลี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวกะหล่ำปลีข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวกะหล่ำปลี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวกะหล่ำปลี
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดหอมห่อ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดหอมห่อข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดหอมห่อ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดหอมห่อ
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลอะโวกาโด
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลอะโวกาโดข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลอะโวกาโด
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลอะโวกาโด
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสตรอว์เบอร์รี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสตรอว์เบอร์รีข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสตรอว์เบอร์รี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสตรอว์เบอร์รี
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลแก้วมังกร
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลแก้วมังกรข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลแก้วมังกร
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลแก้วมังกร
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลมะละกอ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลมะละกอข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลมะละกอ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลมะละกอ
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลพลับ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลพลับข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลพลับ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลพลับ
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลเงาะ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลเงาะข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลเงาะ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลเงาะ
 
ประกาศรางวัลการประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 20
ประกาศรางวัลการประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 20ประกาศรางวัลการประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 20
ประกาศรางวัลการประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 20
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลกล้วย
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลกล้วยข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลกล้วย
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลกล้วย
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลลิ้นจี่
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลลิ้นจี่ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลลิ้นจี่
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลลิ้นจี่
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลมะพร้าว
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลมะพร้าวข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลมะพร้าว
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลมะพร้าว
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสับปะรด
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสับปะรดข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสับปะรด
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสับปะรด
 

Abstract example seminar pht 2013

  • 1. การเตรียมบทคัดย่อ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกียวแห่งชาติ ครังที 11 เนืองจากการตีพิมพ์บทคัดย่องานประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกียวในครั!งนี! จะใช้วิธีพิมพ์จากเพลททีถ่าย จากต้นฉบับบทคัดย่อ (hard copy) ฉบับทีถูกต้องหรือได้รับการแก้ไขให้ถูกต้องโดยตรง ดังนั!น ผู้เสนอผลงานจึงจําเป็นต้อง เตรียมต้นฉบับดังกล่าวให้ถูกต้องตามรูปแบบและข้อกําหนดต่าง ๆ ตามทีคณะกรรมการฯ กําหนดไว้ด้านล่างนี! อย่างเคร่งครัด มิฉะนั!นทางคณะกรรมการฯ ขอสงวนสิทธิ3ในการไม่ตีพิมพ์เรืองเต็มทีมีรูปแบบไม่ถูกต้องโดยไม่ต้องแจ้งให้ท่านทราบ รายละเอียดและรูปแบบข้อกําหนดต่างๆ สําหรับเตรียมต้นฉบับต้องเป็นดังนี ต้นฉบับบทคัดย่อ: ต้องพิมพ์ด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ด (Microsoft Word for Windows) เวอร์ชัน 2003 หรือ 2007 โดย ใช้รูปแบบอักษรเป็น Cordia New เท่านั!นทั!งฉบับ (ขนาดของตัวอักษรให้ดูในรายละเอียดของแต่ละหัวข้อ) ยกเว้น ตัวอักษรที เป็นสัญลักษณ์ ให้ใช้รูปแบบอักษรเป็น Symbol เท่านั!น ขนาดกระดาษต้นฉบับ: ใช้กระดาษขนาด A4 สีขาว พิมพ์แบบ Portrait โดยตั!งค่าหน้ากระดาษ (page setup) ดังนี! ส่วนระยะขอบ (Margins) ดังนี! ด้านบน (Top) 1 นิ!ว ด้านล่าง (Bottom) 0.75 นิ!ว ด้านซ้าย (Left) 1 นิ!ว ด้านขวา (Right) 0.75 นิ!ว ขอบเย็บกระดาษ (Gutter) 0 นิ!ว หัวกระดาษ (Header) 0.5 นิ!ว ท้ายกระดาษ (Footer) 0.5 นิ!ว รายละเอียดของหัวข้อหลัก ควรเรียงตามลําดับดังนี ชื#อเรื#อง: อยู่ชิดขอบบนของหน้า มีทั!งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (แยกกันคนละบรรทัด) ชือเรืองแต่ละภาษามีความยาวไม่ เกิน 2 บรรทัด แต่ให้อธิบายสาระของเรืองได้ดี กําหนดให้ใช้อักษร Cordia New ขนาด 15 points พิมพ์ตัวหนา (bold) กําหนด ระยะห่างบรรทัด (Line spacing) เป็น ค่าแน่นอน (Exactly) ขนาด (At:) 16 points [เรียกคําสังจากเมนู รูปแบบ (Format), ย่อหน้า (Paragraph), การเยื!องและระยะห่าง (Indent and Spacing), กําหนดระยะห่างบรรทัด (Line spacing)] และจัดให้อยู่ กึงกลางหน้ากระดาษ ถ้ามีตัวอักษรทีเป็นสัญลักษณ์ให้ใช้อักษร Symbol ขนาด 12 points หรือขนาดตัวอักษรเท่ากับตัวอักษร อืนในบรรทัดนั!น ชื#อผู้เขียนและคณะ: เว้น 1 บรรทัดจากชือเรืองภาษาอังกฤษ ให้ใช้ชือเต็ม มีทั!งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (แยกคนละ บรรทัด) ให้ครบทุกคน และต้องใส่เชิงอรรถ (Footnote) (รายละเอียดเชิงอรรถให้ดูย่อหน้าถัดไป) เป็นแบบลําดับตัวเลข (ยก กําลัง) กํากับไว้ท้ายนามสกุลให้ครบทุกคน ชือผู้เขียนกําหนดให้ใช้อักษร Cordia New ขนาด 12 points พิมพ์ตัวหนา (Bold) กําหนดระยะห่างบรรทัด (Line spacing) เป็น ค่าแน่นอน (Exactly) ขนาด (At:) 14 points จัดชิดขอบขวาของ หน้ากระดาษ การแทรกเชิงอรรถ (Footnote) [จากเมนู แทรก (Insert), เชิงอรรถ (Footnote)] ให้ใช้แบบ ลําดับตัวเลขอัตโนมัติ (1, 2, 3, ...) โดยใช้อักษรแบบ Cordia New ขนาด 10 points กําหนดระยะห่างบรรทัด (Line spacing) เป็น ค่าแน่นอน (Exactly) ขนาด (At:) 10 points และจัดข้อความชิดขอบซ้ายของหน้ากระดาษ บทคัดย่อ (Abstract): มีทั!งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยขึ!นด้วยบทคัดย่อภาษาอังกฤษก่อนแล้วจึงตามด้วยบทคัดย่อ ภาษาไทย โดยมีรายละเอียดดังนี! ให้เว้น 1 บรรทัดจากชือผู้แต่งภาษาอังกฤษ และพิมพ์คําว่า Abstract แล้วขึ!นย่อหน้าใหม่เป็นเนื!อหาของบทคัดย่อ ภาษาอังกฤษ เมือจบบทคัดย่อภาษาอังกฤษแล้วให้เว้น 1 บรรทัด และพิมพ์คําว่า บทคัดย่อ และขึ!นย่อหน้าใหม่เป็นเนื!อหา บทคัดย่อภาษาไทย คําว่า Abstract และ บทคัดย่อ ให้ใช้อักษร Cordia New ขนาด 14 points และพิมพ์ตัวหนา (◌ฺ Bold) กําหนดระยะห่างบรรทัด (Line spacing) เป็น ค่าแน่นอน (Exactly) ขนาด (At:) 16 points จัดกึงกลางหน้ากระดาษ ส่วนเนื!อหาของตัวบทคัดย่อ ทั!งภาษาอังกฤษและภาษาไทย ให้ใช้อักษร Cordia New ขนาด 14 points กําหนด ระยะห่างบรรทัด (Line spacing) เป็น ค่าแน่นอน (Exactly) ขนาด (At:) 16 points และบรรทัดแรกของย่อหน้าให้เยื!องมา ทางขวา 0.5 นิ!ว และจัดข้อความในแต่ละย่อหน้าแบบข้อความชิดขอบ (Justified) ห้ามใช้การจัดแบบกระจายแบบไทย (Thai distribute) โดยเด็ดขาด ถ้ามีตัวอักษรทีเป็นสัญลักษณ์หรืออักษรกรีก ให้ใช้อักษร Symbol ขนาด 12 points หรือขนาดทีเท่ากับ ตัวอักษรอืนในบรรทัดนั!น บทคัดย่อเป็นการสรุปสาระสําคัญของเรือง โดยเฉพาะอย่างยิง วัตถุประสงค์ วิธีการและผล ไม่ควร เกิน 300 คํา (บทคัดย่อทั!งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ รวมกันยาวไม่เกิน 1 หน้ากระดาษขนาด A4) กําหนดคําสําคัญ (Key words) ทั!งภาษาไทยและภาษาอังกฤษอย่างละ 3 คํา
  • 2. การสํารวจทัศนคติและพฤติกรรมของผู้บริโภคต่อสารเคลือบผักและผลไม้สด Consumer Survey on Attitude and Behavior of Fresh Fruits and Vegetables Coating วัณณิตา จิรังรัตน์1 อนุวัตร แจ้งชัด1 พิสิฏฐ์ ธรรมวิถี1 และ อภิญญา หิรัญวงษ์2 Wannita Jirangrat1 , Anuvat Jangchud1 , Pisit Dhamvithee1 and Apinya Hirunwong2 Abstract Recently, coating of agricultural products is widely used for quality maintenance and shelf life extension. Although, this method is now used in the market such as a chitosan coating on oranges, most of consumers have very limited knowledge about coating. Therefore, this research was designed to determine consumer attitudes and behavior on fresh fruits and vegetables coating. In this study, a questionnaires, which had 0.82 of the Cronbach’s alpha score from the reliability test, was prepared and completed by 200 of consumers selected by convenience sampling method in the Bangkok area. The data were analyzed using probit analysis to determine the effect of demographic characteristics on the consumer attitudes and purchased of fresh fruits and vegetables and coating. According to the result, the percentage of male and female were 27.8 and 72.2, respectively. 33.9% of them already knew what the coating is before they answered and 66.1% of them did not know the coating. 7.2% increase in purchase intention was observed after the advantages of coating have been described to consumers. Therefore, prior distribution of coating agricultural products, the information and advantages of coating should be informed to consumer as well as they consume. Key word: coating, survey, fruits and vegetables บทคัดย่อ ปัจจุบันมีการใช้สารเคลือบในผักและผลไม้สดเป็นจํานวนมาก เพือยืดอายุการเก็บรักษาผักและผลไม้ให้คงความสด และอยู่ได้นานด้วยวัตถุดิบทีมาจากธรรมชาติ เช่น การใช้สารเคลือบไคโตซานในการเคลือบส้ม ซึงมีอยู่มากในท้องตลาด แต่ ความรู้ในเรืองทีเกียวกับสารเคลือบผัก และผลไม้สําหรับตัวผู้บริโภคเองนั!นยังคงมีอยู่น้อยมาก ดังนั!น งานวิจัยฉบับนี!จึง ทําการศึกษาทัศนคติและพฤติกรรมทีมีต่อการใช้สารเคลือบในผักและผลไม้และการเลือกซื!อผักและผลไม้สดของผู้บริโภค โดย การออกแบบสอบถามและทดสอบความน่าเชือถือของแบบสอบถาม (Reliability test) พบว่า ให้ค่า Cronbach’s alpha เท่ากับ 0.82 จากนั!นนําไปทดสอบกับผู้บริโภคจํานวน 200 คน ใช้การสุ่มตัวอย่างตามความสะดวก (convenience sampling) ในเขตกรุงเทพมหานคร และทําการวิเคราะห์โดยใช้เทคนิคทางสถิติ Probit analysis เพือศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัย ต่าง ๆ ของคุณลักษณะทางประชากรศาสตร์ทีมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมและทัศนคติของผู้บริโภคในการซื!อผักและผลไม้ทีเคลือบ ผิวด้วยสารเคลือบทีมาจากวัตถุดิบธรรมชาติ พบว่า ผู้บริโภคแบ่งเป็น เพศชายร้อยละ 27.8 และเพศหญิงร้อยละ 72.2 รู้จักสาร เคลือบร้อยละ 33.9 ไม่รู้จักร้อยละ 66.1 และผู้บริโภคให้ความสนใจทีจะซื!อผลิตภัณฑ์ทีมีการเคลือบผิวเมือมีการให้ความรู้เรือง สารเคลือบแก่ผู้บริโภคเพิมขึ!นคิดเป็นร้อยละ 7.2 ดังนั!นในการจําหน่ายผลิตผลทางการเกษตรทีมีการเคลือบด้วยสารเคลือบผิว จากวัตถุดิบธรรมชาติควรมีการให้ความรู้แก่ผู้บริโภคโดยระบุข้อความเกียวกับสารเคลือบและประโยชน์ของสารเคลือบทีตัว ผลิตภัณฑ์ในระหว่างการจําหน่ายก่อนถึงมือผู้บริโภค คําสําคัญ: สารเคลือบ, ทัศนคติ, ผักและผลไม้ 1 ภาควิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน กรุงเทพฯ 10900 1 Department of Product Development, Faculty of Agro-Industry, Kasetsart University, Bangkhen Campus, Bangkok 10900 2 ภาควิชาสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน กรุงเทพฯ 10900 2 Department of Statistics, Faculty of Science, Kasetsart University, Bangkhen Campus, Bangkok 10900 1 เคาะ 1 เคาะ 1 เคาะ ด้านบน 1 นิ
  • 3. ว (2.54 เซนติเมตร) Cordia new 15 p. ตัวหนา (bold) ค่าแน่นอน (exactly) 16 p. อยู่กลางหน้ากระดาษ Cordia new 12 p. ตัวหนา (bold) ค่าแน่นอน (exactly) 14 p. จัดข้อความชิดขอบขวา ใส่เลขเชิงอรรถ (footnote) เพืออ้างอิงสังกัดด้านล่างของกระดาษ Cordia new 14 p. ค่าแน่นอน (exactly) 16 p. ตัวเนื
  • 7. ว (1.9 เซนติเมตร) Cordia new 10 p. ค่าแน่นอน (exactly) 10 p. จัดข้อความชิดขอบซ้าย คําสําคัญมี 3 คํา แต่ละคําขั
  • 9. ง Key word มี 3 คํา แต่ละคําขั
  • 11. ง หลัง Key word ตามด้วยเครืองหมาย (:) (โดยไม่ต้องเคาะ) แต่หลังจากเครืองหมาย (:) ให้เคาะ 1 ครั
  • 12. ง หลัง คําสําคัญ ตามด้วยเครืองหมาย (:) (โดยไม่ต้องเคาะ) แต่หลังจากเครืองหมาย (:) ให้เคาะ 1 ครั
  • 13.